SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  11
Télécharger pour lire hors ligne
ทักษะการอ่าน

         การอ่านเป็นทักษะสาคัญในการเรียนภาษา การอ่านเป็นกระบวนการที่ต้องฝึกฝนอย่างมีระบบ
เพราะการอ่านเป็นทักษะที่สามารถฝึกได้ การฝึกมากทาให้มีความสามารถในการอ่านเพิ่มมากขึ้นตามระดับ
ของการอ่าน การอ่านออกหรือการได้ เป็นการอ่านตามตัวอักษรและตัวสะกดการันต์เท่านั้น แต่อาจออกเสียง
ไม่ถูกต้อง หรือผู้อ่านอาจจะไม่เข้าใจข้อความที่อ่าน ถึงแม้จะเข้าใจก็อาจจะเข้าใจไม่ดีพอ หรืออาจจะเข้าใจ
ผิดก่อให้เกิดความเสียหายกับผู้อ่านเองได้ ส่วนการอ่านเป็นคือ การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพหรือม
ความสามารถในการอ่านได้ถูกต้อง การอ่านได้คล่อง รวดเร็วเข้าใจเรื่องที่อ่าน จับใจความสาคัญ ตอบคาถาม
ได้ อ่านแล้วตีความได้ สามารถวิเคราะห์วิจารณ์ได้มีสมาธิ และอ่านแล้วรู้จักจดบันทึกสามารถนาไปใช้
ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้ (ฉวีวรรณ คูหาภินันท์, 2542: 16-17)

         1.ความหมายของการอ่าน

           การอ่านเป็นทักษะทางภาษาที่นาผู้อ่านไปสู่โลกกว้าง ช่วยให้ผู้อ่านมีความรู้ ข้อมูลข่าวสารและ
งานสร้างสรรค์ จัดพิมพ์ในหนังสือและสิ่งพิมพ์อื่นๆ มากมาย นอกจากนี้แล้วข่าวสารสาคัญๆ หลังจากการ
นาเสนอด้วยการพูด หรืออ่านให้ฟังผ่านสื่อต่างๆ แล้วส่วนใหญ่มีการจัดพิมพ์เก็บรักษาไว้เป็นหลักฐานแก่
ผู้อ่านในชั้นหลังๆ ความสามารถในการอ่านจึงสาคัญและจาเป็นอย่างยิ่งต่อการเป็นพลเมืองที่มีคุณภาพใน
สังคมปัจจุบัน ดังจะเห็นได้ว่าองค์การระดับนานาชาติ เช่น องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่ง
สหประชาชาติ (UNESCO) จะใช้ความสามารถในการรู้หนังสือของประชากรประเทศต่างๆ เป็นดัชนีวัด
ระดับการพัฒนาของประเทศนั้นๆ โดยมีผู้ให้ความหมายของการอ่านไว้ต่างๆ กันดังนี้

           คาร์และคณะ (Car and Others, 1983: 27) ให้ความหมายของการอ่านว่าเป็นการตีความ เรื่องที่
อ่าน และนาความคิดที่ได้จากการอ่านไปใช้ความรู้เดิมในการตีความตัดสินใจอย่างมีเหตุผล

           สนิท ฉิมเล็ก (2540: 149) คือ การแปลอักษรออกมาเป็นความคิด เปล่งเสียงออกมาเป็นเสียงอ่าน
และนาความคิดที่ได้จากการอ่านไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในการสื่อความหมาย

           วัฒนะ บุญจับ (2541: 100) ได้ให้ความหมายของการอ่านไว้ว่า “การรับรู้ความหมายจาก
ข้อความหรือถ้อยคาที่จัดพิมพ์ หรือจารึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษรให้ปรากฏหรือปรากฏในรูปสัญลักษณ์ต่างๆ
ที่สามารถแปลความหมายหรือตีความหมายได้”
พนิตนันท์ บุญพามี (2542: 1) ได้ให้ความหมายของการอ่านไว้ว่า คือ การเข้าใจความหมายของ
คา สัญลักษณ์ หรือเรื่องราวต่างๆ ซึ่งมนุษย์สามารถรับรู้แล้วแปลความหมายออกมาได้ ถ้าอ่านไม่เข้าใจ จะ
ถือว่าเป็นการอ่านโดยแท้จริงไม่ได้ เนื่องจากการสื่อสารระหว่างผู้เขียนกับผู้อ่านไม่บรรลุวัตถุประสงค์ที่
ต้องการ

             สมุทร เซ็นเชาวนิช (2545: 1) ได้กล่าวไว้ว่าการอ่านเป็น การสื่อความหมายระหว่างผู้เขียนกับผุ้
อ่าน ผู้เขียนพูด ผู้อ่านแสดงปฏิกิริยาตอบโต้และอาจจะตอบโต้กับผู้อื่นด้วย การสื่อความหมาย ในการอ่าน
นั้นจะต้องมีองค์ประกอบ 3 อย่าง คือ ผู้เขียน ผู้อ่าน และรายงาน
             พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2546: 914) ได้ให้ความหมายการอ่าน ดังนี้
             1.การอ่าน คือ ความเข้าใจสัญลักษณ์ เครื่องหมาย รูปภาพ ตัวอักษร คาและข้อความพิมพ์หรือ
เขียนขึ้นมาเอง
             2.การอ่าน คือ การว่าตามตัวหนังสือ ออกเสียงตามตัวหนังสือ ดูเข้าใจความจากตัวหนังสือ
สังเกต หรือพิจารณา คิด นับ ให้เข้าใจความหมาย
             อัจฉรา ชีวพันธ์ (2546: 47) กล่าวว่า การอ่านเป็นทักษะของการรับสารและเป็นทักษะที่สาคัญ
ในการแสวงหาความรู้ด้านต่างๆ การอ่านเป็นทักษะที่จาเป็นในการนามาใช้เพื่อให้สามารถติดตามความ
เคลื่อนไหว ความก้าวหน้า และการเปลี่ยนแปลงของสภาพวิทยากรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
             มณีรัตน์ สุกโชติรัตน์ (2548: 18) ให้ความหมายของการอ่านว่า เป็นกระบวนการที่รับรู้สารซึ่ง
เป็นความรู้ ความคิด ความรู้สึก และความคิดเห็นที่ผู้เขียนถ่ายทอดออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร การที่ผู้จะ
เข้าใจได้มากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับประสบการณ์และความสามารถในการใช้ความคิด

             สาลี รักสุทธิ์ (2553: 5) ให้ความหมายของการอ่านไว้ว่า คือการตีความ แปลความจากตัวอักษร
ที่ปรากฏในสื่อพิมพ์ต่างๆ ออกมาเป็นข้อมูลความรู้ สู่การรับรู้ การเข้าใจของผู้อ่าน
             แม้นมาศ ชวลิต (2544) อ้างถึงใน มณีรตน์ สุกโชติรัตน์, (2553: 17-18) กล่าวสรุปความหมายว่า
                                                ั
การอ่านเป็นกระบวนการทางสมดงในการรับสารซึ่งแสดงด้วยถ้อยคาที่เขียนลงไว้เป็นลายลักษณ์อักษร โดย
ใช้อวัยวะสาหรับสารคือ ตา เมื่อสมองรับภาพหรืออักษรมาแล้วสมองจะจดลงไว้ในหน่วยความจาทันทีว่า
“รู้” หรือ “ไม่ร” อัตราความเร็วของกระบวนการในการรับสารจะแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับพื้นฐานความรู้เดิม
                ู้
ของผู้อ่าน
             กล่าวโดยสรุป การอ่านเป็นการแปลความหมายจากตัวอักษรหรือสัญลักษณ์ที่ผู้เขียนต้องการจะ
สื่อความหมาย ซึ่งผู้อ่านจะต้องอาศัยความรู้พื้นฐานเดิมที่มีอยู่ ประกอบกับความสามารถในการคิด ความรู้
ทางภาษา ในการตีความหมายของสิ่งที่อ่านเพื่อให้ความหมายที่ชัดเจน ตรงตามหรือใกล้เคียงกับผู้เขียน
ต้องการจะสื่อออกมาให้อ่านได้รับรู้
          2.ความสาคัญของการอ่าน
            ความสามารถในการอ่าน มีความจาเป็นสาหรับคนในยุคข้อมูลข่าวสาร ในการแสวงหาความรู้
โดยไม่มีที่สิ้นสุด นักการศึกษาได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความสาคัญของการอ่านดังนี้
            วอลเลช (Wallace, 1992: 4-5) กล่าวถึง ความสาคัญของความสามารถในการอ่าน สรุปได้ว่า การ
อ่านกเช่น การอ่านป้ายเตือนต่างๆ การอ่านเพื่อความเข้าใจสารว่าหากทาหรือไม่ทาสิ่งใดจะเกิดผลกระทบ
อย่างไร เป็นต้น นอกจากนี้ การอ่านยังเป็นแหล่งความรู้และให้ความเพลิดเพลินอีกด้วย
            กรมวิชาการ (2542: 7) อ้างถึงในสาลี รักสุทธิ์ (2553: 10) ได้ระบุถึงความสาคัญของการอ่านว่า
การอ่านหนังสือได้โดยไม่มีการจัดเวลาและสถานที่สามารถนาไปไหนมาไหนได้ ผู้อ่านสามารถฝึกคิดและ
สร้างจินตนาการได้เองในขณะที่อ่าน การส่งเสริมให้มีสมองดี มีสมาธินานกว่าสื่ออื่น ทั้งนี้เพราะขณะอ่าน
จิตใจต้องมุ่งมั่นอยู่กับข้อความ พินิจพิเคราะห์ข้อความ ซึ่งผู้อ่านกาหนดการอ่านด้วยตัวเอง จะอ่านคร่าวๆ
อ่านละเอียด อ่านข้ามหรืออ่านทุกตัวอักษรเป็นไปตามใจของผู้อ่าน
            ฉวีวรรณ คูหานันทน์ (2545: 2) กล่าวว่า การอ่านมีความสาคัญต่อชีวิตมนุษย์ช่วยให้เกิดการ
เรียนรู้ตลอดชีวิต สนองความอยากรู้อยากเห็น อันเป็นธรรมชาติของมนุษย์ได้ทุกเรื่องผู้ที่อ่านน้อยหรือไม่
อ่าน จะเปรียบเสมือนคนหูหนวก ตาบอด ไม่รู้เรื่องโลกภายนอก จะทาให้ลุ่มหลงงมงายได้ง่าย เพราะ
ความคิดไม่กว้างไกล เชื่อในสิ่งที่ไร้สาระเพราะติดตามการอ่านน้อยข้อมูลไม่ถูกต้อง

            จากความคิดเห็นของศึกษาดังกล่าว สามารถสรุปได้ว่า การอ่านมีความสาคัญที่สุดต่อการ
แสวงหาความรู้ของมนุษย์ มีส่วนช่วยในการพัฒนาคุณภาพชีวิตเพิ่มพูนประสบการณ์ และให้ความบันเทิง
          3.การพัฒนาทักษะการอ่าน
                การพัฒนาทักษะการอ่าน มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะฝึกทักษะให้ผู้เรียนสามารถอ่านข้อความต่างๆ
ได้อย่างเข้าใจ หรือตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ การอ่านจะประสบผลสาเร็จมากน้อยเพียงใด ย่อมขึ้นอยู่กับ
องค์ประกอบหลายๆ อย่าง เช่น ประสบการณ์เดิมของผู้อ่าน ความสนใจในเรื่องที่อ่าน ความสามารถในด้าน
ภาษา และจุดมุ่งหมายของการอ่านเป็นต้น (กาญจนา จันทะดวง, 2542: 54-55)
            ทักษะการอ่าน ถือว่าเป็นทักษะที่สาคัญและมีประโยชน์มาก เพราะในชีวิตประจาวันนั้นผู้เรียน
จาเป็นต้องใช้ ดังนั้น การเน้นทักษะการอ่านจึงเป็นสิ่งที่มีความจาเป็นสูง ขั้นตอนในการสอนทักษะการอ่าน
สรุปได้ดังนี้
3.1 เร้าความสนใจของผู้เรียน
                 3.1.1ให้ผู้เรียนเดาความหมายของคาศัพท์
                 3.1.2 ให้ผู้เรียนคาดคะเนความเป็นไปของเนื้อเรื่อง
            3.2 ขั้นการอ่าน
                 3.2.1 ให้ผู้เรียนอ่านเนื้อเรื่องคร่าวๆ เพื่อทาความเข้าใจกับเนื้อหาทั้งหมด

                 3.2.2 ผู้เรียนอ่านเนื้อหา รายละเอียดของเนื้อเรื่อง เพื่อหาคาตอบสรุปประเด็นสาคัญ ซึ่งอาจ
ใช้วิธีการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ การเขียนแผนผัง การเติมข้อมูลที่ขาดหาย การเล่าโดยสรุป เป็นต้น

            3.3 ขั้นหลังการอ่าน เป็นขั้นที่ผู้สอนต้องการประเมินความถูกต้องและความเข้าใจในการอ่าน
ของผู้เรียน ทั้งนี้ผู้สอนอาจเชื่อมโยงทักษะการอ่านนี้ไปสู่ทักษะอื่นได้ เช่น ทักษะ การเขียน ทักษะการฟัง
และทักษะการพูด โดยให้ผู้เรียนทากิจกรรม ดังนี้
                 3.3.1 ให้เขียนเนื้อเรื่องโดยสรุป
                 3.3.2 ให้แสดงบทบาทสมมติจากเรื่องที่อ่าน
                 3.3.3 ให้วาดภาพประกอบเรื่อง
            เนื่องจากขั้นตอนในการสอนทักษะการอ่านในข้างต้นนี้ ยังมีขั้นตอนของวิธีการสอนเพื่อ
พัฒนาการอ่านอีกมากมาย ที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาความสามารถในการอ่านมากขึ้นทักษะการอ่าน
จึงมีความสัมพันธ์กับทักษะการเรียนรู้ ถ้าผู้เรียนได้อ่านมากก็จะได้รับประสบการณ์มาจากเรืองที่อ่าน เช่น
                                                                                      ่
เนื้อหา คาศัพท์ โครงสร้างเรื่อง เครื่องหมายวรรคตอน รวมทั้งสานวนต่างๆ ผู้เรียนสามารถนาความรู้มาใช้
เขียนเรื่องราวในภาษาของตนเองได้ ดังนั้น จึงสรุปไดว่า การพัฒนาทักษะการอ่าน ควรได้รับการพัฒนาก่อน
ทักษะการเขียนและควรได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
การอ่านเพื่อความเข้าใจ
          1.ความหมายการอ่านเพื่อความเข้าใจ
            การอ่านมีความสาคัญต่อชีวิตมนุษย์ตั้งแต่เกิดจนเป็นผู้ใหญ่ และกระทั่งถึงวัยชรา ปัจจุบันการ
อ่านเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ การอ่านถือเป็นปัจจัยที่ 5 นอกจากปัจจัย 4 คือ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย ยา
รักษาโรค ปัจจุบันนี้ถือเป็นยุคโลกาภิวัตน์ ซึ่งเป็นยุคที่มีการสื่อสารแบบไร้พรมแดนของข้อมูลข่าวสาร
มนุษย์ที่อาศัยอยู่กันคนละประเทศ ห่างกันคนละซีกโลกแตกต่างกันทางด้านภาษา เชื้อชาติ แต่ข้อมูลและการ
สื่อสารก็สามารถส่งถึงกันได้อย่างรวดเร็วไม่ว่าจะเป็นหนังสือพิมพ์ วารสาร และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ แต่การ
จะเข้าถึงสื่อเหล่านี้ได้ต้องใช้ความสามารถด้านการอ่านทั้งสิ้น ฉะนั้น การอ่านจึงถือเป็นเครื่องมือที่สาคัญใน
การแสวงหาความรู้ในชีวิตประจาวัน มีนักการศึกษาหลายท่านได้ให้ความหมายการอ่านเพื่อความเข้าใจไว้
ดังนี้
           สมิธ (Smith, 1973: 168-174) ได้ให้ความหมายของการอ่านเพื่อความเข้าใจเป็นการอ่านที่ผู้อ่าน
สามารถรับเอาความหมายที่ผู้เขียนตั้งใจใส่ไว้ในตัวอักษร ได้ตรงตามที่ผู้เขียนต้องการ
           ฟินอคเชียโร และซาโกะ (Finocchiaro and Sako, 1983: 131-132) ได้ให้ความหมายของการอ่าน
เพื่อความเข้าใจว่า เป็นการรับรู้ต่อสัญลักษณ์ที่เป็นภาษาเขียน การควบคุมความสัมพันธ์ของภาษาและ
โครงสร้าง ความรู้เกี่ยวกับคาศัพท์ และการประกอบกันเป็นคาศัพท์ ความตระหนักถึงความซ้าซ้อนของ
ภาษา ความสามารถในการใช้ตัวชี้แนะ (Clues) ทีอยู่ในบริเวณมาช่วยในการอ่านและการเรียนรู้เกี่ยวกับ
                                           ่
เนื้อหาทางวัฒนธรรม นอกจากนี้แล้วในการอ่านที่มีข้อความสนับสนุน ความสามารถในการตีความอย่างมี
เหตุผล ความสามารถในการเข้าใจสานวนอารมณ์ หรือแนวคิดของผู้เขียน เป็นต้น
           แอนเดอร์สัน (Anderson, 1985 : 372-375) ได้ให้ความหมายของการอ่านเพื่อความเข้าใจว่าเป็น
ระบบการค้นหาความหมายในหลายระดับ กล่าวคือ ผู้อ่านต้องใช้ความสามารถทางภาษาหลายระดับพร้อม
กัน ตั้งแต่ระดับตัวอักษรหรือระดับคา (Morphology) ไปถึงระดับโครงสร้าง (Structure) และระดับ
ความหมาย (Semantics) นอกจากนั้นยังเป็นกระบวนการที่ช่วยสร้างสมมติฐานเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน นั่นก็คือ
ผู้อ่านที่อ่านคล่องแคล่วแล้วจะสามารถทานายเรื่อง และอ้างอิงข้อมูลจากการอ่านได้ด้วย
           วอลเลซ (Wallace, 1992 : 4) ได้ให้ความหมายของการอ่านเพื่อความเข้าใจว่าเป็นกระบวนการ
ตีความเพื่อที่จะทาความเข้าใจจุดมุ่งหมายของผู้เขียน
           ฉวีวรรณ คูหาภินันทน์ (2545 : 1) กล่าวว่า การอ่าน คือการนาความเข้าใจในลักษณะ
เครื่องหมาย รูปภาพ ตัวอักษร คา และข้อความที่พิมพ์ หรือเขียนขึ้นมา
           สมุทร เซ็นเชาวนิช (2545: 73) ได้กล่าวถึงความเข้าใจในการอ่านว่า คือ ความสามารถที่จะ
อนุมานข้อสนเทศ หรือความหมายอันพึงประสงค์จากสิ่งที่อ่านมาแล้วได้อย่างมีประสิทธิภาพเท่าที่จะทาได้
ความเข้าใจอันนี้เป็นเรื่องที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับการศึกษาและประสบการณ์ต่างๆ หลายด้าน ถือเป็น
องค์ประกอบที่สาคัญยิ่งของการอ่านถ้าอ่านแล้วไม่เกิดความเข้าใจใดๆ เลย ก็เป็นเพียงตัวหนังสือที่ปรากฏอยู่
บนหน้ากระดาษที่ไม่มีความหมายใดๆ
           จากความหมายของการอ่านเพื่อความเข้าใจดังกล่าว สรุปได้ว่า ความสามารถในการอ่านเพื่อ
ความเข้าใจคือ การสื่อความหมายระหว่างผู้เขียนกับผู้อ่าน การได้ข้อมูลที่ต้องการจากการเขียนและความ
เข้าใจในงานเขียน ซึ่งเกิดจากกระบวนการปฏิสัมพันธ์ระหว่างความรู้เดิมของผู้อ่าน ข้อมูลบทอ่าน และ
บริบทการอ่าน โดยผู้อ่านต้องใช้ความรู้ทางด้านภาษาศาสตร์ตั้งแต่ระดับคา โครงสร้างและระดับความหมาย
รวมทั้งคาชี้แนะที่อยู่ในบริบทที่อ่านมาใช้ในการสร้างความหมายและคาความเข้าใจในเรื่องที่อ่าน
          2.ทฤษฎีพื้นความรู้เดิมกับความเข้าใจในการอ่าน
            2.1 ทฤษฎีพื้นความรู้เดิม (Schema Theory) เป็นทฤษฎีที่อธิบายถึงวิธีการจัดระเบียบของ
ความรู้ในสมองของคนเรา รวมถึงวิธีรับเอาความรู้ใหม่เข้าไปรวมกับพื้นความรู้เดิมและวิธีการดัดแปลง
ปรับปรุงแก้ไขพื้นความรู้เดิมให้เหมาะสม โดยทฤษฎีนี้เสนอแนวความคิดว่าความรู้ที่มีอยู่ในสมอง จะถูก
จัดระบบเข้าเป็นกลุ่มของโครงสร้างความรู้ที่มีการเชื่อมโยงซึ่งจะถูกสร้างขึ้นจากประสบการณ์เกียวกับโลก
                                                                                          ่
ความรู้เหล่านี้จะเป็นตัวนาไปสู่ความเข้าใจในโลก นอกจากนี้ยังทาให้เราสามารถเดาหรือคาดการณ์ ในสิ่งที่
จะเกิดขึ้นในบริบทที่กาหนดให้ด้วยประสบการณ์ของเรา ผู้อ่านจะนาความรู้เหล่านี้มาใช้ในการตีความ และ
ข้อความที่ไม่ชัดเจนหรือคลุมเครือในเนื้อหา (Carrell, 1983: 553-557) ในทฤษฎีนี้จะให้ความสาคัญกับพื้น
ความรู้เดิม ซึ่งความเข้าใจในการอ่านที่มีประสิทธิภาพจะเกิดขึ้นได้ ต้องอาศัยความสามารถของผู้อ่านในการ
สร้างความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งที่อ่านกับพื้นความรู้เดิม ความเข้าใจเพียงแค่ระดับคา ประโยค หรือเนื้อเรื่อง
เป็นเพียงความเข้าใจ โดยอาศัยความรู้ทางภาษาศาสตร์เท่านั้น แต่การตีความต้องอาศัยการบูรณาการพื้น
ความรู้เดิมที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่ปรากฏในบทอ่าน (Carrell และ Eiesterhold, 1988: 56-59)
            คาร์เรล (Carrell, 1983 : 332-343) ได้กล่าวว่า กระบวนการอ่านแบบเน้นเนื้อหาเกิดจากการับ
ข้อมูลเข้าสู่ระบบ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้มีลักษณะเหมาะสมที่สุดกับพื้นความรู้เดิมในพื้นความรู้เดิมนี้มีการ
เรียงลาดับจากข้อมูลที่มีลักษณะทั่วๆไปในระดับยอดไปจนถึงข้อมูลที่มีลักษณะเฉพาะในระดับล่าง ใน
กระบวรการนี้จึงมีการปรับพืนความรู้เดิมในระดับล่างไปสู่พื้นความรู้เดิมรับยอด จึงเรียกว่าการผลักดัน
                          ้
ข้อมูล เพราะฉะนั้นการที่ผู้อ่านจะใช้ความรู้ทางภาษาศาสตร์ เช่น หน่วยเสียง ตัวอักษร หรือคา ในการเข้าใจ
ความหมายจากหน่วยที่เล็กที่สุด ไปจนถึงหน่วยที่ใหญ่ที่สูด และเปลี่ยนแปลงพื้นความรู้เดิมและการคาดเดา
ไปตามข้อมูลที่ได้จากการอ่าน ดังนั้นผู้ที่มีทักษะการอ่านดี จะสามารถปรับเปลี่ยนกระบวนการอ่านให้
เหมาะสมกับบทอ่านและสถานการณ์ในการอ่านได้ แต่ผู้ที่ไม่มีทักษะในการอ่านมักจะใช้กระบวนการอ่าน
แบบใดแบบหนึ่งเท่านั้น จึงทาให้มีปัญหาในการอ่านเพื่อความเข้าใจ (Carrell, 1988 : 1-57) ในกระบวนการ
อ่าน ผู้อ่านอาจประสบความล้มเหลวในการทาความเข้าใจในเรื่องที่อ่าน ซึ่งมีสาเหตุมาจากพื้นความรู้เดิม ใน
ประเด็นดังต่อไปนี้ (Carrell, 1988 : 101-113)
            1.ผู้เขียนให้ข้อมูลไม่เพียงพอสาหรับผู้อ่าน ในการนาพื้นความรู้เดิมมาใช้ในกระบวนการอ่าน
แบบเน้นเนื้อหา
            2.ผู้อ่านไม่มีพื้นความรู้เดิมที่เหมาะสมตามการคาดการณ์ล่วงหน้าของผู้เขียน
3.ความไม่สอดคล้องกันระหว่างพื้นความรู้เดิมของผู้อ่านที่ผู้เขียนคาดว่าจะมีและพื้นความรู้เดิม
ของผู้อ่านที่มีอยู่จริง
           จากคากล่าวของนักทฤษฎีทางการอ่านข้างต้นสรุปได้ว่า พื้นความรู้เดิมหมายถึงความรู้ทั้งหมดที่
บุคคลสะสมไว้จากการเรียนรู้และประสบการณ์ที่ผ่านมา ซึ่งอาจแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล ตามทฤษฎี
พื้นความรู้เดิม พบว่าผู้อ่านที่ประสบความสาเร็จในการอ่านนั้นต้องใช้กระบวนการอ่านแบบปฏิสัมพันธ์
(Interactive Processes) ซึ่งเป็นวิธีการที่ใช้ทั้งกระบวนการอ่านแบบเน้นความรู้ (Knowledge – based
Processes/Top-down Model) และกระบวนการอ่านแบบเน้นเนื้อหา (Text-based Processes/Bottom-up
Model)
             กระบวนการอ่านแบบเน้นความรู้เกิดจากการคาดเดาลักษณะทั่วไปของบทอ่านโดยอาศัยพื้น
ความรู้เดิมระดับสูง และค้นหาข้อมูลชี้เฉพาะที่มีลักษณะเหมาะสมกับพื้นความรู้เดิมในระดับที่สูงขึ้น ซึ่ง
เรียกว่า การผลักดันความคิดรวบยอด เพราะฉะนั้นในกระบวนการอ่านผู้อ่านใช้กลวิธีคาดการณ์เนื้อเรื่องที่
อ่านได้ด้วยประสบการณ์หรือพืนความรู้เดิมและตรวจสอบเนื้อเรื่องนั้นเพื่อยืนยันหรือปฏิเสธการคาดเดา
                           ้
นั้นๆ
             ในดารประมวลความหมายของเรื่องที่อ่าน ผู้อ่านต้องมีพื้นความรู้เดิมที่เหมาะสมและสามารถนา
พื้นความรู้เดิมมาใช้ประโยชน์ในขณะที่อ่านเรื่องได้
           2.2 หน้าที่ของพื้นความรู้เดิม
             พื้นความรู้เดิมช่วยในการตีความหมายข้อความต่างๆ ของผู้อ่าน และเข้าใจเนื้อหาสาระที่ผู้เขียน
ต้องการสื่อไปยังผู้อ่าน ดังที่ สเตฟเฟนเซ่น และ โจแอ็กขเดพ (Steffensen and Joag-Deve) อ้างถึงในปาน
ทิพย์ ปัตถาวะโร, 2549: 19-20) ได้ชี้ให้เห็นบทบาทของพื้นความรู้เดิมมี 3 ประเภท คือ
             2.2.1ช่วยเป็นพื้นฐานในการเติมช่องว่างในข้อความให้เต็ม ทั้งนี้เนื่องจากไม่มีงานเขียนใดที่
อธิบายข้อมูลทุกอย่างได้โดยชัดเจนสมบูรณ์ทั้งหมด พื้นความรู้เดิมทีผู้อ่านสะสมไว้จะช่วยให้ผู้อ่าน
                                                                ่
ตีความหมายได้อย่างต่อเนื่องและสมบูรณ์ โดยการนาเอาสิ่งทีรู้แล้วมาสรุปและอ้างอิงเพื่อให้เกิดความเข้าใจ
                                                       ่
ได้
             2.2.2ช่วยควบคุมการตีความของผู้อ่านเมื่อพบข้อความที่กากวม ผู้อ่านจะสามารถตีข้อความที่
กากวมได้ ถึงแม้ว่าข้อมูลข้องพื้นความรู้เดิมของตนแตกต่างไปจากของผู้เขียนเพราะขณะที่อ่านผู้อ่านก็จะ
ตีความข้อมูลที่กากวมนั้นอีกครั้งเพื่อที่จะปรับข้อมูลนั้นให้เข้ากับพื้นความรู้เดิมที่มีอยู่ เมื่อพื้นความรู้เดิม
สอดคล้องกับของผู้เขียนผู้อ่านก็จะอ่านเรื่องเข้าใจ
2.2.3สร้างการสื่อสารที่ตรงกันระหว่างสิ่งที่รู้แล้ว กับสิ่งที่ปรากฏอยู่ในข้อความซึ่งผู้อ่านจะคอย
ตรวจสอบความเข้าใจของตนเอง ในขณะที่อ่านซึ่งจะทาให้รู้ได้ว่าเขาเข้าใจข้อความนั้นหรือไม่อย่างไร
           2.3ประเภทของพื้นความรู้เดิม
             พื้นความรู้เดิมที่ผู้อ่านนามาใช้ในการอ่านเพื่อความเข้าใจประกอบด้วย พื้นความรู้เดิม 2ชนิด คือ
(Carrell, 1987: 468-481)
             2.3.1พื้นความรู้เดิมเกี่ยวกับเนื้อหา (Content Schemata) หมายถึงการที่ผู้อ่านมีพื้นความรู้เดิม
เกี่ยวกับเนื้อหาของเรื่องใดเรื่องหนึ่งมาก่อน เป็นพื้นความรู้ที่ได้มาจากประสบการณ์ในชีวิตของผู้อ่านเอง
หรือความรู้รอบตัวของผู้อ่านเป็นตัวกาหนดพื้นความรู้เดิมเชิงเนื้อหา ผูอ่านแต่ละคนจะมีพื้นความรู้ดังกล่าว
                                                                    ้
นี้แตกต่างกันไป (Ohlhausen และ Roller, 1988: 70-88) พื้นความรู้ประเภทนี้เป็นองค์ประกอบที่มีอิทธิพล
ต่อความเข้าใจในการอ่านเป็นอย่างมากโดยเฉพาะพื้นความรู้เดิมที่สัมพันธ์กับข้อความในเรื่องที่อ่าน และ
พื้นความรู้ทางวัฒนธรรมซึงมีผลทาให้ผู้อ่านเข้าใจเรื่องได้เร็วยิ่งขึ้น (Grabe, 1991 : 375-406) โดยพื้น
                        ่
ฐานความรู้เดิมที่สัมพันธ์กับข้อความที่อ่านจะช่วยให้อ่านเข้าใจสิ่งที่อ่านได้ดียิ่งขึ้น นอกจากนี้ พริทชาร์ด
(Pritchard, 1990 : 273-295) มีความคิดเห็นสอดคล้องกับ Grabe ในเรื่องของเนื้อหาทางวัฒนธรรม กล่าวคือ
พื้นความรู้เดิมทางเนื้อหาได้รับอิทธิพลมาจากวัฒนธรรมในการดาเนินชีวิต เพื่อนาไปใช้ในการตีความหมาย
ในการอ่านได้ ผู้อ่านจะใช้พื้นความรู้เดิม บริบททางสถานการณ์และสิ่งชี้แนะที่ผู้เขียนกาหนดให้เพื่อใช้ใน
การตีความหมายของข้อความ หากผู้อ่านไม่สามารถใช้พื้นความรู้เดิมให้เหมาะสม ก็จะทาให้ผู้อ่านไม่
สามารถจะเข้าใจเรื่องที่กาลังอ่านอยู่
             2.3.2พื้นความรู้เดิมเกี่ยวกับโครงสร้าง (Formal Schemata) หมายถึง โครงสร้างของข้อความใน
ลักษณะต่างๆ เช่น ข้อความให้ความรู้เชิงสาธกโวหาร นิทาน นิยาย บทความ ทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งโครงสร้าง
ทางภาษาในแต่ละเรื่องไม่เหมือนกัน ถ้าผู้อ่านมีความรู้สึกไวต่อโครงสร้างของข้อความและนาพื้นความรู้
เหล่านั้นมาใช้ ในขณะที่อ่านจะช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจเรื่องที่อ่านได้มากขึ้น พื้นความรู้ประเภทนี้ก็คือ
ความสามารถของแต่ละบุคคลมีในด้านภาษานั่นเอง ดีไวน์ (Devine, 1987 : 73-87) อ้างถึงในปานทิพย์ ปัตถา
วะโร, 2549 : 21) กล่าวว่า ผู้อ่านที่มีความรู้เดิมเกี่ยวกับวิธีการเรียบเรียงเนื้อเรื่องของผู้เขียนย่อมได้เปรียบกว่า
ผู้อ่านที่ไม่มีความรู้เรื่องนี้ กล่าวคือ ผู้อ่านที่มีพื้นความรู้เดิมเกี่ยวกับการเรียบเรียงเนื้อเรื่องในรูปแบบ
มาตรฐานมีแนวโน้มที่จะเข้าใจสิ่งที่ผู้เขียนต้องการสื่อสารได้ง่ายยิ่งขึ้น
             จากที่กล่าวมาพอสรุปได้ว่า พื้นความรู้เดิมเป็นโครงสร้างความรู้ที่ถูกเก็บสะสมไว้ในระบบ
ความจา และจะถูกกระตุ้นให้นาออกมาใช้ในการตีความหมายการอ่านเพื่อได้รับข้อมูลใหม่ ผู้อ่านที่ประสบ
ความสาเร็จจะต้องสามารถนาพื้นความรู้เดิมมาใช้ให้เหมาะสมกับเรื่องที่อ่านเนื่องจากพื้นความรู้เดิมที่มี
ลักษณะสอดคล้องกับเรื่องที่อ่านเท่านั้นที่จะเป็นประโยชน์ต่อการอ่านหากผู้อ่านสามารถนามาใช้ได้อย่าง
ถูกต้องเหมาะสม ก็จะช่วยให้มีความเข้าใจในสิ่งที่อ่านได้ดียิ่งขึ้น
          3.องค์ประกอบของการอ่านเพื่อความเข้าใจ
           การอ่านได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้น ต้องอาศัยองค์ประกอบหลายๆ อย่าง เช่น ความรู้
ความสามารถทางภาษา ประสบการณ์เดิม เป็นต้น มีนักการศึกษาหลายท่านกล่าวไว้ดังนี้
           วิลเลียมส์ (Williams, 1986 : 3-7 อ้างถึงในปานทิพย์ ปัตถาวะโร, 2549 : 21) ได้สรุป
องค์ประกอบที่เกี่ยวกับผู้อ่าน ในการอ่านเพื่อความเข้าใจไว้ว่า
           1.ความรู้เกี่ยวกับระบบที่เขียน (Knowledge of the Writing System) ทั้งในลักษณะที่เป็น
ลายมือเขียนและเป็นตัวพิมพ์ รวมถึงความรู้ด้านสะกดคา การผสมคา และ การอ่านคา ได้อย่างถูกต้อง
           2.ความรู้เกี่ยวกับตัวภาษา (Knowledge of the Language) ผู้อ่านที่ประสบความสาเร็จในการอ่าน
ต้องมีความรู้ในเรื่องรูปแบบของคา การเรียบเรียงคาโครงสร้างและไวยากรณ์ของภาษาเป็นอย่างดี
           3.ความสามารถในการตีความ (Ability to Interpret) ในการอ่านผู้อ่านต้องสามารถบอกถึง
จุดมุ่งหมายของบทอ่านได้นอกจากนี้ต้องเข้าใจวิธีการเรียบเรียงเนื้อหาให้เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่าง
ประโยคต่างๆ และสามารถติดตามความคิดของผู้เขียนได้อีกด้วย
           4.ความรู้รอบตัวของผู้อ่าน (Knowledge of the World) ความรู้ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับวิถี
ชีวิต วัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมือง กีฬา ตลอดจนประสบการณ์ต่างๆ ที่ผู้อ่านสามารถนามาสัมพันธืกับบท
อ่านได้เพื่อสร้างความเข้าใจในการอ่าน
           5.เหตุผลในการอ่านและวิธีการอ่าน (Reason for Reading and Reading Style) เหตุผลในการอ่าน
ของผู้อ่านแต่ละคนย่อมแตกต่างกันไป เหตุผลและความต้องการในการอ่านนี้เองที่มีผลต่อการเลือกอ่าน
ดังนั้น ผู้อ่านจึงทราบว่าตนเองอ่านอะไร อ่านทาไม และจะอ่านอย่างไร
          มิลเลอร์ (Miller, 1990 : 2 อ้างถึงในปานทิพย์ ปัตถาวะโร, 2549 : 22) กล่าวถึงกระบวนการอ่าน
อย่างมีระบบว่า ประกอบไปด้วยสิ่งต่อไปนี้คือ
           1.ช่วงสายตา (Eye Span) ประสาทตาเป็นสิ่งที่สาคัญในการจะรับภาพเข้าสู่สมองความรวดเร็ว
หรือช้าในการอ่านขึ้นอยู่กับระยะความกว้างของช่วงที่สายตาของเราจะเคลื่อนไปตามอักษรให้ต่อเนื่องเป็น
ตอน และเป็นบทในที่สุด
           2.กระบวนการคิด (Thinking Process) การคิด คือ การแปลภาพตัวอักษรออกมาเป็นความหมาย
และบุคคลมีความรับรู้เข้าใจได้ต่างกัน เนื่องจากมีกระบวนการคิดที่ต่างกัน
3.การเคลื่อนไหวของสายตา( Eye Movement) เป็นองค์ประกอบทางสรีระเบื้องต้นที่จะช่วยฝึก
ความเร็วในการอ่าน
         สรุปได้ว่า องค์ประกอบของความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจแบ่งได้เป็น 2 ด้านใหญ่ๆ คือ
องค์ประกอบ ภายนอกตัวผู้อ่านซึ่งเกี่ยวข้องกับความรูทางภาษาศาสตร์ ความรู้เดิมความรู้เกี่ยวกับ
                                                  ้
สิ่งแวดล้อมรอบตัวผู้อ่าน รวมทั้งความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการอ่านและองค์ประกอบภายในตัวผู้อ่านซึ่งเกียวข้อ
                                                                                                ่
กับสายตา การเคลื่อนไหวสายตาและกระบวนการคิด
         4.ระดับของความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจ
           ในการจาแนกระดับความเข้าใจในการอ่านมีนักการศึกษา จาแนกไว้ตั้งแต่ระดับที่มีความ
ซับซ้อนน้อยไปจนถึงระดับความซับซ้อนมาก ดังนี้
           ดัลล์แมนและคณะ (Dallman and Others,1978 อ้างถึงในปานทิพย์ ปัตถาวะโร, 2549: 22) ได้
จาแนกพฤติกรรมความเข้าใจในการอ่านออกเป็น 3 ระดับ ดังนี้
           1. ความเข้าใจระดับข้อเท็จจริง หมายถึง ความเข้าใจในสิ่งที่กล่าวไว้ตรงๆ ในเรื่องที่อ่าน ทักษะ
ย่อย ได้แก่ การรู้ความหมายของคา การหาใจความสาคัญ การหารายละเอียด การอ่านเพื่อทาตามคาแนะนา
           2. ความเข้าใจในระดับการตีความ หมายถึง ความสามารถในการเข้าใจสิ่งที่ไม่ได้กล่าวไว้ตรงๆ
ในเนื้อเรื่องแต่จะใช้ความสามารถในการสรุปอ้างอิง และลงความเห็น ทักษะย่อยในขั้นนี้ ได้แก่ การเข้าใจ
สานวนภาษาวิจารณ์ตัวละครจากเรื่องที่อ่าน การได้มาซึ่งข้อสรุป
         3. ความเข้าใจระดับการประเมินค่า หมายถึง การประเมินค่าสิ่งที่อ่านโดยไม่ได้มุ่งจับผิดแต่ขึ้นอยู่
กับการใช้ข้อมูลหรือองค์ประกอบจากการอ่านมาพิจารณาอย่างมีเหตุผลโดยใช้ความรู้และประสบการณ์ใน
เรื่องนั้นเป็นเกณฑ์มาตรฐานเพื่อตัดสินการชี้วัตถุประสงค์ของผู้เขียน การสรุปประโยชน์หรือข้อคิดที่ได้จาก
เรื่อง
           ริเช็ค และคณะ (Richeck and Others, 1996 , อ้างถึงใน มณีรัตน์ สุกโชติรัตน์, 2548 : 224) กล่าว
ว่าระดับของการอ่าน (Levels of Reading Performance or Levels of Student Functioning in Reading) คือ
ระดับความสัมฤทธิ์ทางการอ่านของผู้อ่านแต่ละคน ซึ่งวัดจากแบบทดสอบความรู้ทางศัพท์ และการอ่านเข้า
ใจความที่ครูสร้างขึ้นเองแต่ถ้าครูพิจารณาแล้วว่าความสามารถทางการอ่านของนักเรียนอยู่ในระดับต่ากว่า
ระดับชั้นของตนเองครูอาจมอบหมายหนังสือ/บทอ่านในระดับต่ากว่าหรือง่ายกว่า ระดับการอ่านแบ่ง
ออกเป็นระดับต่างๆ ดังนี้
           1. ระดับอิสระ (Independent Level) คือ ระดับการอ่านขั้นสูงสุดที่นักเรียนสามารถอ่านอย่าง
ง่ายดาย และคล่องแคล่วสามารถอ่านได้เองอย่างอิสระ อ่านด้วยความเข้าใจค่อนข้างสูงและเมื่ออ่านในใจรู้
คาศัพท์ ร้อยละ 100 สามารถตอบคาถามระดับตามตัวอักษรได้ถูกต้องร้อยละ 90-100 และสามารถตอบ
คาถามระดับสรุปอ้างอิงหรือตีความได้ถูกต้องร้อยละ 90
           2. ระดับที่ต้องสอน (Instructional Level) คือ ระดับการอ่านที่ครูจะต้องสอน หมายถึงระดับที่
นักเรียนสามารถอ่านโดยไม่รู้สึกว่ายากหรือง่ายมากนัก อ่านอย่างตรึงเครียด คือ อ่านออกเสียงด้วยความ
ถูกต้องร้อยละ 90-95 และเมื่ออ่านในใจรู้คาศัพท์ร้อยละ 90 สามารถตอบคาถามระดับตามตัวอักษรได้
ถูกต้องร้อยละ 80-90 และตอบคาถามระดับสรุปอ้างอิงหรือตีความได้ถูกต้องร้อยละ 70
           3. ระดับคับข้องใจ (Frustrational Level) ระดับการอ่านที่นักเรียนอ่านด้วยคายากลาบาก อ่านไม่
คล่อง ไม่เข้าใจ เกิดความคับข้องใจ รู้สึกตรึงเครียด คือ อ่านออกเสียงด้วยความถูกต้องต่ากว่าร้อยละ 90 และ
เมื่ออ่านในใจรู้คาศัพท์ต่ากว่าร้อยละ 80 สามารถตอบคาถามระดับตามอักษรได้ถูกต้องต่ากว่าร้อยละ 70 และ
ตอบคาถามระดับสรุปอ้างอิงหรือตีความได้ถูกต้อง ร้อยละ 60
           4. ระดับความสามารถในการฟัง (Listening Capacity or Potential Level) คือระดับสูงสุดที่
นักเรียนจะสามารถเข้าใจเนื้อหาได้เมื่อมีผู้อ่านให้ฟัง กล่าวคือ เมื่อนักเรียนอ่านเองด้วยความคับข้องใจครูจะ
ช่วยโดยการอ่านให้ฟังและเมื่อตอบคาถามนักเรียนจะสามารถตอบคาถามได้ถูกต้องร้อยละ 75

Contenu connexe

Tendances

โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกChainarong Maharak
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์Lamai Fungcholjitt
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมWatcharapol Wiboolyasarin
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนkrupornpana55
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนwaranyuati
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxSophinyaDara
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...คำเมย มุ่งเงินทอง
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรBigbic Thanyarat
 
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555Nattapon
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก Jeerapob Seangboonme
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนmadechada
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6sapatchanook
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจไพบููลย์ หัดรัดชัย
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAณัฐพล แสงทวี
 

Tendances (20)

โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
 
ปก
ปกปก
ปก
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
 
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
 

En vedette

บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านKanjana Pothinam
 
การสอนอ่านภาษาอังกฤษแบบ Mia
การสอนอ่านภาษาอังกฤษแบบ Miaการสอนอ่านภาษาอังกฤษแบบ Mia
การสอนอ่านภาษาอังกฤษแบบ MiaPrakasani Butkhot
 
บทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านบทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านAj.Mallika Phongphaew
 
รูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษ
รูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษรูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษ
รูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษAlis Sopa
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙Nongkran Jarurnphong
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓Nongkran Jarurnphong
 

En vedette (11)

บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
การสอนอ่านภาษาอังกฤษแบบ Mia
การสอนอ่านภาษาอังกฤษแบบ Miaการสอนอ่านภาษาอังกฤษแบบ Mia
การสอนอ่านภาษาอังกฤษแบบ Mia
 
บทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านบทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่าน
 
รูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษ
รูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษรูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษ
รูปแบบ เทคนิคต่างๆ และการวางแผนการจัดกิจกรรมในการสอนอ่านภาษาอังกฤษ
 
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 

Similaire à ทักษะการอ่าน

เธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธเธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธkhaowpun
 
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญPiyarerk Bunkoson
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรมPrapa Khangkhan
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบปNamfon Wannapa
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยน้อง มัดไหม
 
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอนkuneena
 
นวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนนวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนkuneena
 
นวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอนนวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอนkuneena
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความพัน พัน
 
พัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่านพัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่านThanit Lawyer
 
พัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่านพัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่านAnan Pakhing
 
เรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายเรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายjiratt
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)อัมพร ศรีพิทักษ์
 

Similaire à ทักษะการอ่าน (20)

เธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธเธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธ
 
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
 
บทที่ 2.ใหม่
บทที่ 2.ใหม่บทที่ 2.ใหม่
บทที่ 2.ใหม่
 
บทความ
บทความบทความ
บทความ
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรม
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบป
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
 
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 
นวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนนวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอน
 
นวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอนนวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอน
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
Tha203 5
Tha203 5Tha203 5
Tha203 5
 
พัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่านพัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่าน
 
พัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่านพัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่าน
 
เรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายเรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมาย
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
 
01 หน่วย 1
01 หน่วย 101 หน่วย 1
01 หน่วย 1
 
NT'55 Nationnal Test
NT'55 Nationnal TestNT'55 Nationnal Test
NT'55 Nationnal Test
 
การเขียน
การเขียนการเขียน
การเขียน
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
 

ทักษะการอ่าน

  • 1. ทักษะการอ่าน การอ่านเป็นทักษะสาคัญในการเรียนภาษา การอ่านเป็นกระบวนการที่ต้องฝึกฝนอย่างมีระบบ เพราะการอ่านเป็นทักษะที่สามารถฝึกได้ การฝึกมากทาให้มีความสามารถในการอ่านเพิ่มมากขึ้นตามระดับ ของการอ่าน การอ่านออกหรือการได้ เป็นการอ่านตามตัวอักษรและตัวสะกดการันต์เท่านั้น แต่อาจออกเสียง ไม่ถูกต้อง หรือผู้อ่านอาจจะไม่เข้าใจข้อความที่อ่าน ถึงแม้จะเข้าใจก็อาจจะเข้าใจไม่ดีพอ หรืออาจจะเข้าใจ ผิดก่อให้เกิดความเสียหายกับผู้อ่านเองได้ ส่วนการอ่านเป็นคือ การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพหรือม ความสามารถในการอ่านได้ถูกต้อง การอ่านได้คล่อง รวดเร็วเข้าใจเรื่องที่อ่าน จับใจความสาคัญ ตอบคาถาม ได้ อ่านแล้วตีความได้ สามารถวิเคราะห์วิจารณ์ได้มีสมาธิ และอ่านแล้วรู้จักจดบันทึกสามารถนาไปใช้ ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้ (ฉวีวรรณ คูหาภินันท์, 2542: 16-17) 1.ความหมายของการอ่าน การอ่านเป็นทักษะทางภาษาที่นาผู้อ่านไปสู่โลกกว้าง ช่วยให้ผู้อ่านมีความรู้ ข้อมูลข่าวสารและ งานสร้างสรรค์ จัดพิมพ์ในหนังสือและสิ่งพิมพ์อื่นๆ มากมาย นอกจากนี้แล้วข่าวสารสาคัญๆ หลังจากการ นาเสนอด้วยการพูด หรืออ่านให้ฟังผ่านสื่อต่างๆ แล้วส่วนใหญ่มีการจัดพิมพ์เก็บรักษาไว้เป็นหลักฐานแก่ ผู้อ่านในชั้นหลังๆ ความสามารถในการอ่านจึงสาคัญและจาเป็นอย่างยิ่งต่อการเป็นพลเมืองที่มีคุณภาพใน สังคมปัจจุบัน ดังจะเห็นได้ว่าองค์การระดับนานาชาติ เช่น องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่ง สหประชาชาติ (UNESCO) จะใช้ความสามารถในการรู้หนังสือของประชากรประเทศต่างๆ เป็นดัชนีวัด ระดับการพัฒนาของประเทศนั้นๆ โดยมีผู้ให้ความหมายของการอ่านไว้ต่างๆ กันดังนี้ คาร์และคณะ (Car and Others, 1983: 27) ให้ความหมายของการอ่านว่าเป็นการตีความ เรื่องที่ อ่าน และนาความคิดที่ได้จากการอ่านไปใช้ความรู้เดิมในการตีความตัดสินใจอย่างมีเหตุผล สนิท ฉิมเล็ก (2540: 149) คือ การแปลอักษรออกมาเป็นความคิด เปล่งเสียงออกมาเป็นเสียงอ่าน และนาความคิดที่ได้จากการอ่านไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในการสื่อความหมาย วัฒนะ บุญจับ (2541: 100) ได้ให้ความหมายของการอ่านไว้ว่า “การรับรู้ความหมายจาก ข้อความหรือถ้อยคาที่จัดพิมพ์ หรือจารึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษรให้ปรากฏหรือปรากฏในรูปสัญลักษณ์ต่างๆ ที่สามารถแปลความหมายหรือตีความหมายได้”
  • 2. พนิตนันท์ บุญพามี (2542: 1) ได้ให้ความหมายของการอ่านไว้ว่า คือ การเข้าใจความหมายของ คา สัญลักษณ์ หรือเรื่องราวต่างๆ ซึ่งมนุษย์สามารถรับรู้แล้วแปลความหมายออกมาได้ ถ้าอ่านไม่เข้าใจ จะ ถือว่าเป็นการอ่านโดยแท้จริงไม่ได้ เนื่องจากการสื่อสารระหว่างผู้เขียนกับผู้อ่านไม่บรรลุวัตถุประสงค์ที่ ต้องการ สมุทร เซ็นเชาวนิช (2545: 1) ได้กล่าวไว้ว่าการอ่านเป็น การสื่อความหมายระหว่างผู้เขียนกับผุ้ อ่าน ผู้เขียนพูด ผู้อ่านแสดงปฏิกิริยาตอบโต้และอาจจะตอบโต้กับผู้อื่นด้วย การสื่อความหมาย ในการอ่าน นั้นจะต้องมีองค์ประกอบ 3 อย่าง คือ ผู้เขียน ผู้อ่าน และรายงาน พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2546: 914) ได้ให้ความหมายการอ่าน ดังนี้ 1.การอ่าน คือ ความเข้าใจสัญลักษณ์ เครื่องหมาย รูปภาพ ตัวอักษร คาและข้อความพิมพ์หรือ เขียนขึ้นมาเอง 2.การอ่าน คือ การว่าตามตัวหนังสือ ออกเสียงตามตัวหนังสือ ดูเข้าใจความจากตัวหนังสือ สังเกต หรือพิจารณา คิด นับ ให้เข้าใจความหมาย อัจฉรา ชีวพันธ์ (2546: 47) กล่าวว่า การอ่านเป็นทักษะของการรับสารและเป็นทักษะที่สาคัญ ในการแสวงหาความรู้ด้านต่างๆ การอ่านเป็นทักษะที่จาเป็นในการนามาใช้เพื่อให้สามารถติดตามความ เคลื่อนไหว ความก้าวหน้า และการเปลี่ยนแปลงของสภาพวิทยากรได้อย่างมีประสิทธิภาพ มณีรัตน์ สุกโชติรัตน์ (2548: 18) ให้ความหมายของการอ่านว่า เป็นกระบวนการที่รับรู้สารซึ่ง เป็นความรู้ ความคิด ความรู้สึก และความคิดเห็นที่ผู้เขียนถ่ายทอดออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร การที่ผู้จะ เข้าใจได้มากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับประสบการณ์และความสามารถในการใช้ความคิด สาลี รักสุทธิ์ (2553: 5) ให้ความหมายของการอ่านไว้ว่า คือการตีความ แปลความจากตัวอักษร ที่ปรากฏในสื่อพิมพ์ต่างๆ ออกมาเป็นข้อมูลความรู้ สู่การรับรู้ การเข้าใจของผู้อ่าน แม้นมาศ ชวลิต (2544) อ้างถึงใน มณีรตน์ สุกโชติรัตน์, (2553: 17-18) กล่าวสรุปความหมายว่า ั การอ่านเป็นกระบวนการทางสมดงในการรับสารซึ่งแสดงด้วยถ้อยคาที่เขียนลงไว้เป็นลายลักษณ์อักษร โดย ใช้อวัยวะสาหรับสารคือ ตา เมื่อสมองรับภาพหรืออักษรมาแล้วสมองจะจดลงไว้ในหน่วยความจาทันทีว่า “รู้” หรือ “ไม่ร” อัตราความเร็วของกระบวนการในการรับสารจะแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับพื้นฐานความรู้เดิม ู้ ของผู้อ่าน กล่าวโดยสรุป การอ่านเป็นการแปลความหมายจากตัวอักษรหรือสัญลักษณ์ที่ผู้เขียนต้องการจะ สื่อความหมาย ซึ่งผู้อ่านจะต้องอาศัยความรู้พื้นฐานเดิมที่มีอยู่ ประกอบกับความสามารถในการคิด ความรู้
  • 3. ทางภาษา ในการตีความหมายของสิ่งที่อ่านเพื่อให้ความหมายที่ชัดเจน ตรงตามหรือใกล้เคียงกับผู้เขียน ต้องการจะสื่อออกมาให้อ่านได้รับรู้ 2.ความสาคัญของการอ่าน ความสามารถในการอ่าน มีความจาเป็นสาหรับคนในยุคข้อมูลข่าวสาร ในการแสวงหาความรู้ โดยไม่มีที่สิ้นสุด นักการศึกษาได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความสาคัญของการอ่านดังนี้ วอลเลช (Wallace, 1992: 4-5) กล่าวถึง ความสาคัญของความสามารถในการอ่าน สรุปได้ว่า การ อ่านกเช่น การอ่านป้ายเตือนต่างๆ การอ่านเพื่อความเข้าใจสารว่าหากทาหรือไม่ทาสิ่งใดจะเกิดผลกระทบ อย่างไร เป็นต้น นอกจากนี้ การอ่านยังเป็นแหล่งความรู้และให้ความเพลิดเพลินอีกด้วย กรมวิชาการ (2542: 7) อ้างถึงในสาลี รักสุทธิ์ (2553: 10) ได้ระบุถึงความสาคัญของการอ่านว่า การอ่านหนังสือได้โดยไม่มีการจัดเวลาและสถานที่สามารถนาไปไหนมาไหนได้ ผู้อ่านสามารถฝึกคิดและ สร้างจินตนาการได้เองในขณะที่อ่าน การส่งเสริมให้มีสมองดี มีสมาธินานกว่าสื่ออื่น ทั้งนี้เพราะขณะอ่าน จิตใจต้องมุ่งมั่นอยู่กับข้อความ พินิจพิเคราะห์ข้อความ ซึ่งผู้อ่านกาหนดการอ่านด้วยตัวเอง จะอ่านคร่าวๆ อ่านละเอียด อ่านข้ามหรืออ่านทุกตัวอักษรเป็นไปตามใจของผู้อ่าน ฉวีวรรณ คูหานันทน์ (2545: 2) กล่าวว่า การอ่านมีความสาคัญต่อชีวิตมนุษย์ช่วยให้เกิดการ เรียนรู้ตลอดชีวิต สนองความอยากรู้อยากเห็น อันเป็นธรรมชาติของมนุษย์ได้ทุกเรื่องผู้ที่อ่านน้อยหรือไม่ อ่าน จะเปรียบเสมือนคนหูหนวก ตาบอด ไม่รู้เรื่องโลกภายนอก จะทาให้ลุ่มหลงงมงายได้ง่าย เพราะ ความคิดไม่กว้างไกล เชื่อในสิ่งที่ไร้สาระเพราะติดตามการอ่านน้อยข้อมูลไม่ถูกต้อง จากความคิดเห็นของศึกษาดังกล่าว สามารถสรุปได้ว่า การอ่านมีความสาคัญที่สุดต่อการ แสวงหาความรู้ของมนุษย์ มีส่วนช่วยในการพัฒนาคุณภาพชีวิตเพิ่มพูนประสบการณ์ และให้ความบันเทิง 3.การพัฒนาทักษะการอ่าน การพัฒนาทักษะการอ่าน มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะฝึกทักษะให้ผู้เรียนสามารถอ่านข้อความต่างๆ ได้อย่างเข้าใจ หรือตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ การอ่านจะประสบผลสาเร็จมากน้อยเพียงใด ย่อมขึ้นอยู่กับ องค์ประกอบหลายๆ อย่าง เช่น ประสบการณ์เดิมของผู้อ่าน ความสนใจในเรื่องที่อ่าน ความสามารถในด้าน ภาษา และจุดมุ่งหมายของการอ่านเป็นต้น (กาญจนา จันทะดวง, 2542: 54-55) ทักษะการอ่าน ถือว่าเป็นทักษะที่สาคัญและมีประโยชน์มาก เพราะในชีวิตประจาวันนั้นผู้เรียน จาเป็นต้องใช้ ดังนั้น การเน้นทักษะการอ่านจึงเป็นสิ่งที่มีความจาเป็นสูง ขั้นตอนในการสอนทักษะการอ่าน สรุปได้ดังนี้
  • 4. 3.1 เร้าความสนใจของผู้เรียน 3.1.1ให้ผู้เรียนเดาความหมายของคาศัพท์ 3.1.2 ให้ผู้เรียนคาดคะเนความเป็นไปของเนื้อเรื่อง 3.2 ขั้นการอ่าน 3.2.1 ให้ผู้เรียนอ่านเนื้อเรื่องคร่าวๆ เพื่อทาความเข้าใจกับเนื้อหาทั้งหมด 3.2.2 ผู้เรียนอ่านเนื้อหา รายละเอียดของเนื้อเรื่อง เพื่อหาคาตอบสรุปประเด็นสาคัญ ซึ่งอาจ ใช้วิธีการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ การเขียนแผนผัง การเติมข้อมูลที่ขาดหาย การเล่าโดยสรุป เป็นต้น 3.3 ขั้นหลังการอ่าน เป็นขั้นที่ผู้สอนต้องการประเมินความถูกต้องและความเข้าใจในการอ่าน ของผู้เรียน ทั้งนี้ผู้สอนอาจเชื่อมโยงทักษะการอ่านนี้ไปสู่ทักษะอื่นได้ เช่น ทักษะ การเขียน ทักษะการฟัง และทักษะการพูด โดยให้ผู้เรียนทากิจกรรม ดังนี้ 3.3.1 ให้เขียนเนื้อเรื่องโดยสรุป 3.3.2 ให้แสดงบทบาทสมมติจากเรื่องที่อ่าน 3.3.3 ให้วาดภาพประกอบเรื่อง เนื่องจากขั้นตอนในการสอนทักษะการอ่านในข้างต้นนี้ ยังมีขั้นตอนของวิธีการสอนเพื่อ พัฒนาการอ่านอีกมากมาย ที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาความสามารถในการอ่านมากขึ้นทักษะการอ่าน จึงมีความสัมพันธ์กับทักษะการเรียนรู้ ถ้าผู้เรียนได้อ่านมากก็จะได้รับประสบการณ์มาจากเรืองที่อ่าน เช่น ่ เนื้อหา คาศัพท์ โครงสร้างเรื่อง เครื่องหมายวรรคตอน รวมทั้งสานวนต่างๆ ผู้เรียนสามารถนาความรู้มาใช้ เขียนเรื่องราวในภาษาของตนเองได้ ดังนั้น จึงสรุปไดว่า การพัฒนาทักษะการอ่าน ควรได้รับการพัฒนาก่อน ทักษะการเขียนและควรได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง การอ่านเพื่อความเข้าใจ 1.ความหมายการอ่านเพื่อความเข้าใจ การอ่านมีความสาคัญต่อชีวิตมนุษย์ตั้งแต่เกิดจนเป็นผู้ใหญ่ และกระทั่งถึงวัยชรา ปัจจุบันการ อ่านเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ การอ่านถือเป็นปัจจัยที่ 5 นอกจากปัจจัย 4 คือ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย ยา รักษาโรค ปัจจุบันนี้ถือเป็นยุคโลกาภิวัตน์ ซึ่งเป็นยุคที่มีการสื่อสารแบบไร้พรมแดนของข้อมูลข่าวสาร มนุษย์ที่อาศัยอยู่กันคนละประเทศ ห่างกันคนละซีกโลกแตกต่างกันทางด้านภาษา เชื้อชาติ แต่ข้อมูลและการ สื่อสารก็สามารถส่งถึงกันได้อย่างรวดเร็วไม่ว่าจะเป็นหนังสือพิมพ์ วารสาร และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ แต่การ จะเข้าถึงสื่อเหล่านี้ได้ต้องใช้ความสามารถด้านการอ่านทั้งสิ้น ฉะนั้น การอ่านจึงถือเป็นเครื่องมือที่สาคัญใน
  • 5. การแสวงหาความรู้ในชีวิตประจาวัน มีนักการศึกษาหลายท่านได้ให้ความหมายการอ่านเพื่อความเข้าใจไว้ ดังนี้ สมิธ (Smith, 1973: 168-174) ได้ให้ความหมายของการอ่านเพื่อความเข้าใจเป็นการอ่านที่ผู้อ่าน สามารถรับเอาความหมายที่ผู้เขียนตั้งใจใส่ไว้ในตัวอักษร ได้ตรงตามที่ผู้เขียนต้องการ ฟินอคเชียโร และซาโกะ (Finocchiaro and Sako, 1983: 131-132) ได้ให้ความหมายของการอ่าน เพื่อความเข้าใจว่า เป็นการรับรู้ต่อสัญลักษณ์ที่เป็นภาษาเขียน การควบคุมความสัมพันธ์ของภาษาและ โครงสร้าง ความรู้เกี่ยวกับคาศัพท์ และการประกอบกันเป็นคาศัพท์ ความตระหนักถึงความซ้าซ้อนของ ภาษา ความสามารถในการใช้ตัวชี้แนะ (Clues) ทีอยู่ในบริเวณมาช่วยในการอ่านและการเรียนรู้เกี่ยวกับ ่ เนื้อหาทางวัฒนธรรม นอกจากนี้แล้วในการอ่านที่มีข้อความสนับสนุน ความสามารถในการตีความอย่างมี เหตุผล ความสามารถในการเข้าใจสานวนอารมณ์ หรือแนวคิดของผู้เขียน เป็นต้น แอนเดอร์สัน (Anderson, 1985 : 372-375) ได้ให้ความหมายของการอ่านเพื่อความเข้าใจว่าเป็น ระบบการค้นหาความหมายในหลายระดับ กล่าวคือ ผู้อ่านต้องใช้ความสามารถทางภาษาหลายระดับพร้อม กัน ตั้งแต่ระดับตัวอักษรหรือระดับคา (Morphology) ไปถึงระดับโครงสร้าง (Structure) และระดับ ความหมาย (Semantics) นอกจากนั้นยังเป็นกระบวนการที่ช่วยสร้างสมมติฐานเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน นั่นก็คือ ผู้อ่านที่อ่านคล่องแคล่วแล้วจะสามารถทานายเรื่อง และอ้างอิงข้อมูลจากการอ่านได้ด้วย วอลเลซ (Wallace, 1992 : 4) ได้ให้ความหมายของการอ่านเพื่อความเข้าใจว่าเป็นกระบวนการ ตีความเพื่อที่จะทาความเข้าใจจุดมุ่งหมายของผู้เขียน ฉวีวรรณ คูหาภินันทน์ (2545 : 1) กล่าวว่า การอ่าน คือการนาความเข้าใจในลักษณะ เครื่องหมาย รูปภาพ ตัวอักษร คา และข้อความที่พิมพ์ หรือเขียนขึ้นมา สมุทร เซ็นเชาวนิช (2545: 73) ได้กล่าวถึงความเข้าใจในการอ่านว่า คือ ความสามารถที่จะ อนุมานข้อสนเทศ หรือความหมายอันพึงประสงค์จากสิ่งที่อ่านมาแล้วได้อย่างมีประสิทธิภาพเท่าที่จะทาได้ ความเข้าใจอันนี้เป็นเรื่องที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับการศึกษาและประสบการณ์ต่างๆ หลายด้าน ถือเป็น องค์ประกอบที่สาคัญยิ่งของการอ่านถ้าอ่านแล้วไม่เกิดความเข้าใจใดๆ เลย ก็เป็นเพียงตัวหนังสือที่ปรากฏอยู่ บนหน้ากระดาษที่ไม่มีความหมายใดๆ จากความหมายของการอ่านเพื่อความเข้าใจดังกล่าว สรุปได้ว่า ความสามารถในการอ่านเพื่อ ความเข้าใจคือ การสื่อความหมายระหว่างผู้เขียนกับผู้อ่าน การได้ข้อมูลที่ต้องการจากการเขียนและความ เข้าใจในงานเขียน ซึ่งเกิดจากกระบวนการปฏิสัมพันธ์ระหว่างความรู้เดิมของผู้อ่าน ข้อมูลบทอ่าน และ
  • 6. บริบทการอ่าน โดยผู้อ่านต้องใช้ความรู้ทางด้านภาษาศาสตร์ตั้งแต่ระดับคา โครงสร้างและระดับความหมาย รวมทั้งคาชี้แนะที่อยู่ในบริบทที่อ่านมาใช้ในการสร้างความหมายและคาความเข้าใจในเรื่องที่อ่าน 2.ทฤษฎีพื้นความรู้เดิมกับความเข้าใจในการอ่าน 2.1 ทฤษฎีพื้นความรู้เดิม (Schema Theory) เป็นทฤษฎีที่อธิบายถึงวิธีการจัดระเบียบของ ความรู้ในสมองของคนเรา รวมถึงวิธีรับเอาความรู้ใหม่เข้าไปรวมกับพื้นความรู้เดิมและวิธีการดัดแปลง ปรับปรุงแก้ไขพื้นความรู้เดิมให้เหมาะสม โดยทฤษฎีนี้เสนอแนวความคิดว่าความรู้ที่มีอยู่ในสมอง จะถูก จัดระบบเข้าเป็นกลุ่มของโครงสร้างความรู้ที่มีการเชื่อมโยงซึ่งจะถูกสร้างขึ้นจากประสบการณ์เกียวกับโลก ่ ความรู้เหล่านี้จะเป็นตัวนาไปสู่ความเข้าใจในโลก นอกจากนี้ยังทาให้เราสามารถเดาหรือคาดการณ์ ในสิ่งที่ จะเกิดขึ้นในบริบทที่กาหนดให้ด้วยประสบการณ์ของเรา ผู้อ่านจะนาความรู้เหล่านี้มาใช้ในการตีความ และ ข้อความที่ไม่ชัดเจนหรือคลุมเครือในเนื้อหา (Carrell, 1983: 553-557) ในทฤษฎีนี้จะให้ความสาคัญกับพื้น ความรู้เดิม ซึ่งความเข้าใจในการอ่านที่มีประสิทธิภาพจะเกิดขึ้นได้ ต้องอาศัยความสามารถของผู้อ่านในการ สร้างความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งที่อ่านกับพื้นความรู้เดิม ความเข้าใจเพียงแค่ระดับคา ประโยค หรือเนื้อเรื่อง เป็นเพียงความเข้าใจ โดยอาศัยความรู้ทางภาษาศาสตร์เท่านั้น แต่การตีความต้องอาศัยการบูรณาการพื้น ความรู้เดิมที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่ปรากฏในบทอ่าน (Carrell และ Eiesterhold, 1988: 56-59) คาร์เรล (Carrell, 1983 : 332-343) ได้กล่าวว่า กระบวนการอ่านแบบเน้นเนื้อหาเกิดจากการับ ข้อมูลเข้าสู่ระบบ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้มีลักษณะเหมาะสมที่สุดกับพื้นความรู้เดิมในพื้นความรู้เดิมนี้มีการ เรียงลาดับจากข้อมูลที่มีลักษณะทั่วๆไปในระดับยอดไปจนถึงข้อมูลที่มีลักษณะเฉพาะในระดับล่าง ใน กระบวรการนี้จึงมีการปรับพืนความรู้เดิมในระดับล่างไปสู่พื้นความรู้เดิมรับยอด จึงเรียกว่าการผลักดัน ้ ข้อมูล เพราะฉะนั้นการที่ผู้อ่านจะใช้ความรู้ทางภาษาศาสตร์ เช่น หน่วยเสียง ตัวอักษร หรือคา ในการเข้าใจ ความหมายจากหน่วยที่เล็กที่สุด ไปจนถึงหน่วยที่ใหญ่ที่สูด และเปลี่ยนแปลงพื้นความรู้เดิมและการคาดเดา ไปตามข้อมูลที่ได้จากการอ่าน ดังนั้นผู้ที่มีทักษะการอ่านดี จะสามารถปรับเปลี่ยนกระบวนการอ่านให้ เหมาะสมกับบทอ่านและสถานการณ์ในการอ่านได้ แต่ผู้ที่ไม่มีทักษะในการอ่านมักจะใช้กระบวนการอ่าน แบบใดแบบหนึ่งเท่านั้น จึงทาให้มีปัญหาในการอ่านเพื่อความเข้าใจ (Carrell, 1988 : 1-57) ในกระบวนการ อ่าน ผู้อ่านอาจประสบความล้มเหลวในการทาความเข้าใจในเรื่องที่อ่าน ซึ่งมีสาเหตุมาจากพื้นความรู้เดิม ใน ประเด็นดังต่อไปนี้ (Carrell, 1988 : 101-113) 1.ผู้เขียนให้ข้อมูลไม่เพียงพอสาหรับผู้อ่าน ในการนาพื้นความรู้เดิมมาใช้ในกระบวนการอ่าน แบบเน้นเนื้อหา 2.ผู้อ่านไม่มีพื้นความรู้เดิมที่เหมาะสมตามการคาดการณ์ล่วงหน้าของผู้เขียน
  • 7. 3.ความไม่สอดคล้องกันระหว่างพื้นความรู้เดิมของผู้อ่านที่ผู้เขียนคาดว่าจะมีและพื้นความรู้เดิม ของผู้อ่านที่มีอยู่จริง จากคากล่าวของนักทฤษฎีทางการอ่านข้างต้นสรุปได้ว่า พื้นความรู้เดิมหมายถึงความรู้ทั้งหมดที่ บุคคลสะสมไว้จากการเรียนรู้และประสบการณ์ที่ผ่านมา ซึ่งอาจแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล ตามทฤษฎี พื้นความรู้เดิม พบว่าผู้อ่านที่ประสบความสาเร็จในการอ่านนั้นต้องใช้กระบวนการอ่านแบบปฏิสัมพันธ์ (Interactive Processes) ซึ่งเป็นวิธีการที่ใช้ทั้งกระบวนการอ่านแบบเน้นความรู้ (Knowledge – based Processes/Top-down Model) และกระบวนการอ่านแบบเน้นเนื้อหา (Text-based Processes/Bottom-up Model) กระบวนการอ่านแบบเน้นความรู้เกิดจากการคาดเดาลักษณะทั่วไปของบทอ่านโดยอาศัยพื้น ความรู้เดิมระดับสูง และค้นหาข้อมูลชี้เฉพาะที่มีลักษณะเหมาะสมกับพื้นความรู้เดิมในระดับที่สูงขึ้น ซึ่ง เรียกว่า การผลักดันความคิดรวบยอด เพราะฉะนั้นในกระบวนการอ่านผู้อ่านใช้กลวิธีคาดการณ์เนื้อเรื่องที่ อ่านได้ด้วยประสบการณ์หรือพืนความรู้เดิมและตรวจสอบเนื้อเรื่องนั้นเพื่อยืนยันหรือปฏิเสธการคาดเดา ้ นั้นๆ ในดารประมวลความหมายของเรื่องที่อ่าน ผู้อ่านต้องมีพื้นความรู้เดิมที่เหมาะสมและสามารถนา พื้นความรู้เดิมมาใช้ประโยชน์ในขณะที่อ่านเรื่องได้ 2.2 หน้าที่ของพื้นความรู้เดิม พื้นความรู้เดิมช่วยในการตีความหมายข้อความต่างๆ ของผู้อ่าน และเข้าใจเนื้อหาสาระที่ผู้เขียน ต้องการสื่อไปยังผู้อ่าน ดังที่ สเตฟเฟนเซ่น และ โจแอ็กขเดพ (Steffensen and Joag-Deve) อ้างถึงในปาน ทิพย์ ปัตถาวะโร, 2549: 19-20) ได้ชี้ให้เห็นบทบาทของพื้นความรู้เดิมมี 3 ประเภท คือ 2.2.1ช่วยเป็นพื้นฐานในการเติมช่องว่างในข้อความให้เต็ม ทั้งนี้เนื่องจากไม่มีงานเขียนใดที่ อธิบายข้อมูลทุกอย่างได้โดยชัดเจนสมบูรณ์ทั้งหมด พื้นความรู้เดิมทีผู้อ่านสะสมไว้จะช่วยให้ผู้อ่าน ่ ตีความหมายได้อย่างต่อเนื่องและสมบูรณ์ โดยการนาเอาสิ่งทีรู้แล้วมาสรุปและอ้างอิงเพื่อให้เกิดความเข้าใจ ่ ได้ 2.2.2ช่วยควบคุมการตีความของผู้อ่านเมื่อพบข้อความที่กากวม ผู้อ่านจะสามารถตีข้อความที่ กากวมได้ ถึงแม้ว่าข้อมูลข้องพื้นความรู้เดิมของตนแตกต่างไปจากของผู้เขียนเพราะขณะที่อ่านผู้อ่านก็จะ ตีความข้อมูลที่กากวมนั้นอีกครั้งเพื่อที่จะปรับข้อมูลนั้นให้เข้ากับพื้นความรู้เดิมที่มีอยู่ เมื่อพื้นความรู้เดิม สอดคล้องกับของผู้เขียนผู้อ่านก็จะอ่านเรื่องเข้าใจ
  • 8. 2.2.3สร้างการสื่อสารที่ตรงกันระหว่างสิ่งที่รู้แล้ว กับสิ่งที่ปรากฏอยู่ในข้อความซึ่งผู้อ่านจะคอย ตรวจสอบความเข้าใจของตนเอง ในขณะที่อ่านซึ่งจะทาให้รู้ได้ว่าเขาเข้าใจข้อความนั้นหรือไม่อย่างไร 2.3ประเภทของพื้นความรู้เดิม พื้นความรู้เดิมที่ผู้อ่านนามาใช้ในการอ่านเพื่อความเข้าใจประกอบด้วย พื้นความรู้เดิม 2ชนิด คือ (Carrell, 1987: 468-481) 2.3.1พื้นความรู้เดิมเกี่ยวกับเนื้อหา (Content Schemata) หมายถึงการที่ผู้อ่านมีพื้นความรู้เดิม เกี่ยวกับเนื้อหาของเรื่องใดเรื่องหนึ่งมาก่อน เป็นพื้นความรู้ที่ได้มาจากประสบการณ์ในชีวิตของผู้อ่านเอง หรือความรู้รอบตัวของผู้อ่านเป็นตัวกาหนดพื้นความรู้เดิมเชิงเนื้อหา ผูอ่านแต่ละคนจะมีพื้นความรู้ดังกล่าว ้ นี้แตกต่างกันไป (Ohlhausen และ Roller, 1988: 70-88) พื้นความรู้ประเภทนี้เป็นองค์ประกอบที่มีอิทธิพล ต่อความเข้าใจในการอ่านเป็นอย่างมากโดยเฉพาะพื้นความรู้เดิมที่สัมพันธ์กับข้อความในเรื่องที่อ่าน และ พื้นความรู้ทางวัฒนธรรมซึงมีผลทาให้ผู้อ่านเข้าใจเรื่องได้เร็วยิ่งขึ้น (Grabe, 1991 : 375-406) โดยพื้น ่ ฐานความรู้เดิมที่สัมพันธ์กับข้อความที่อ่านจะช่วยให้อ่านเข้าใจสิ่งที่อ่านได้ดียิ่งขึ้น นอกจากนี้ พริทชาร์ด (Pritchard, 1990 : 273-295) มีความคิดเห็นสอดคล้องกับ Grabe ในเรื่องของเนื้อหาทางวัฒนธรรม กล่าวคือ พื้นความรู้เดิมทางเนื้อหาได้รับอิทธิพลมาจากวัฒนธรรมในการดาเนินชีวิต เพื่อนาไปใช้ในการตีความหมาย ในการอ่านได้ ผู้อ่านจะใช้พื้นความรู้เดิม บริบททางสถานการณ์และสิ่งชี้แนะที่ผู้เขียนกาหนดให้เพื่อใช้ใน การตีความหมายของข้อความ หากผู้อ่านไม่สามารถใช้พื้นความรู้เดิมให้เหมาะสม ก็จะทาให้ผู้อ่านไม่ สามารถจะเข้าใจเรื่องที่กาลังอ่านอยู่ 2.3.2พื้นความรู้เดิมเกี่ยวกับโครงสร้าง (Formal Schemata) หมายถึง โครงสร้างของข้อความใน ลักษณะต่างๆ เช่น ข้อความให้ความรู้เชิงสาธกโวหาร นิทาน นิยาย บทความ ทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งโครงสร้าง ทางภาษาในแต่ละเรื่องไม่เหมือนกัน ถ้าผู้อ่านมีความรู้สึกไวต่อโครงสร้างของข้อความและนาพื้นความรู้ เหล่านั้นมาใช้ ในขณะที่อ่านจะช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจเรื่องที่อ่านได้มากขึ้น พื้นความรู้ประเภทนี้ก็คือ ความสามารถของแต่ละบุคคลมีในด้านภาษานั่นเอง ดีไวน์ (Devine, 1987 : 73-87) อ้างถึงในปานทิพย์ ปัตถา วะโร, 2549 : 21) กล่าวว่า ผู้อ่านที่มีความรู้เดิมเกี่ยวกับวิธีการเรียบเรียงเนื้อเรื่องของผู้เขียนย่อมได้เปรียบกว่า ผู้อ่านที่ไม่มีความรู้เรื่องนี้ กล่าวคือ ผู้อ่านที่มีพื้นความรู้เดิมเกี่ยวกับการเรียบเรียงเนื้อเรื่องในรูปแบบ มาตรฐานมีแนวโน้มที่จะเข้าใจสิ่งที่ผู้เขียนต้องการสื่อสารได้ง่ายยิ่งขึ้น จากที่กล่าวมาพอสรุปได้ว่า พื้นความรู้เดิมเป็นโครงสร้างความรู้ที่ถูกเก็บสะสมไว้ในระบบ ความจา และจะถูกกระตุ้นให้นาออกมาใช้ในการตีความหมายการอ่านเพื่อได้รับข้อมูลใหม่ ผู้อ่านที่ประสบ ความสาเร็จจะต้องสามารถนาพื้นความรู้เดิมมาใช้ให้เหมาะสมกับเรื่องที่อ่านเนื่องจากพื้นความรู้เดิมที่มี
  • 9. ลักษณะสอดคล้องกับเรื่องที่อ่านเท่านั้นที่จะเป็นประโยชน์ต่อการอ่านหากผู้อ่านสามารถนามาใช้ได้อย่าง ถูกต้องเหมาะสม ก็จะช่วยให้มีความเข้าใจในสิ่งที่อ่านได้ดียิ่งขึ้น 3.องค์ประกอบของการอ่านเพื่อความเข้าใจ การอ่านได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้น ต้องอาศัยองค์ประกอบหลายๆ อย่าง เช่น ความรู้ ความสามารถทางภาษา ประสบการณ์เดิม เป็นต้น มีนักการศึกษาหลายท่านกล่าวไว้ดังนี้ วิลเลียมส์ (Williams, 1986 : 3-7 อ้างถึงในปานทิพย์ ปัตถาวะโร, 2549 : 21) ได้สรุป องค์ประกอบที่เกี่ยวกับผู้อ่าน ในการอ่านเพื่อความเข้าใจไว้ว่า 1.ความรู้เกี่ยวกับระบบที่เขียน (Knowledge of the Writing System) ทั้งในลักษณะที่เป็น ลายมือเขียนและเป็นตัวพิมพ์ รวมถึงความรู้ด้านสะกดคา การผสมคา และ การอ่านคา ได้อย่างถูกต้อง 2.ความรู้เกี่ยวกับตัวภาษา (Knowledge of the Language) ผู้อ่านที่ประสบความสาเร็จในการอ่าน ต้องมีความรู้ในเรื่องรูปแบบของคา การเรียบเรียงคาโครงสร้างและไวยากรณ์ของภาษาเป็นอย่างดี 3.ความสามารถในการตีความ (Ability to Interpret) ในการอ่านผู้อ่านต้องสามารถบอกถึง จุดมุ่งหมายของบทอ่านได้นอกจากนี้ต้องเข้าใจวิธีการเรียบเรียงเนื้อหาให้เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่าง ประโยคต่างๆ และสามารถติดตามความคิดของผู้เขียนได้อีกด้วย 4.ความรู้รอบตัวของผู้อ่าน (Knowledge of the World) ความรู้ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับวิถี ชีวิต วัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมือง กีฬา ตลอดจนประสบการณ์ต่างๆ ที่ผู้อ่านสามารถนามาสัมพันธืกับบท อ่านได้เพื่อสร้างความเข้าใจในการอ่าน 5.เหตุผลในการอ่านและวิธีการอ่าน (Reason for Reading and Reading Style) เหตุผลในการอ่าน ของผู้อ่านแต่ละคนย่อมแตกต่างกันไป เหตุผลและความต้องการในการอ่านนี้เองที่มีผลต่อการเลือกอ่าน ดังนั้น ผู้อ่านจึงทราบว่าตนเองอ่านอะไร อ่านทาไม และจะอ่านอย่างไร มิลเลอร์ (Miller, 1990 : 2 อ้างถึงในปานทิพย์ ปัตถาวะโร, 2549 : 22) กล่าวถึงกระบวนการอ่าน อย่างมีระบบว่า ประกอบไปด้วยสิ่งต่อไปนี้คือ 1.ช่วงสายตา (Eye Span) ประสาทตาเป็นสิ่งที่สาคัญในการจะรับภาพเข้าสู่สมองความรวดเร็ว หรือช้าในการอ่านขึ้นอยู่กับระยะความกว้างของช่วงที่สายตาของเราจะเคลื่อนไปตามอักษรให้ต่อเนื่องเป็น ตอน และเป็นบทในที่สุด 2.กระบวนการคิด (Thinking Process) การคิด คือ การแปลภาพตัวอักษรออกมาเป็นความหมาย และบุคคลมีความรับรู้เข้าใจได้ต่างกัน เนื่องจากมีกระบวนการคิดที่ต่างกัน
  • 10. 3.การเคลื่อนไหวของสายตา( Eye Movement) เป็นองค์ประกอบทางสรีระเบื้องต้นที่จะช่วยฝึก ความเร็วในการอ่าน สรุปได้ว่า องค์ประกอบของความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจแบ่งได้เป็น 2 ด้านใหญ่ๆ คือ องค์ประกอบ ภายนอกตัวผู้อ่านซึ่งเกี่ยวข้องกับความรูทางภาษาศาสตร์ ความรู้เดิมความรู้เกี่ยวกับ ้ สิ่งแวดล้อมรอบตัวผู้อ่าน รวมทั้งความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการอ่านและองค์ประกอบภายในตัวผู้อ่านซึ่งเกียวข้อ ่ กับสายตา การเคลื่อนไหวสายตาและกระบวนการคิด 4.ระดับของความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจ ในการจาแนกระดับความเข้าใจในการอ่านมีนักการศึกษา จาแนกไว้ตั้งแต่ระดับที่มีความ ซับซ้อนน้อยไปจนถึงระดับความซับซ้อนมาก ดังนี้ ดัลล์แมนและคณะ (Dallman and Others,1978 อ้างถึงในปานทิพย์ ปัตถาวะโร, 2549: 22) ได้ จาแนกพฤติกรรมความเข้าใจในการอ่านออกเป็น 3 ระดับ ดังนี้ 1. ความเข้าใจระดับข้อเท็จจริง หมายถึง ความเข้าใจในสิ่งที่กล่าวไว้ตรงๆ ในเรื่องที่อ่าน ทักษะ ย่อย ได้แก่ การรู้ความหมายของคา การหาใจความสาคัญ การหารายละเอียด การอ่านเพื่อทาตามคาแนะนา 2. ความเข้าใจในระดับการตีความ หมายถึง ความสามารถในการเข้าใจสิ่งที่ไม่ได้กล่าวไว้ตรงๆ ในเนื้อเรื่องแต่จะใช้ความสามารถในการสรุปอ้างอิง และลงความเห็น ทักษะย่อยในขั้นนี้ ได้แก่ การเข้าใจ สานวนภาษาวิจารณ์ตัวละครจากเรื่องที่อ่าน การได้มาซึ่งข้อสรุป 3. ความเข้าใจระดับการประเมินค่า หมายถึง การประเมินค่าสิ่งที่อ่านโดยไม่ได้มุ่งจับผิดแต่ขึ้นอยู่ กับการใช้ข้อมูลหรือองค์ประกอบจากการอ่านมาพิจารณาอย่างมีเหตุผลโดยใช้ความรู้และประสบการณ์ใน เรื่องนั้นเป็นเกณฑ์มาตรฐานเพื่อตัดสินการชี้วัตถุประสงค์ของผู้เขียน การสรุปประโยชน์หรือข้อคิดที่ได้จาก เรื่อง ริเช็ค และคณะ (Richeck and Others, 1996 , อ้างถึงใน มณีรัตน์ สุกโชติรัตน์, 2548 : 224) กล่าว ว่าระดับของการอ่าน (Levels of Reading Performance or Levels of Student Functioning in Reading) คือ ระดับความสัมฤทธิ์ทางการอ่านของผู้อ่านแต่ละคน ซึ่งวัดจากแบบทดสอบความรู้ทางศัพท์ และการอ่านเข้า ใจความที่ครูสร้างขึ้นเองแต่ถ้าครูพิจารณาแล้วว่าความสามารถทางการอ่านของนักเรียนอยู่ในระดับต่ากว่า ระดับชั้นของตนเองครูอาจมอบหมายหนังสือ/บทอ่านในระดับต่ากว่าหรือง่ายกว่า ระดับการอ่านแบ่ง ออกเป็นระดับต่างๆ ดังนี้ 1. ระดับอิสระ (Independent Level) คือ ระดับการอ่านขั้นสูงสุดที่นักเรียนสามารถอ่านอย่าง ง่ายดาย และคล่องแคล่วสามารถอ่านได้เองอย่างอิสระ อ่านด้วยความเข้าใจค่อนข้างสูงและเมื่ออ่านในใจรู้
  • 11. คาศัพท์ ร้อยละ 100 สามารถตอบคาถามระดับตามตัวอักษรได้ถูกต้องร้อยละ 90-100 และสามารถตอบ คาถามระดับสรุปอ้างอิงหรือตีความได้ถูกต้องร้อยละ 90 2. ระดับที่ต้องสอน (Instructional Level) คือ ระดับการอ่านที่ครูจะต้องสอน หมายถึงระดับที่ นักเรียนสามารถอ่านโดยไม่รู้สึกว่ายากหรือง่ายมากนัก อ่านอย่างตรึงเครียด คือ อ่านออกเสียงด้วยความ ถูกต้องร้อยละ 90-95 และเมื่ออ่านในใจรู้คาศัพท์ร้อยละ 90 สามารถตอบคาถามระดับตามตัวอักษรได้ ถูกต้องร้อยละ 80-90 และตอบคาถามระดับสรุปอ้างอิงหรือตีความได้ถูกต้องร้อยละ 70 3. ระดับคับข้องใจ (Frustrational Level) ระดับการอ่านที่นักเรียนอ่านด้วยคายากลาบาก อ่านไม่ คล่อง ไม่เข้าใจ เกิดความคับข้องใจ รู้สึกตรึงเครียด คือ อ่านออกเสียงด้วยความถูกต้องต่ากว่าร้อยละ 90 และ เมื่ออ่านในใจรู้คาศัพท์ต่ากว่าร้อยละ 80 สามารถตอบคาถามระดับตามอักษรได้ถูกต้องต่ากว่าร้อยละ 70 และ ตอบคาถามระดับสรุปอ้างอิงหรือตีความได้ถูกต้อง ร้อยละ 60 4. ระดับความสามารถในการฟัง (Listening Capacity or Potential Level) คือระดับสูงสุดที่ นักเรียนจะสามารถเข้าใจเนื้อหาได้เมื่อมีผู้อ่านให้ฟัง กล่าวคือ เมื่อนักเรียนอ่านเองด้วยความคับข้องใจครูจะ ช่วยโดยการอ่านให้ฟังและเมื่อตอบคาถามนักเรียนจะสามารถตอบคาถามได้ถูกต้องร้อยละ 75