SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  9
ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วย
"ความหมายและอุดมการณ์ของครู"
ค รู เป็ น บุ ค ค ล ที่ มี ค ว า ม ส า คั ญ ที่ สุ ด ใ น ว ง ก า ร ศึ ก ษ า
เพราะเป็นผู้ที่ก่อให้เกิดองค์ความรู้ อันจะเป็นประโยชน์ต่อสังคม
และโลก นอกจากนั้นยังเป็นผู้มีอิทธิพลต่อการสร้างบัณฑิตอย่างมาก
บั ณ ฑิ ต จ ะ มี ค ว า ม คิ ด ที่ ดี มี วิ ธี ก า ร วิ เค ร า ะ ห์ อ ย่ าง ถู ก ต้ อ ง
แ ล ะ มี ร ะ บ บ ร ะ เ บี ย บ ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น
ต ล อ ด จ น ก าร พั ฒ น าบุ ค ลิ ก ภ าพ เชิ ง วิช าก าร เชิ งวิ ช า ชี พ
ซึ่งควรได้รับการปลูกฝังอบรมจากครูผู้สอน และบุคลิกภาพของครู
ย่อมส่งผลไปสู่บัณฑิตดังคากล่าวที่ว่า “อยากรู้ว่าตัวครูเป็นฉันใด
จงดูได้จากศิษย์ที่สอนมา” (ม.ล. ปิ่น มาลากุล)
ครูจึงจาเป็นต้องพัฒนาจิตสานึกของความเป็นครู เพราะครูหรืออาจารย์
จาเป็นต้องมีข้อกาหนดอยู่ในใจ เพื่อให้มีหลักในการดารงตนให้เป็นครู
สิ่งแรกที่ควรจะพัฒนาก็คือ การสร้างคุณธรรมหรือครุธรรมให้เกิดขึ้น
ซึ่ ง ค ว า ม เป็ น จ ริ ง นั้ น “ค รุ ธ ร ร ม ” คื อ ธ ร ร ม ส า ห รั บ ค รู
เป็ น สิ่ ง ที่ ค รู ห ล า ย ท่ า น ท ร า บ แ ล ะ ไ ด้ ป ฏิ บั ติ แ ล้ ว
แต่ก็มีอีกหลายท่านที่ทั้งไม่ทราบและไม่ปฏิบัติ
ครุธรรมเป็นสิ่งที่จาเป็นมากสาหรับการดาเนินอาชีพครูอันเป็นอาชีพที่มีเ
กี ย ร ติ เป็ น อ า ชี พ ที่ ค น ทั่ ว ไ ป ย ก ย่ อ ง แ ล ะ ถื อ ว่ า
เป็ น อ าชี พ ที่ ส าคั ญ ใ น ก าร พั ฒ น า สั งค ม ห รื อ ป ร ะ เท ศ ช า ติ
ค รู ที่ ข า ด ค รุ ธ ร ร ม จ ะ เป รี ย บ เส มื อ น เรื อ ที่ ข า ด ห า ง เสื อ
ดังนั้ น ก าร จ ะ พ าศิ ษ ย์ ไ ป สู่ จุด ห ม าย ป ล าย ท างอ ย่างถู ก ต้ อ ง
ย่อมเป็นสิ่งที่ทาได้ยากอย่างแน่นอน
ท่ า น พุ ท ธ ท า ส ก ล่ า ว อ ยู่ เส ม อ ว่ า “ธ ร ร ม ” คื อ ห น้ า ที่
ผู้ที่ มี ธร ร มะ คื อผู้ ที่ ป ฏิบั ติ ห น้ าที่ อ ย่างดี แล้ว ค รุธร ร ม จึงเป็ น
“หน้าที่สาหรับครู” ซึ่งครูส่วนใหญ่ทุกคนย่อมทราบดีว่า “หน้าที่ของครู
ก็ คื อ ก า ร อ บ ร ม สั่ ง ส อ น ศิ ษ ย์ ”
แต่การอบรมสั่งสอนศิษย์ของครูแต่ละคนก็มีการปฏิบัติที่แตกต่างกัน
ค รู บ า ง ค น ก็ อ า จ จ ะ คิ ด ว่ า ห น้ า ที่ ข อ ง ค รู คื อ
สอ น วิช าก าร ที่ ต น ไ ด้ รั บ มอ บ ห ม ายใ ห้ สอ น แ ต่ อีก ห ล าย ๆ
คนก็คิดว่าครูควรทาหน้าที่คนให้เป็นคนที่สมบูรณ์นอกเหนือจากการสอ
นวิชาการ ความคิดที่แตกต่างกันไม่ใช่เรื่องแปลกในสังคมมนุษย์ ดังนั้น
จึงเป็นหน้าที่ของครูที่จะต้องพิจารณาเลือกหน้าที่ที่ตนเห็นว่าถูกต้องสม
บู ร ณ์ ที่ สุ ด ข อ ง ก า ร มี อ า ชี พ ค รู เพ ร าะ ค ว า ม เป็ น จ ริ ง นั้ น
ค รู มิ ไ ด้ ส อ น แ ต่ ห นั ง สื อ อ ย่ า ง เดี ย ว แ ต่ ต้ อ ง ส อ น ค น
ให้เป็นบัณฑิตที่สมบูรณ์ด้วย
การที่ครูจะปฏิบัติหน้าของครูอย่างเต็มศักดิ์ศรีและเต็มความภาคภูมิได้นั้
น
ครูจาเป็นต้องมีหลักยึดเพื่อนาตนไปสู่สิ่งที่สูงสุดหรือเป็นอุดมคติของอาชี
พ นั่ น ก็ คื อ ก า ร มี อุ ด ม ก า ร ณ์ ค รู อุ ด ม ก า ร ณ์ ค รู
มีหลักการที่จะยึดไว้ประจาใจทุกขณะที่ประกอบภารกิจของครูมีอยู่ 5
ประการ ดังนี้
1.เต็มรู้
2.เต็มใจ
3.เต็มเวลา
4.เต็มคน
5.เต็มพลัง
---------------------------
1. เต็มรู้ คือ มีความรู้บริบูรณ์
อาชีพ ครูเป็น อาชีพ ที่ต้องถ่ายทอด อธิบายให้ความรู้แก่ค น
ดั ง นั้ น ค รู ทุ ก ค น จ ะ ต้ อ ง เป็ น ผู้ ที่ ท า ใ ห้ ต น เอ งนั้ น บ ริ บู ร ณ์
ห รื อ เ ต็ ม ไ ป ด้ ว ย ค ว า ม รู้
ครูควรจะทาให้บริบูรณ์ในตัวครูประกอบด้วยความรู้ 3 ประการ คือ
1. ค ว า ม รู้ ด้ า น วิ ช า ก า ร แ ล ะ วิ ช า ชี พ
ครูค วรเสาะแสวงหาความรู้ รวบรวมข้อมูลโดยการอ่าน ก ารฟัง
แ ล ะ พ ย า ย า ม น า ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ใ ห ม่ ๆ
เพื่ อ มาถ่ าย ท อ ด ใ ห้ ผู้เรี ยน ข อ งต น ไ ด้ เกิ ด ค วาม รู้ที่ ทั น ส มั ย
ดังนั้นครูจะต้องแสวงหาความรู้ที่เป็นประโยชน์และเหมาะสมให้ผู้เรียน
เรียนอย่างครบถ้วนเหมาะสมตามระดับความรู้นั้น
2. ค ว า ม รู้ เ รื่ อ ง โ ล ก
ค รู ค ว ร มี ค ว า ม รู้ แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ชี วิ ต อ ย่ า ง เพี ย ง พ อ
เพื่อสามารถอธิบายบอกเล่า ถ่ายทอด ทัศนคติ ความเชื่อ วัฒนธรรม
ป ร ะ เ พ ณี ที่ ดี ง า ม ข อ ง ช า ติ ข อ ง สั ง ค ม ไ ป สู่ ศิ ษ ย์
ครูค วรเข้าใจ ชีวิต อย่างเพียงพ อที่จ ะให้ค าแน ะน า คาสั่งสอน
เพื่ อ ใ ห้ ศิ ษ ย์ ไ ด้ ด า เนิ น ชี วิ ต ที่ ดี ใ น อ น า ค ต ไ ด้ ดั ง นั้ น
นอกเหนือจากตาราวิชาการ ครูแสวงหาความรู้รอบตัวด้านอื่น ๆ
ให้บริบูรณ์ โดยเฉ พาะความเป็นไปของระเบียบ ประเพ ณี สังค ม
วัฒนธรรม
3. ความรู้เรื่องธรร มะ ครูควรมีสิ่งยึด เห นี่ยวใน จิตใ จ
เพื่อที่จะสามารถอบรมสั่งสอนให้ศิษย์มีความคิดที่ดี มีความประพฤติดี
ไ ม่ ว่ า ค รู จ ะ นั บ ถื อ ศ า ส น า ใ ด ก็ ต า ม
ทุ ก ศ า ส น า มี จุ ด ห ม า ย เดี ย ว กั น คื อ มุ่ ง ใ ห้ ค น เป็ น ค น ดี
ครูที่มีความรู้ด้านธรรมะจะสามารถหยิบยกเรื่องธรรมะมาเป็นอุทาหรณ์
ส า ห รั บ สั่ ง ส อ น ศิ ษ ย์ ไ ด้ เ ช่ น
จะ สอน ใ ห้ศิษย์ป ระ สบ ผลสาเร็จ ด้ าน ก ารศึก ษา เล่าเรียน ไ ด้ดี
ก็ยกหัวข้อธรรมะ อย่างอิทธิบาท 4 คือ
1.พอใจในการศึกษา รักและสนใจในวิชาที่ตนเรียน
2.มีความเพียรที่จะเรียน ไม่ย่อท้อ
3.เอาใจใส่ในบทเรียน การบ้าน รายงาน
4. หมั่นทบทวนอยู่เสมอ
ถ้าศิษย์เข้าใจและนาไปปฏิบัติได้ก็ย่อมทาให้ศิษย์ประสบความสาเร็จใน
การศึกษานอกจากที่ครูจะต้องทาตนให้บริบูรณ์ด้วยธรรมะเพื่อไปสอนศิ
ษ ย์
ครูก็จะได้รับประโยชน์จากการศึกษาธรรมะเพื่อให้ครูไม่หวั่นไหวต่อกิเล
ส อั น ท า ใ ห้ จิ ต ข อ ง ค รู ต้ อ ง เ ป็ น ทุ ก ข์ เ ศ ร้ า ห ม อ ง
ครูก็ย่อมจะเบิกบานและได้รับความสุขที่จะได้สอนคนในเรื่องต่าง ๆ
อีกด้วย การศึกษาธรรมะจึงจาเป็นสาหรับอาชีพครู
-------------------------------------------
2. เต็มใจ คือ ความมีใจเป็นครู
พุ ท ธ ศ า ส น า ถื อ ว่ า “ใ จ นั้ น แ ห ล ะ เ ป็ น ใ ห ญ่
ทุ ก สิ่ ง ทุ ก อ ย่ า ง เ กิ ด จ า ก ใ จ ทั้ ง นั้ น ” ดั ง นั้ น
ค น จ ะ เ ป็ น ค รู ที่ มี อุ ด ม ก า ร ณ์ จ า เ ป็ น ต้ อ ง ส ร้ า ง ใ จ
ให้เป็นใจที่เต็มบริบูรณ์ด้วยการ มีใจเป็นครู การทาใจให้เต็มนั้นมี
มีความหมาย 2 ประการคือ ใจ ค รู ก าร ท าใ จ ใ ห้เต็มบ ริบู ร ณ์ นั้ น
จะต้องถึงพร้อมด้วยองค์ประกอบดังนี้
1. รั ก อ า ชี พ ค รู ต้ อ ง มี ทั ศ น ค ติ ที่ ดี ต่ อ อ า ชี พ
เห็นว่าอาชีพครูมีประโยชน์ มีเกียรติ มีกุศล ได้บุญ ได้ความภูมิใจ
และพอใจที่จะสอนอยู่เสมอ พยายามที่จะแสวงหาวิธีสอนที่ดีเพื่อศิษย์
2. รักศิษย์ มีใจคิดอยากให้ศิษย์ พ้นจากสิ่งที่ไม่พึงปรารถนา
ค รู ต้ อ ง มี ใ จ นึ ก อ ย า ก ใ ห้ ทุ ก ค น มี ค ว า ม สุ ข
พยายามชี้แนะหนทางสู่ความสาเร็จและความสุขให้แก่ศิษย์
ยินดีหรือมีมุทิตาจิต เมื่อเห็นศิษย์ป ระสบค วามก้าวห น้าใน ชีวิต
ความรักศิษย์ย่อมทาให้ครูสามารถทุ่มเทและเสียสละเพื่อศิษย์ได้ใจสูง
ค รู ค ว ร พ ย า ย า ม ท า ใ จ ใ ห้ สู ง ส่ ง มี จิ ต ใ จ ที่ ดี ง า ม
การจะวัดใจเราว่าสูงหรือไม่ มีข้อที่ลองถามตัวเองได้หลายประการ เช่น
1. ท างาน อยู่ที่ใ ด ท่านมัก จะด่าว่านิน ท า เจ้าน ายแห่งนั้น
หรือดูถูกสถาบันหรือเปล่า
2. ท่ า น มั ก จ ะ คิ ด ว่ า เ พื่ อ น ๆ
ร่วมงานของท่านนิสัยไม่ดีส่วนใหญ่หรือเปล่า
3. ทาไมท่านก็ทาดี แต่เจ้านายไม่เห็น
4. ทาไมคนอื่น ๆ จึงโง่และเลว
5. ท่ า น ย อ ม ไ ม่ ไ ด้ ที่ จ ะ ใ ห้ ค น อื่ น ดี ก ว่ า
เพราะท่านคิดว่าท่านดีกว่าคนอื่น
6. ทาไมที่ทางานของท่าน จึงเอาเปรียบท่านและกีดกันท่านตลอด
ก า ร ท า จิ ต ใ จ ใ ห้ สู ง ก็ คื อ
การที่มองเห็นคุณค่าของมนุษย์โลกและการคิดที่จะสร้างสรรค์ให้โลกมีแ
ต่ สิ่ ง ที่ ดี ง า ม ม อ ง โ ล ก แ ล ะ ค น ใ น แ ง่ ดี ใ จ ก ว้ า ง
ยอมรับข้อดีและข้อเสียของตนเองและคนอื่นไม่คิดว่าตนเองฉลาด
ห รื อ เ ก่ ง ก ว่ า ผู้ ใ ด ไ ม่ คิ ด ว่ า ต น เ อ ง ดี ก ว่ า ค น อื่ น
คิดเสมอว่าจะช่วยให้คนมีความรู้มีความคิดและความประพฤติปฏิบัติที่ดี
คิดอย่างเป็นธรรมว่าตนเองมีข้อบกพร่องเช่นกัน
------------------------------------
3. เต็มเวลา คือ การรับผิดชอบ การทุ่มเทเพื่อการสอน
ครูที่มีอุดมการณ์ จะต้องใช้ชีวิตครูอย่างเต็มเวลาทั้ง 3 ส่วน คือ
1. งานสอน ครูต้องใช้เวลาในการเตรียมการสอนอย่างเต็มที่
วางแผนการสอนค้นคว้าหาวิธีการที่จะสอนศิษย์ในรูปแบบต่าง ๆ
และในขณ ะที่ดาเนินการสอนต้องสอนให้ครบตามเวลาที่กาหนด
เข้าสอนตรงเวลา เลิกสอนให้ตรงเวลา
2. ง า น ค รู น อ ก เ ห นื อ ไ ป จ า ก ก า ร ส อ น
ครูต้องให้เวลาแก่งานด้าน ต่าง ๆ เช่น งาน ธุระการ งานบริห าร
บริการและงานที่จะทาให้สถาบันก้าวหน้า
3. งานนักศึกษา ให้เวลา ให้การอบรม แนะนาสั่งสอนศิษย์
เมื่ อ ศิ ษ ย์ ต้ อ งก าร ค า แ น ะ น า ห รื อ ต้ อ งก าร ค วา มช่ วย เห ลื อ
ไม่ว่าในเวลาทางานหรือนอกเวลาทางาน ครูควรมีเวลาให้ศิษย์
----------------------------------------
4. เต็มคน คือ การพัฒนาตนเองให้มีความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
การพัฒนาตนเองให้มีความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์โดยที่ครูเป็นแม่พิ
มพ์หรือพ่อพิมพ์ที่คนในสังคมคาดหวังไว้สูง และมีอิทธิพลต่อผู้เรียนมาก
ครูจึงจาเป็นที่ต้องมีความบริบูรณ์ในความเป็นมนุษย์ทั้งร่างกาย จิตใจ
อ า ร ม ณ์ สั ง ค ม ค รู จึ ง ค ว ร ส า ร ว ม ก า ย ว า จ า
ใจให้มีความมั่นคงเป็นแบบอย่างที่ดีงามในการแสดงออกทั้งในและนอก
ห้ อ งเรี ย น ก าร ที่ จ ะ ท าใ ห้ ต น เอ ง เป็ น ค น ที่ เต็ ม บ ริ บู ร ณ์ ไ ด้
คน ผู้นั้นควรเป็นคนที่ดีมีความคิดที่ถูกต้องเห็นสิ่งที่ดีงามถูกต้อง
มีการพูดที่ดี มีการงานที่ดี มีการดาเนินชีวิตที่ดี ปฏิบัติการถูกต้อง
ห มั่ น คิ ด พิ จ า ร ณ า ต น เ อ ง
เพื่อหาทางแก้ไข้ปรับปรุงตนเองให้มีความบริบูรณ์อยู่เสมอ
----------------------------------------
5. เต็มพลัง คือ การทุ่มเทพลังสติปัญญาและความสามารถเพื่อการสอน
ครูจะต้องใช้ความสามารถอย่างเต็มที่ ทุ่มเทไปเพื่อการสอน
เพื่ อ วิ ช า ก า ร เพื่ อ ศิ ษ ย์ ค รู ต้ อ ง อุ ทิ ศ ต น อ ย่ า ง เต็ ม ที่
ท างาน อ ย่างไ ม่คิ ด อ อม แ ร ง เพื่ อ ผ ลงาน ที่ ส มบู ร ณ์ นั้ น ก็ คื อ
ก า ร ปั้ น ศิ ษ ย์ ใ ห้ มี ค ว า ม รู้ ค ว า ม ป ร ะ พ ฤ ติ ง ด ง า ม
เป็นที่พึงประสงค์ของสังคม
ครูที่มีห ลักยึดไป ค รบเต็ม 5 ป ระการนี้ ย่อมเป็น ค รูที่มีค รุธรร ม
ที่ พ ร้ อ ม จ ะ เป็ น ผู้ ชี้ ท า ง แ ห่ ง ปั ญ ญ า ชี้ ท า ง แ ห่ ง ชี วิ ต
แ ล ะ ชี้ ท า ง แ ห่ ง สั ง ค ม ใ น อ น า ค ต ไ ด้ เ ป็ น อ ย่ า ง ดี
ดังนั้นครูควรสร้างอุดมการณ์ครู เพื่อความก้าวหน้าของสังคมไทย
และการพัฒนาวิชาชีพครู
>>>>>>>>>>>>>>>>
• หลักสิบประการของความเป็นครูดี
1. มุ่งมั่นวิชาการ
ค รู มี บ ท บ า ท ห น้ า ที่ ใ น ก า ร เ ส า ะ แ ส ว ง ห า ค ว า ม รู้
เพื่อนาไปถ่ายทอดให้แก่ศิษย์ที่จาเป็นสาหรับครู คือ
1. ศาสตร์ที่จะสอน
ครูต้องติดตามความก้าวหน้าของวิชาที่จะถ่ายทอด จากหนังสือ เอกสาร
วารสาร ตามสื่อต่าง ๆ ตลอดจนเข้าประชุมเพื่อรับรู้ความคิดใหม่ ๆ
ข้ อ ค้ น พ บ ที่ ข ย า ย ค ว า ม รู้ อ อ ก ไ ป อ ย่ า ง ไ ม่ มี ที่ สิ้ น สุ ด
จึงจาเป็นอย่างยิ่งที่ครูจะเตรียมพร้อมให้ตนเองมีความรู้ทันสมัยต่อเหตุก
ารณ์
2. ศาสตร์การสอน
แม้ค รูจะมีความรู้ดีใน ศาสตร์สาขาที่ชานาญ แต่ความรู้เห ล่านั้น
จ ะ ไ ม่ มี ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ วิ ช า ชี พ ค รู แ ม้ แ ต่ น้ อ ย
หากค รูยังข าด ค วามรู้เรื่องข องก ารถ่ายท อด วิชาก าร เห ล่านั้น
ค รู จึ ง จ า เ ป็ น ต้ อ ง ติ ด ต า ม ศึ ก ษ า ค้ น ค ว้ า
ให้ทันต่อการก้าวหน้าของศาสตร์การสอนเพื่อค้นหาวิธีการที่จะอธิบาย
หรือถ่ายทอดให้ศิษย์เข้าใจสาระต่าง ๆ
3. ศาสตร์การพัฒนาคน
โดยที่อาชีพครู เป็นอาชีพสร้างคนที่มีศักยภาพให้แก่ประเทศชาติ
ผู้ ส ร้ า ง จึ ง จ า เ ป็ น ต้ อ ง เ อ า ใ จ ใ ส่
และถือเป็นหน้าที่ที่จะต้องพัฒนาคนให้มีความพร้อมด้านวิชาการ
วิชาชีพ และการดารงค์ตนให้เป็นคนดีที่สังคมปรารถนา
-------------------------
2. รักงานสอน
ครูต้องมีความศรัทธาต่อวิชาชีพของตน ต้องมีความรักการสอน
ส น ใ จ ที่ จ ะ พั ฒ น า ก า ร ส อ น ใ ห้ น่ า ส น ใ จ
เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง วิ ธี ก า ร ส อ น เ พื่ อ ใ ห้ ไ ด้ ผ ล
รู้จักวิธีถ่ายทอดที่ทาให้ผู้เรียนเข้าใจง่ายให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาการเรี
ย น ข อ ง ต น เ อ ง ใ ห้ รู้ จั ก วิ ธี เ รี ย น
เรียนด้วยความสุขและรับรู้สาระในศาสตร์ที่ครูสอน
-----------------------------
3. อาทรศิษย์
ค รู ต้ อ ง เม ต ต า รั ก เข้ า ใ จ แ ล ะ เอ า ใ จ ใ ส่ ดู แ ล ลู ก ศิ ษ ย์
ห่วงใยว่าจะประสบความสาเร็จหรือไม่ ช่วยแก้ไขปัญหาต่าง ๆ
ที่ ลูก ศิ ษ ย์ ป ร ะ ส บ ใ ห้ เกี ย ร ติ แล ะ ย อม รับ ใ น ค วาม แ ต ก ต่า ง
ไ ม่ ดู ถู ก ห รื อ เ ยี ย บ ย้ า ลู ก ศิ ษ ย์
ให้การช่วยเหลือทั้งทางด้านการเรียนและชีวิต
----------------------------
4. คิดดี
ครูต้องมีค วามคิด ที่ดี ค วามคิด ที่เป็น บ วก ต่อศิษย์ ต่อก ารสอน
ต่ อวิ ช าชี พ ต่ อ ส ถ าบั น แ ล ะ ต่ อ เพื่ อ น ร่ วม งาน คิ ด ใ น สิ่ งที่ ดี
และให้คิดอยู่เสมอว่า อาชีพครูเป็นอาชีพ ที่มีคุณ ค่าที่สุด เป็นต้น
ความคิดที่เป็นบวกจะช่วยให้ครูทางานอย่างมีประสิทธิภาพ
----------------------------
5. มีคุณธรรม
ความมีคุณธรรมของครูมีความจาเป็นต่อวิชาชีพครู คุณธรรมที่สาคัญ
ไ ด้ แ ก่ ค ว า ม ยุ ติ ธ ร ร ม ด้ า น ก า ร ส อ น ก า ร ป ร ะ เมิ น ผ ล
ความต้องการให้ลูก ศิษย์ป ระสบ ผลสาเร็จ ครูต้องมีความอดท น
ระงับอารมณ์ได้ดี ไม่ทาร้ายคน เสียสละ มีความอายที่จะกระทาผิด
แ ล ะ มี ห ลั ก ศ า ส น า ยึ ด มั่ น
มีความตั้งใจแน่วแน่ที่จะประพฤติตนให้ถูกต้องตามระเบียบประเพณีและ
วัฒนธรรมของสังคมนั้น ๆ
----------------------------
6. ชี้นาสังคม
ค รูต้ อ งช่ ว ย ชี้ น าสั ง ค ม น า ใ น สิ่ งที่ ถู ก ต้ อ ง ช่ ว ย แ ก้ ปั ญ ห า
ท า ต น เป็ น ตั ว อ ย่ า ง เช่ น เรื่ อ ง ข อ ง ข ย ะ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม
แ ล ะ ก า ร ป ร ะ ห ยั ด พ ลั ง ง า น ช่ ว ย ชุ ม ช น ใ น ด้ า น ต่ า ง ๆ
ทั้ ง ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า เ พื่ อ คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ที่ ดี ข อ ง สั ง ค ม
และการช่วยนาสังคมให้เป็นสังคมที่ดีงาม
------------------------------
7. อบรมจิตใจ
การพัฒนาผู้เรียนเป็นสิ่งสาคัญ ครูจึงต้องช่วยให้ข้อคิดที่ดี อบรม
ตั ก เตื อ น สั่ งส อ น ใ ห้ ศิ ษ ย์ ป ร ะ พ ฤ ติ ดี ด า ร ง อ ยู่ ใ น ศี ล ธร ร ม
ห น้ าที่ ข อ งค รูจึงไ ม่ใ ช่เป็น เรื่องข องก าร สอน ห นั งสือเท่านั้ น
แต่จะต้องอบรมจิตใจให้มีคุณธรรม จริยธรรมอยู่เสมอ
----------------------------
8. ใฝ่ความก้าวหน้า
ก าร ไ ม่ ห ยุ ด นิ่ งอ ยู่ กั บ ที่ รั ก ที่ จ ะ ช่ ว ย ใ ห้ ป ร ะ เท ศ ก้ าว ห น้ า
เผยแพร่ผลงานวิชาการให้แก่ชุมชนไม่หยุดยั้งครูจะต้องทาให้ชีวิตของ
ค รูก้ าวต่อไ ป เพื่ อที่จ ะ ท าป ระ โยช น์ใ ห้แก่ต น เอง ศิษ ย์ สังค ม
และประเทศชาติ
-------------------------------
9. วาจางาม
คาพูดเป็นสิ่งที่สาคัญที่จะทาให้การเรียนการสอนดาเนินไปอย่างประสบ
ความสาเร็จคาพูดที่ดีย่อมทาให้ผู้เรียนเกิดกาลังใจ มีความมุมานะ
ในทางตรงกันข้าม คาพูดไม่ดี ย่อมทาให้ผู้ฟังเกิดความทุกข์ ไม่สบายใจ
แ ล ะ ท า ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม ท้ อ ถ อ ย ไ ม่ อ ย า ก เ รี ย น
ค รู จึ ง ต้ อ ง ฝึ ก ก า ร พู ด ใ ห้ ถู ก ต้ อ ง ต า ม ก า ล เ ท ศ ะ
ฝึกการพูดเพื่อจูงใจและส่งเสริมทาให้ศิษย์เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรร
มไปในทางที่ดีงามและถูกต้อง
----------------------------------
10. รักความเป็นไทย
สถาบันการศึกษาเป็นศูนย์กลางการพัฒนาคนให้เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่
สาคัญของประเทศชาติ ดังนั้น ครูจึงต้องส่งเสริมพัฒนาเอกลักษณ์ไทย
เพื่อให้ศิษย์เป็นผู้ธารงรักษาเอกลักษณ์ไทยเอาไว้โดยเฉพาะในยุคโลกา
ภิวัตน์ ค วามมีเอกลักษณ์เฉ พาะตนจ าเป็นต้องธารงไว้ให้มั่นค ง
แม้ว่าเทคโนโลยีจะพัฒนาไปได้ไกล จนทาให้แต่ละชาติสามารถติดต่อ
รั บ รู้ แ ล ะ ถ่ า ย ท อ ด วั ฒ น ธ ร ร ม ซึ่ ง กั น แ ล ะ กั น ไ ด้ ก็ ต า ม
แต่ ลั ก ษ ณ์ เฉ พ าะ ข อ งค น ใ น ช าติ เช่ น เรื่อ งข อ งค วา มเชื่ อ
วัฒนธรรมประเพณีที่ดีงาม ควรช่วยกันสืบสาน ส่งเสริม และธารงไว้
เพื่อทาให้เยาวชนเกิดความรัก ความภาคภูมิใจในความเป็นไทย
ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วย

Contenu connexe

Tendances

จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู
จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู
จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู นายจักราวุธ คำทวี
 
เอกสารบรรยายความก้าวหน้าวิชาชีพครู (บ้านสอบครู อ.บวร)
เอกสารบรรยายความก้าวหน้าวิชาชีพครู (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความก้าวหน้าวิชาชีพครู (บ้านสอบครู อ.บวร)
เอกสารบรรยายความก้าวหน้าวิชาชีพครู (บ้านสอบครู อ.บวร)สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551Panlop
 
6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูok6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูokTophit Sampootong
 
Utq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผลUtq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผลkrusoon1103
 
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรวิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรnakkee
 
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้คน ขี้เล่า
 
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558pakpoom khangtomnium
 
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียนUtq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียนkrusoon1103
 
คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์
คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์
คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์pimkhwan
 
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553Kobwit Piriyawat
 
ประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีMontree Jareeyanuwat
 
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพokTophit Sampootong
 
บันทึกความดีศิริวุฒิ 1 55
บันทึกความดีศิริวุฒิ 1 55บันทึกความดีศิริวุฒิ 1 55
บันทึกความดีศิริวุฒิ 1 55Sircom Smarnbua
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖อรุณโรจน์ ศรีเจริญโชติ
 
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดีแบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดีเทวัญ ภูพานทอง
 

Tendances (19)

จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู
จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู
จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู
 
เอกสารบรรยายความก้าวหน้าวิชาชีพครู (บ้านสอบครู อ.บวร)
เอกสารบรรยายความก้าวหน้าวิชาชีพครู (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความก้าวหน้าวิชาชีพครู (บ้านสอบครู อ.บวร)
เอกสารบรรยายความก้าวหน้าวิชาชีพครู (บ้านสอบครู อ.บวร)
 
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551
 
6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูok6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูok
 
สรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษาสรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษา
 
Utq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผลUtq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผล
 
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรวิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
 
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
 
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558
 
Id plan
Id planId plan
Id plan
 
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียนUtq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
 
คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์
คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์
คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์
 
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
 
ประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีประวัติมนตรี
ประวัติมนตรี
 
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
 
บันทึกความดีศิริวุฒิ 1 55
บันทึกความดีศิริวุฒิ 1 55บันทึกความดีศิริวุฒิ 1 55
บันทึกความดีศิริวุฒิ 1 55
 
กฏหมาย
กฏหมายกฏหมาย
กฏหมาย
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖
 
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดีแบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
 

Similaire à ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วย

บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7benty2443
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7nattawad147
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524gam030
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7wanneemayss
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยPiyatida Prayoonprom
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจShe's Kukkik Kanokporn
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยVs'veity Sirvcn
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยVs'veity Sirvcn
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยNoppasorn Boonsena
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยBeeby Bicky
 

Similaire à ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วย (20)

อาชีพครู
อาชีพครูอาชีพครู
อาชีพครู
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 

ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วย

  • 1. ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วย "ความหมายและอุดมการณ์ของครู" ค รู เป็ น บุ ค ค ล ที่ มี ค ว า ม ส า คั ญ ที่ สุ ด ใ น ว ง ก า ร ศึ ก ษ า เพราะเป็นผู้ที่ก่อให้เกิดองค์ความรู้ อันจะเป็นประโยชน์ต่อสังคม และโลก นอกจากนั้นยังเป็นผู้มีอิทธิพลต่อการสร้างบัณฑิตอย่างมาก บั ณ ฑิ ต จ ะ มี ค ว า ม คิ ด ที่ ดี มี วิ ธี ก า ร วิ เค ร า ะ ห์ อ ย่ าง ถู ก ต้ อ ง แ ล ะ มี ร ะ บ บ ร ะ เ บี ย บ ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ต ล อ ด จ น ก าร พั ฒ น าบุ ค ลิ ก ภ าพ เชิ ง วิช าก าร เชิ งวิ ช า ชี พ ซึ่งควรได้รับการปลูกฝังอบรมจากครูผู้สอน และบุคลิกภาพของครู ย่อมส่งผลไปสู่บัณฑิตดังคากล่าวที่ว่า “อยากรู้ว่าตัวครูเป็นฉันใด จงดูได้จากศิษย์ที่สอนมา” (ม.ล. ปิ่น มาลากุล) ครูจึงจาเป็นต้องพัฒนาจิตสานึกของความเป็นครู เพราะครูหรืออาจารย์ จาเป็นต้องมีข้อกาหนดอยู่ในใจ เพื่อให้มีหลักในการดารงตนให้เป็นครู สิ่งแรกที่ควรจะพัฒนาก็คือ การสร้างคุณธรรมหรือครุธรรมให้เกิดขึ้น ซึ่ ง ค ว า ม เป็ น จ ริ ง นั้ น “ค รุ ธ ร ร ม ” คื อ ธ ร ร ม ส า ห รั บ ค รู เป็ น สิ่ ง ที่ ค รู ห ล า ย ท่ า น ท ร า บ แ ล ะ ไ ด้ ป ฏิ บั ติ แ ล้ ว แต่ก็มีอีกหลายท่านที่ทั้งไม่ทราบและไม่ปฏิบัติ ครุธรรมเป็นสิ่งที่จาเป็นมากสาหรับการดาเนินอาชีพครูอันเป็นอาชีพที่มีเ กี ย ร ติ เป็ น อ า ชี พ ที่ ค น ทั่ ว ไ ป ย ก ย่ อ ง แ ล ะ ถื อ ว่ า เป็ น อ าชี พ ที่ ส าคั ญ ใ น ก าร พั ฒ น า สั งค ม ห รื อ ป ร ะ เท ศ ช า ติ ค รู ที่ ข า ด ค รุ ธ ร ร ม จ ะ เป รี ย บ เส มื อ น เรื อ ที่ ข า ด ห า ง เสื อ ดังนั้ น ก าร จ ะ พ าศิ ษ ย์ ไ ป สู่ จุด ห ม าย ป ล าย ท างอ ย่างถู ก ต้ อ ง ย่อมเป็นสิ่งที่ทาได้ยากอย่างแน่นอน ท่ า น พุ ท ธ ท า ส ก ล่ า ว อ ยู่ เส ม อ ว่ า “ธ ร ร ม ” คื อ ห น้ า ที่ ผู้ที่ มี ธร ร มะ คื อผู้ ที่ ป ฏิบั ติ ห น้ าที่ อ ย่างดี แล้ว ค รุธร ร ม จึงเป็ น “หน้าที่สาหรับครู” ซึ่งครูส่วนใหญ่ทุกคนย่อมทราบดีว่า “หน้าที่ของครู ก็ คื อ ก า ร อ บ ร ม สั่ ง ส อ น ศิ ษ ย์ ” แต่การอบรมสั่งสอนศิษย์ของครูแต่ละคนก็มีการปฏิบัติที่แตกต่างกัน ค รู บ า ง ค น ก็ อ า จ จ ะ คิ ด ว่ า ห น้ า ที่ ข อ ง ค รู คื อ สอ น วิช าก าร ที่ ต น ไ ด้ รั บ มอ บ ห ม ายใ ห้ สอ น แ ต่ อีก ห ล าย ๆ คนก็คิดว่าครูควรทาหน้าที่คนให้เป็นคนที่สมบูรณ์นอกเหนือจากการสอ นวิชาการ ความคิดที่แตกต่างกันไม่ใช่เรื่องแปลกในสังคมมนุษย์ ดังนั้น จึงเป็นหน้าที่ของครูที่จะต้องพิจารณาเลือกหน้าที่ที่ตนเห็นว่าถูกต้องสม บู ร ณ์ ที่ สุ ด ข อ ง ก า ร มี อ า ชี พ ค รู เพ ร าะ ค ว า ม เป็ น จ ริ ง นั้ น
  • 2. ค รู มิ ไ ด้ ส อ น แ ต่ ห นั ง สื อ อ ย่ า ง เดี ย ว แ ต่ ต้ อ ง ส อ น ค น ให้เป็นบัณฑิตที่สมบูรณ์ด้วย การที่ครูจะปฏิบัติหน้าของครูอย่างเต็มศักดิ์ศรีและเต็มความภาคภูมิได้นั้ น ครูจาเป็นต้องมีหลักยึดเพื่อนาตนไปสู่สิ่งที่สูงสุดหรือเป็นอุดมคติของอาชี พ นั่ น ก็ คื อ ก า ร มี อุ ด ม ก า ร ณ์ ค รู อุ ด ม ก า ร ณ์ ค รู มีหลักการที่จะยึดไว้ประจาใจทุกขณะที่ประกอบภารกิจของครูมีอยู่ 5 ประการ ดังนี้ 1.เต็มรู้ 2.เต็มใจ 3.เต็มเวลา 4.เต็มคน 5.เต็มพลัง --------------------------- 1. เต็มรู้ คือ มีความรู้บริบูรณ์ อาชีพ ครูเป็น อาชีพ ที่ต้องถ่ายทอด อธิบายให้ความรู้แก่ค น ดั ง นั้ น ค รู ทุ ก ค น จ ะ ต้ อ ง เป็ น ผู้ ที่ ท า ใ ห้ ต น เอ งนั้ น บ ริ บู ร ณ์ ห รื อ เ ต็ ม ไ ป ด้ ว ย ค ว า ม รู้ ครูควรจะทาให้บริบูรณ์ในตัวครูประกอบด้วยความรู้ 3 ประการ คือ 1. ค ว า ม รู้ ด้ า น วิ ช า ก า ร แ ล ะ วิ ช า ชี พ ครูค วรเสาะแสวงหาความรู้ รวบรวมข้อมูลโดยการอ่าน ก ารฟัง แ ล ะ พ ย า ย า ม น า ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ใ ห ม่ ๆ เพื่ อ มาถ่ าย ท อ ด ใ ห้ ผู้เรี ยน ข อ งต น ไ ด้ เกิ ด ค วาม รู้ที่ ทั น ส มั ย ดังนั้นครูจะต้องแสวงหาความรู้ที่เป็นประโยชน์และเหมาะสมให้ผู้เรียน เรียนอย่างครบถ้วนเหมาะสมตามระดับความรู้นั้น 2. ค ว า ม รู้ เ รื่ อ ง โ ล ก ค รู ค ว ร มี ค ว า ม รู้ แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ชี วิ ต อ ย่ า ง เพี ย ง พ อ เพื่อสามารถอธิบายบอกเล่า ถ่ายทอด ทัศนคติ ความเชื่อ วัฒนธรรม ป ร ะ เ พ ณี ที่ ดี ง า ม ข อ ง ช า ติ ข อ ง สั ง ค ม ไ ป สู่ ศิ ษ ย์ ครูค วรเข้าใจ ชีวิต อย่างเพียงพ อที่จ ะให้ค าแน ะน า คาสั่งสอน เพื่ อ ใ ห้ ศิ ษ ย์ ไ ด้ ด า เนิ น ชี วิ ต ที่ ดี ใ น อ น า ค ต ไ ด้ ดั ง นั้ น นอกเหนือจากตาราวิชาการ ครูแสวงหาความรู้รอบตัวด้านอื่น ๆ
  • 3. ให้บริบูรณ์ โดยเฉ พาะความเป็นไปของระเบียบ ประเพ ณี สังค ม วัฒนธรรม 3. ความรู้เรื่องธรร มะ ครูควรมีสิ่งยึด เห นี่ยวใน จิตใ จ เพื่อที่จะสามารถอบรมสั่งสอนให้ศิษย์มีความคิดที่ดี มีความประพฤติดี ไ ม่ ว่ า ค รู จ ะ นั บ ถื อ ศ า ส น า ใ ด ก็ ต า ม ทุ ก ศ า ส น า มี จุ ด ห ม า ย เดี ย ว กั น คื อ มุ่ ง ใ ห้ ค น เป็ น ค น ดี ครูที่มีความรู้ด้านธรรมะจะสามารถหยิบยกเรื่องธรรมะมาเป็นอุทาหรณ์ ส า ห รั บ สั่ ง ส อ น ศิ ษ ย์ ไ ด้ เ ช่ น จะ สอน ใ ห้ศิษย์ป ระ สบ ผลสาเร็จ ด้ าน ก ารศึก ษา เล่าเรียน ไ ด้ดี ก็ยกหัวข้อธรรมะ อย่างอิทธิบาท 4 คือ 1.พอใจในการศึกษา รักและสนใจในวิชาที่ตนเรียน 2.มีความเพียรที่จะเรียน ไม่ย่อท้อ 3.เอาใจใส่ในบทเรียน การบ้าน รายงาน 4. หมั่นทบทวนอยู่เสมอ ถ้าศิษย์เข้าใจและนาไปปฏิบัติได้ก็ย่อมทาให้ศิษย์ประสบความสาเร็จใน การศึกษานอกจากที่ครูจะต้องทาตนให้บริบูรณ์ด้วยธรรมะเพื่อไปสอนศิ ษ ย์ ครูก็จะได้รับประโยชน์จากการศึกษาธรรมะเพื่อให้ครูไม่หวั่นไหวต่อกิเล ส อั น ท า ใ ห้ จิ ต ข อ ง ค รู ต้ อ ง เ ป็ น ทุ ก ข์ เ ศ ร้ า ห ม อ ง ครูก็ย่อมจะเบิกบานและได้รับความสุขที่จะได้สอนคนในเรื่องต่าง ๆ อีกด้วย การศึกษาธรรมะจึงจาเป็นสาหรับอาชีพครู ------------------------------------------- 2. เต็มใจ คือ ความมีใจเป็นครู พุ ท ธ ศ า ส น า ถื อ ว่ า “ใ จ นั้ น แ ห ล ะ เ ป็ น ใ ห ญ่ ทุ ก สิ่ ง ทุ ก อ ย่ า ง เ กิ ด จ า ก ใ จ ทั้ ง นั้ น ” ดั ง นั้ น ค น จ ะ เ ป็ น ค รู ที่ มี อุ ด ม ก า ร ณ์ จ า เ ป็ น ต้ อ ง ส ร้ า ง ใ จ ให้เป็นใจที่เต็มบริบูรณ์ด้วยการ มีใจเป็นครู การทาใจให้เต็มนั้นมี มีความหมาย 2 ประการคือ ใจ ค รู ก าร ท าใ จ ใ ห้เต็มบ ริบู ร ณ์ นั้ น จะต้องถึงพร้อมด้วยองค์ประกอบดังนี้ 1. รั ก อ า ชี พ ค รู ต้ อ ง มี ทั ศ น ค ติ ที่ ดี ต่ อ อ า ชี พ เห็นว่าอาชีพครูมีประโยชน์ มีเกียรติ มีกุศล ได้บุญ ได้ความภูมิใจ และพอใจที่จะสอนอยู่เสมอ พยายามที่จะแสวงหาวิธีสอนที่ดีเพื่อศิษย์
  • 4. 2. รักศิษย์ มีใจคิดอยากให้ศิษย์ พ้นจากสิ่งที่ไม่พึงปรารถนา ค รู ต้ อ ง มี ใ จ นึ ก อ ย า ก ใ ห้ ทุ ก ค น มี ค ว า ม สุ ข พยายามชี้แนะหนทางสู่ความสาเร็จและความสุขให้แก่ศิษย์ ยินดีหรือมีมุทิตาจิต เมื่อเห็นศิษย์ป ระสบค วามก้าวห น้าใน ชีวิต ความรักศิษย์ย่อมทาให้ครูสามารถทุ่มเทและเสียสละเพื่อศิษย์ได้ใจสูง ค รู ค ว ร พ ย า ย า ม ท า ใ จ ใ ห้ สู ง ส่ ง มี จิ ต ใ จ ที่ ดี ง า ม การจะวัดใจเราว่าสูงหรือไม่ มีข้อที่ลองถามตัวเองได้หลายประการ เช่น 1. ท างาน อยู่ที่ใ ด ท่านมัก จะด่าว่านิน ท า เจ้าน ายแห่งนั้น หรือดูถูกสถาบันหรือเปล่า 2. ท่ า น มั ก จ ะ คิ ด ว่ า เ พื่ อ น ๆ ร่วมงานของท่านนิสัยไม่ดีส่วนใหญ่หรือเปล่า 3. ทาไมท่านก็ทาดี แต่เจ้านายไม่เห็น 4. ทาไมคนอื่น ๆ จึงโง่และเลว 5. ท่ า น ย อ ม ไ ม่ ไ ด้ ที่ จ ะ ใ ห้ ค น อื่ น ดี ก ว่ า เพราะท่านคิดว่าท่านดีกว่าคนอื่น 6. ทาไมที่ทางานของท่าน จึงเอาเปรียบท่านและกีดกันท่านตลอด ก า ร ท า จิ ต ใ จ ใ ห้ สู ง ก็ คื อ การที่มองเห็นคุณค่าของมนุษย์โลกและการคิดที่จะสร้างสรรค์ให้โลกมีแ ต่ สิ่ ง ที่ ดี ง า ม ม อ ง โ ล ก แ ล ะ ค น ใ น แ ง่ ดี ใ จ ก ว้ า ง ยอมรับข้อดีและข้อเสียของตนเองและคนอื่นไม่คิดว่าตนเองฉลาด ห รื อ เ ก่ ง ก ว่ า ผู้ ใ ด ไ ม่ คิ ด ว่ า ต น เ อ ง ดี ก ว่ า ค น อื่ น คิดเสมอว่าจะช่วยให้คนมีความรู้มีความคิดและความประพฤติปฏิบัติที่ดี คิดอย่างเป็นธรรมว่าตนเองมีข้อบกพร่องเช่นกัน ------------------------------------ 3. เต็มเวลา คือ การรับผิดชอบ การทุ่มเทเพื่อการสอน ครูที่มีอุดมการณ์ จะต้องใช้ชีวิตครูอย่างเต็มเวลาทั้ง 3 ส่วน คือ 1. งานสอน ครูต้องใช้เวลาในการเตรียมการสอนอย่างเต็มที่ วางแผนการสอนค้นคว้าหาวิธีการที่จะสอนศิษย์ในรูปแบบต่าง ๆ และในขณ ะที่ดาเนินการสอนต้องสอนให้ครบตามเวลาที่กาหนด เข้าสอนตรงเวลา เลิกสอนให้ตรงเวลา
  • 5. 2. ง า น ค รู น อ ก เ ห นื อ ไ ป จ า ก ก า ร ส อ น ครูต้องให้เวลาแก่งานด้าน ต่าง ๆ เช่น งาน ธุระการ งานบริห าร บริการและงานที่จะทาให้สถาบันก้าวหน้า 3. งานนักศึกษา ให้เวลา ให้การอบรม แนะนาสั่งสอนศิษย์ เมื่ อ ศิ ษ ย์ ต้ อ งก าร ค า แ น ะ น า ห รื อ ต้ อ งก าร ค วา มช่ วย เห ลื อ ไม่ว่าในเวลาทางานหรือนอกเวลาทางาน ครูควรมีเวลาให้ศิษย์ ---------------------------------------- 4. เต็มคน คือ การพัฒนาตนเองให้มีความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ การพัฒนาตนเองให้มีความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์โดยที่ครูเป็นแม่พิ มพ์หรือพ่อพิมพ์ที่คนในสังคมคาดหวังไว้สูง และมีอิทธิพลต่อผู้เรียนมาก ครูจึงจาเป็นที่ต้องมีความบริบูรณ์ในความเป็นมนุษย์ทั้งร่างกาย จิตใจ อ า ร ม ณ์ สั ง ค ม ค รู จึ ง ค ว ร ส า ร ว ม ก า ย ว า จ า ใจให้มีความมั่นคงเป็นแบบอย่างที่ดีงามในการแสดงออกทั้งในและนอก ห้ อ งเรี ย น ก าร ที่ จ ะ ท าใ ห้ ต น เอ ง เป็ น ค น ที่ เต็ ม บ ริ บู ร ณ์ ไ ด้ คน ผู้นั้นควรเป็นคนที่ดีมีความคิดที่ถูกต้องเห็นสิ่งที่ดีงามถูกต้อง มีการพูดที่ดี มีการงานที่ดี มีการดาเนินชีวิตที่ดี ปฏิบัติการถูกต้อง ห มั่ น คิ ด พิ จ า ร ณ า ต น เ อ ง เพื่อหาทางแก้ไข้ปรับปรุงตนเองให้มีความบริบูรณ์อยู่เสมอ ---------------------------------------- 5. เต็มพลัง คือ การทุ่มเทพลังสติปัญญาและความสามารถเพื่อการสอน ครูจะต้องใช้ความสามารถอย่างเต็มที่ ทุ่มเทไปเพื่อการสอน เพื่ อ วิ ช า ก า ร เพื่ อ ศิ ษ ย์ ค รู ต้ อ ง อุ ทิ ศ ต น อ ย่ า ง เต็ ม ที่ ท างาน อ ย่างไ ม่คิ ด อ อม แ ร ง เพื่ อ ผ ลงาน ที่ ส มบู ร ณ์ นั้ น ก็ คื อ ก า ร ปั้ น ศิ ษ ย์ ใ ห้ มี ค ว า ม รู้ ค ว า ม ป ร ะ พ ฤ ติ ง ด ง า ม เป็นที่พึงประสงค์ของสังคม ครูที่มีห ลักยึดไป ค รบเต็ม 5 ป ระการนี้ ย่อมเป็น ค รูที่มีค รุธรร ม ที่ พ ร้ อ ม จ ะ เป็ น ผู้ ชี้ ท า ง แ ห่ ง ปั ญ ญ า ชี้ ท า ง แ ห่ ง ชี วิ ต แ ล ะ ชี้ ท า ง แ ห่ ง สั ง ค ม ใ น อ น า ค ต ไ ด้ เ ป็ น อ ย่ า ง ดี ดังนั้นครูควรสร้างอุดมการณ์ครู เพื่อความก้าวหน้าของสังคมไทย และการพัฒนาวิชาชีพครู >>>>>>>>>>>>>>>> • หลักสิบประการของความเป็นครูดี 1. มุ่งมั่นวิชาการ
  • 6. ค รู มี บ ท บ า ท ห น้ า ที่ ใ น ก า ร เ ส า ะ แ ส ว ง ห า ค ว า ม รู้ เพื่อนาไปถ่ายทอดให้แก่ศิษย์ที่จาเป็นสาหรับครู คือ 1. ศาสตร์ที่จะสอน ครูต้องติดตามความก้าวหน้าของวิชาที่จะถ่ายทอด จากหนังสือ เอกสาร วารสาร ตามสื่อต่าง ๆ ตลอดจนเข้าประชุมเพื่อรับรู้ความคิดใหม่ ๆ ข้ อ ค้ น พ บ ที่ ข ย า ย ค ว า ม รู้ อ อ ก ไ ป อ ย่ า ง ไ ม่ มี ที่ สิ้ น สุ ด จึงจาเป็นอย่างยิ่งที่ครูจะเตรียมพร้อมให้ตนเองมีความรู้ทันสมัยต่อเหตุก ารณ์ 2. ศาสตร์การสอน แม้ค รูจะมีความรู้ดีใน ศาสตร์สาขาที่ชานาญ แต่ความรู้เห ล่านั้น จ ะ ไ ม่ มี ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ วิ ช า ชี พ ค รู แ ม้ แ ต่ น้ อ ย หากค รูยังข าด ค วามรู้เรื่องข องก ารถ่ายท อด วิชาก าร เห ล่านั้น ค รู จึ ง จ า เ ป็ น ต้ อ ง ติ ด ต า ม ศึ ก ษ า ค้ น ค ว้ า ให้ทันต่อการก้าวหน้าของศาสตร์การสอนเพื่อค้นหาวิธีการที่จะอธิบาย หรือถ่ายทอดให้ศิษย์เข้าใจสาระต่าง ๆ 3. ศาสตร์การพัฒนาคน โดยที่อาชีพครู เป็นอาชีพสร้างคนที่มีศักยภาพให้แก่ประเทศชาติ ผู้ ส ร้ า ง จึ ง จ า เ ป็ น ต้ อ ง เ อ า ใ จ ใ ส่ และถือเป็นหน้าที่ที่จะต้องพัฒนาคนให้มีความพร้อมด้านวิชาการ วิชาชีพ และการดารงค์ตนให้เป็นคนดีที่สังคมปรารถนา ------------------------- 2. รักงานสอน ครูต้องมีความศรัทธาต่อวิชาชีพของตน ต้องมีความรักการสอน ส น ใ จ ที่ จ ะ พั ฒ น า ก า ร ส อ น ใ ห้ น่ า ส น ใ จ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง วิ ธี ก า ร ส อ น เ พื่ อ ใ ห้ ไ ด้ ผ ล รู้จักวิธีถ่ายทอดที่ทาให้ผู้เรียนเข้าใจง่ายให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาการเรี ย น ข อ ง ต น เ อ ง ใ ห้ รู้ จั ก วิ ธี เ รี ย น เรียนด้วยความสุขและรับรู้สาระในศาสตร์ที่ครูสอน ----------------------------- 3. อาทรศิษย์ ค รู ต้ อ ง เม ต ต า รั ก เข้ า ใ จ แ ล ะ เอ า ใ จ ใ ส่ ดู แ ล ลู ก ศิ ษ ย์ ห่วงใยว่าจะประสบความสาเร็จหรือไม่ ช่วยแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่ ลูก ศิ ษ ย์ ป ร ะ ส บ ใ ห้ เกี ย ร ติ แล ะ ย อม รับ ใ น ค วาม แ ต ก ต่า ง
  • 7. ไ ม่ ดู ถู ก ห รื อ เ ยี ย บ ย้ า ลู ก ศิ ษ ย์ ให้การช่วยเหลือทั้งทางด้านการเรียนและชีวิต ---------------------------- 4. คิดดี ครูต้องมีค วามคิด ที่ดี ค วามคิด ที่เป็น บ วก ต่อศิษย์ ต่อก ารสอน ต่ อวิ ช าชี พ ต่ อ ส ถ าบั น แ ล ะ ต่ อ เพื่ อ น ร่ วม งาน คิ ด ใ น สิ่ งที่ ดี และให้คิดอยู่เสมอว่า อาชีพครูเป็นอาชีพ ที่มีคุณ ค่าที่สุด เป็นต้น ความคิดที่เป็นบวกจะช่วยให้ครูทางานอย่างมีประสิทธิภาพ ---------------------------- 5. มีคุณธรรม ความมีคุณธรรมของครูมีความจาเป็นต่อวิชาชีพครู คุณธรรมที่สาคัญ ไ ด้ แ ก่ ค ว า ม ยุ ติ ธ ร ร ม ด้ า น ก า ร ส อ น ก า ร ป ร ะ เมิ น ผ ล ความต้องการให้ลูก ศิษย์ป ระสบ ผลสาเร็จ ครูต้องมีความอดท น ระงับอารมณ์ได้ดี ไม่ทาร้ายคน เสียสละ มีความอายที่จะกระทาผิด แ ล ะ มี ห ลั ก ศ า ส น า ยึ ด มั่ น มีความตั้งใจแน่วแน่ที่จะประพฤติตนให้ถูกต้องตามระเบียบประเพณีและ วัฒนธรรมของสังคมนั้น ๆ ---------------------------- 6. ชี้นาสังคม ค รูต้ อ งช่ ว ย ชี้ น าสั ง ค ม น า ใ น สิ่ งที่ ถู ก ต้ อ ง ช่ ว ย แ ก้ ปั ญ ห า ท า ต น เป็ น ตั ว อ ย่ า ง เช่ น เรื่ อ ง ข อ ง ข ย ะ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม แ ล ะ ก า ร ป ร ะ ห ยั ด พ ลั ง ง า น ช่ ว ย ชุ ม ช น ใ น ด้ า น ต่ า ง ๆ ทั้ ง ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า เ พื่ อ คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ที่ ดี ข อ ง สั ง ค ม และการช่วยนาสังคมให้เป็นสังคมที่ดีงาม ------------------------------ 7. อบรมจิตใจ การพัฒนาผู้เรียนเป็นสิ่งสาคัญ ครูจึงต้องช่วยให้ข้อคิดที่ดี อบรม ตั ก เตื อ น สั่ งส อ น ใ ห้ ศิ ษ ย์ ป ร ะ พ ฤ ติ ดี ด า ร ง อ ยู่ ใ น ศี ล ธร ร ม ห น้ าที่ ข อ งค รูจึงไ ม่ใ ช่เป็น เรื่องข องก าร สอน ห นั งสือเท่านั้ น แต่จะต้องอบรมจิตใจให้มีคุณธรรม จริยธรรมอยู่เสมอ ---------------------------- 8. ใฝ่ความก้าวหน้า
  • 8. ก าร ไ ม่ ห ยุ ด นิ่ งอ ยู่ กั บ ที่ รั ก ที่ จ ะ ช่ ว ย ใ ห้ ป ร ะ เท ศ ก้ าว ห น้ า เผยแพร่ผลงานวิชาการให้แก่ชุมชนไม่หยุดยั้งครูจะต้องทาให้ชีวิตของ ค รูก้ าวต่อไ ป เพื่ อที่จ ะ ท าป ระ โยช น์ใ ห้แก่ต น เอง ศิษ ย์ สังค ม และประเทศชาติ ------------------------------- 9. วาจางาม คาพูดเป็นสิ่งที่สาคัญที่จะทาให้การเรียนการสอนดาเนินไปอย่างประสบ ความสาเร็จคาพูดที่ดีย่อมทาให้ผู้เรียนเกิดกาลังใจ มีความมุมานะ ในทางตรงกันข้าม คาพูดไม่ดี ย่อมทาให้ผู้ฟังเกิดความทุกข์ ไม่สบายใจ แ ล ะ ท า ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม ท้ อ ถ อ ย ไ ม่ อ ย า ก เ รี ย น ค รู จึ ง ต้ อ ง ฝึ ก ก า ร พู ด ใ ห้ ถู ก ต้ อ ง ต า ม ก า ล เ ท ศ ะ ฝึกการพูดเพื่อจูงใจและส่งเสริมทาให้ศิษย์เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรร มไปในทางที่ดีงามและถูกต้อง ---------------------------------- 10. รักความเป็นไทย สถาบันการศึกษาเป็นศูนย์กลางการพัฒนาคนให้เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่ สาคัญของประเทศชาติ ดังนั้น ครูจึงต้องส่งเสริมพัฒนาเอกลักษณ์ไทย เพื่อให้ศิษย์เป็นผู้ธารงรักษาเอกลักษณ์ไทยเอาไว้โดยเฉพาะในยุคโลกา ภิวัตน์ ค วามมีเอกลักษณ์เฉ พาะตนจ าเป็นต้องธารงไว้ให้มั่นค ง แม้ว่าเทคโนโลยีจะพัฒนาไปได้ไกล จนทาให้แต่ละชาติสามารถติดต่อ รั บ รู้ แ ล ะ ถ่ า ย ท อ ด วั ฒ น ธ ร ร ม ซึ่ ง กั น แ ล ะ กั น ไ ด้ ก็ ต า ม แต่ ลั ก ษ ณ์ เฉ พ าะ ข อ งค น ใ น ช าติ เช่ น เรื่อ งข อ งค วา มเชื่ อ วัฒนธรรมประเพณีที่ดีงาม ควรช่วยกันสืบสาน ส่งเสริม และธารงไว้ เพื่อทาให้เยาวชนเกิดความรัก ความภาคภูมิใจในความเป็นไทย