SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
Download to read offline
บทที่ 3
การศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา
แผนการสอนประจาบท
1. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เพื่อให้สามารถอธิบายการจัดการศึกษาปฐมวัยในต่างประเทศได้
2. เพื่อให้สามารถอธิบายหลักการรูปแบบการจัดการศึกษาปฐมวัยในต่าง
ประเทศได้
3. เพื่อให้สามารถวิเคราะห์รูปแบบการจัดการศึกษาปฐมวัยในต่างประเทศได้
4. เพื่อให้สามารถวิเคราะห์จุดเด่นจุดด้อยของการจัดการศึกษาปฐมวัยใน
ต่างประเทศได้
2. เนื้อหา
1. การจัดการศึกษาปฐมวัยของประเทศยุโรป
2. การจัดการศึกษาปฐมวัยของประเทศสหรัฐอเมริกา
3. ปรัชญาทางการศึกษาปฐมวัย
4. ความเป็นมาของการจัดการศึกษาระดับปฐมวัย
5. หลักการจัดการศึกษาของแต่ละประเทศ
6. หลักสูตรการศึกษาระดับปฐมวัย
7. หน่วยงานที่รับผิดชอบ
8. บุคลากรที่เกี่ยวข้อง
3. กิจกรรมการเรียนรู้
1. ศึกษาเอกสารการสอนและตาราที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งสรุปสาระสาคัญ
2. การอภิปราย ซักถาม สรุปการเรียนจากสไลด์ (Power Point)
2. แบ่งกลุ่มศึกษาค้นคว้า การจัดการศึกษาปฐมวัยในต่างประเทศ
3. นาเสนอผลการศึกษาค้นคว้าการจัดการศึกษาปฐมวัยของต่างประเทศ
4. วิเคราะห์ลักษณะเด่นลักษณะด้อยของการจัดการศึกษาปฐมวัยในแต่ละประเทศ
5. ทดสอบหลังเรียน และแบบฝึกหัดท้ายบท
4. สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการศึกษาปฐมวัย
2. สไลด์ประกอบการสอน
52
3. เว็บไซต์อาจารย์ผู้สอน
4. เว็บไชต์การจัดการศึกษาปฐมวัยของต่างประเทศ
5. ซีดี วีดีโอ ที่เกี่ยวข้อง
5. การประเมินผล
1. ผลการนาเสนอศึกษาค้นคว้าเอกสารรายงาน
2. ผลการนาเสนอการศึกษาค้นคว้าทาง internet
3. ผลการศึกษาค้นคว้าการจัดการศึกษาปฐมวัยของแต่ละประเทศ
53
บทที่ 3
การศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา
จากการศึกษาแนวคิดและทฤษฎีของการนักการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา
ปฐมวัยจะพบว่า ทวีปยุโรปเป็นแหล่งกาเนิดแนวคิดเกี่ยวกับการศึกษาปฐมวัยนับตั้งแต่
ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา เพราะได้มีการศึกษาเรื่องเด็กเล็ก ๆ มากขึ้นและต่อเนื่องมาถึง
ปัจจุบันผลการศึกษาค้นคว้าทาให้เข้าใจธรรมชาติของเด็กมากขึ้น ทาให้เข้าใจได้ว่าจะจัด
สภาพแวดล้อมในโรงเรียนอย่างไร จะจัดการเรียนการสอนอย่างไรจึงจะพัฒนาเด็กได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ ความคิดในยุคแรก ๆ ที่ย้าให้เห็นความสาคัญของตัวผู้เรียนคือเด็ก ต่อมา
ได้วิวัฒนาการมาเป็นหลักการศึกษาและวิธีการสอนเด็กปฐมวัย และใช้ถือเป็นแบบอย่างใน
การจัดการศึกษาปฐมวัยที่ใช้จนถึงปัจจุบันนี้ และได้แพร่หลายไปในทวีปอื่น ๆ โดยเฉพาะ
ทวีปยุโรป และอเมริกาเหนือเป็นต้น มีประเทศที่ได้รับการยอมรับว่ามีความเจริญในทุก ๆ
ด้านโดยเฉพาะทางด้านการศึกษา เช่น ประเทศสหรัฐอเมริกา ก็ยังได้รับอิทธิพลแนวคิด
ทางการศึกษาปฐมวัยมาจากทวีปยุโรป และต่อมาจึงได้พัฒนาแนวคิดของตนขึ้นมา
ภายหลัง แต่อย่างไรก็ตามประเทศในแถบยุโรปและอเมริกาได้พัฒนารูปแบบการจัด
การศึกษาปฐมวัยได้ดีมากขึ้นตามลาดับ สามารถนาเป็นแบบอย่างในการจัดการศึกษาได้
เป็นอย่างดี ในบทนี้จะได้กล่าวถึงการจัดการศึกษาของแต่ละประเทศในประเด็นสาคัญดังนี้
1. ปรัชญาทางการศึกษาปฐมวัย
2. ความเป็นมาของการจัดการศึกษาระดับปฐมวัย
3. หลักการจัดการศึกษาของแต่ละประเทศ
4. หลักสูตรการศึกษาระดับปฐมวัย
5. หน่วยงานที่รับผิดชอบ
6. บุคลากรที่เกี่ยวข้อง
การศึกษาปฐมวัยในยุโรป
ประเทศแถบยุโรปเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว โดยประเทศเหล่านี้มีความก้าวหน้าใน
ด้านต่าง ๆ มากมาย เช่น การพัฒนาทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ด้านการจัด
การศึกษา โดยเฉพาะการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยในทวีปยุโรปได้มีการพัฒนารูปแบบ
แนวทางวิธีการจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพจนเป็นที่ประจักษ์และเป็นตัวอย่างแก่
ประเทศอื่น ๆ ทั่วโลกประเทศยุโรปที่มีการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยที่นามาเป็นตัวอย่าง
พอสังเขปดังนี้
54
การศึกษาปฐมวัยในประเทศอังกฤษ
ประเทศอังกฤษเป็นประเทศหนึ่งในทวีปยุโรป เป็นเกาะอยู่กลางมหาสมุทร ประเทศอังกฤษ
ประกอบด้วยแคว้นอิงแลนด์ (England) สกอตแลนด์ (Scotland) เวล (wales) และไอร์แลนด์
(Ireland) รวมกันเรียกว่าสหราชอาณาจักร (the United Kingdom) เป็นประเทศที่เจริญมาก
ในยุโรป
1. ประวัติการศึกษาปฐมวัยในประเทศอังกฤษ ประภาพรรณ สุวรรณสุข
(2539 : 82 : 83) กล่าวถึงการศึกษาปฐมวัยในประเทศอังกฤษ สรุปได้ว่า การศึกษา
ปฐมวัยในประเทศอังกฤษเริ่มจากการตั้งโรงเรียนเด็กเล็ก โดยโรเบิรต์ โอเว็น (Robert
Owen) ที่เมืองแลนาร์ค (Lanark) ในปี ค.ศ. 1816 โดยโรเบิร์ต โอเว็น ได้รับอิทธิพลแนวคิด
ในการจัดโรงเรียนเด็กเล็กมาจากปรัชญาและผลงานของเฟรอเบล (Froebel) รูสโซ
(Rousseau) และโอเบอร์ลิน (Oberlin) เขาเน้นวิธีการเรียนรู้ของเด็กโดยการให้เด็กได้ลงมือ
กระทาเอง สารวจสิ่งต่าง ๆ รอบตัวในชีวิตประจาวันทาให้เด็กเกิดความอยากรู้อยากเห็น
อีกทั้งสร้างบรรยากาศที่สนุกสนานในการที่เด็กพูดคุยกับผู้ใหญ่ ไม่มีการลงโทษ และการสร้าง
ความกลัวให้เกิดขึ้นแก่เด็กในโรงเรียนเด็กเล็กของโอเว็นนั้นจะไม่มีการสอนที่มีลักษณะเป็นแบบ
เป็นแผน ไม่มีการใช้ตารางกิจกรรม นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมให้เด็กทา กิจกรรมเหล่านั้น
ได้แก่ การเล่นดนตรี การเต้นรา การออกกาลังกาย กิจกรรมเหล่านั้นจะเปลี่ยนไปเรื่อย ๆ
ขึ้นอยู่กับความต้องการของเด็กเป็นหลัก โอเว็น เชื่อว่า เด็กมีความสาคัญอย่างยิ่งที่จะต้อง
ได้รับการฝึกโดยเฉพาะเด็กที่อยู่ในช่วงอายุระหว่างตั้งแต่ 1ขวบ จนถึงวัยเข้าโรงเรียน (ประมาณ
6 ขวบ)
โอเว็นมีความเห็นว่า การที่จะสร้างพลเมืองที่ดีและมีประโยชน์ต่อประเทศชาตินั้น
จาเป็นที่จะต้องให้มีการฝึกฝนมาตั้งแต่เด็กยังเล็กอยู่ แต่ทว่าความคิดและวิธีการสร้าง
โรงเรียนของเขานั้นมีความล้าหน้าเกินไปในช่วงนั้น จึงไม่ได้รับการยอมรับเท่าที่ควร ถึงแม้
จะมีผู้เข้าใจและสร้างโรงเรียนเด็กเล็กตามอย่างเขาก็ตาม เช่น วิลเดอร์สปิน (Wilderspin)
และคนอื่น ๆ โรงเรียนเหล่านั้นก็ไม่ประสบความสาเร็จเท่าที่ควร จนถึงช่วงต้นศตวรรษที่
20 ชาวอังกฤษจึงเริ่มเข้าใจและเห็นความสาคัญของโรงเรียนเด็กเล็กขึ้นมาผู้ที่ให้
ความสนใจและเห็นความสาคัญอย่างแท้จริงเป็นพวกชนชั้นกลางที่รักความก้าวหน้าและมี
สติปัญญาคนพวกนี้ได้ส่งลูกหลานของตนไปเรียนที่โรงเรียนเด็กเล็กและต่อมาได้มีกลุ่ม
อาสาสมัครต่าง ๆ จัดการศึกษาทั่วไปให้แก่เด็กที่อายุต่ากว่า 5 – 6 ปี เพื่อช่วยเหลือ
ครอบครัวที่พ่อและแม่ต้องออกไปทางานนอกบ้าน
ในปี ค.ศ.1870 ได้มีพระราชบัญญัติการศึกษาเกิดขึ้น มีผลทาให้เด็กที่มีอายุต่ากว่า 5 ขวบ
สามารถเข้าโรงเรียนได้ ทาให้จานวนนักเรียนในโรงเรียนอนุบาลเพิ่มขึ้นอย่างมากดังจะเห็น
55
ได้ว่าในปี ค.ศ. 1900 มีนักเรียนที่มีอายุระหว่าง 3 – 5 ปี จานวนทั้งสิ้น 622,498 คน
ประมาณ 43.10 % ของเด็กที่มีอายุระหว่าง 3 – 5 ปี เข้าเรียนในโรงเรียนเด็กเล็กซึ่ง
โรงเรียนเด็กเล็กในสมัยนั้นใช้วิธีการสอนที่เข้มงวด คือ บังคับให้เด็กนั่งตัวตรงในชั้นเรียน
ไม่เปิดโอกาสให้เด็กได้เคลื่อนไหวและทากิจกรรมใดเลย
ในปี ค.ศ.1907 คณะกรรมการการศึกษาได้ทาการศึกษาถึงผลการเรียนในโรงเรียน
อนุบาลโดยพบว่า เด็ก ๆ ไม่ได้เรียนรู้อะไรเพิ่มขึ้นเลย นอกจากนั้นในรายงานยังแสดงให้
เห็นว่าผู้ปกครองที่มีฐานะดีควรงดส่งลูกของตนเข้าเรียนในโรงเรียนอนุบาลแต่กลับ
สนับสนุนให้ผู้ปกครองที่มีฐานะยากจนไม่สามารถดูแลลูกของตนได้ควรจะส่งไปเรียนที่
โรงเรียนอนุบาล เพราะว่าโรงเรียนอนุบาลนั้นเหมาะสมกับเด็กที่มาจากครอบครัวที่ยากจน
ต่อมาในปี ค.ศ.1910 ได้ทาการสารวจนักเรียนที่เข้าเรียนในโรงเรียนอนุบาลพบว่า
จานวนเด็กที่เข้าเรียนในโรงเรียนอนุบาลลดลงเหลือเพียง 22.7 % ทั้งนี้เนื่องมาจากมี
รายงานว่าเด็กที่อยู่ในโรงเรียนอนุบาลนั้นแทบจะไม่ได้เรียนรู้อะไรเพิ่มขึ้นเลยขณะอยู่ใน
โรงเรียน
ในปี ค.ศ. 1911 ได้มีผู้สานแนวคิดทางการศึกษาปฐมวัยต่อคือสองพี่น้องตระกูล
แม็คมิลแลน (Mcmillans) ซึ่งทาให้เกิดความเคลื่อนไหว ในการศึกษาปฐมวัยขึ้นมาอีกครั้ง
หนึ่ง โดยการเปิดโรงเรียนชั้นเด็กเล็กขึ้น จากความพยายามของพี่น้องตระกูลแม็คมิลแลนนี้
เองที่เป็นสาเหตุทาให้โรงเรียนเด็กเล็กมีการพัฒนาและคงอยู่ตราบจนทุกวันนี้ อีกทั้งทาให้
เกิดการฝึกหัดครูสาหรับเด็กเล็กขึ้นมาอีกด้วย ต่อมาในปี 1918 ได้มีพระราชบัญญัติให้ใช้
เงินของรัฐอุดหนุนการศึกษาชั้นเด็กเล็กขึ้นอีกด้วย
ในเวลานั้นได้เริ่มมีการยอมรับกันแล้วว่าการที่เด็กอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ไม่ดีอาจมีผล
กระทบกระเทือนต่อสติปัญญาของเด็ก ดังนั้นการที่เด็กมีโอกาสเข้าเรียนในโรงเรียนเด็ก
เล็กจะช่วยให้เด็กพัฒนาสติปัญญาได้ดีขึ้น นอกจากนี้โรงเรียนเด็กเล็กยังสามารถช่วย
ทดแทนสภาพ การดูแลเด็กจากทางบ้านได้ พร้อมทั้งช่วยพัฒนา สุขภาพและดูแลเด็กใน
ขณะที่แม่ต้องออกไปทางานนอกบ้าน แต่อย่างไรก็ตาม ในปี 1929 มีโรงเรียนเด็กเล็ก
เหลือเพียง 28 แห่ง และมีเด็กเพียง 1,564 คน ซึ่งอาจเป็นผลมาจากรายงานการศึกษา
ของคณะกรรมการการศึกษาและสภาวะเศรษฐกิจตกต่า แนวคิดในการจัดโรงเรียนเด็กเล็ก
ของพี่น้องตระกูลแม็คมิลแลนนั้นมุ่งที่การเลี้ยงดูเด็กด้วยการให้อาหารที่ถูกต้องตามหลัก
โภชนาการ จัดกิจกรรมช่วยพัฒนาทางร่างกายรวมทั้งการเล่นดนตรี การเคลื่อนไหว
ร่างกาย และการอยู่ในที่มีอากาศบริสุทธิ์
ในช่วงปี ค.ศ. 1936 โรงเรียนเด็กเล็กมีจุดมุ่งหมายเพื่อจะดูแลรักษาเด็กที่อ่อนแอ
ต่อมาคนเริ่มยอมรับความคิดของเฟรอเบล อีกทั้งได้รับอิทธิพลจากความคิดของดิวอี้จึง
56
ทาให้การจัดโรงเรียนแบบโอเว็นถูกนากลับมาใช้อีกครั้งหนึ่ง โดยเน้นการสร้าง
ความสัมพันธ์ระหว่างเด็กและผู้ใหญ่ อีกทั้งมีการพัฒนาอารมณ์ สติปัญญา และภาษาของ
เด็กด้วย
ในปี ค.ศ.1944 ได้มีพระราชบัญญัติการศึกษา กาหนดให้คณะกรรมการการศึกษาส่วน
ท้องถิ่น ตระหนักถึงความต้องการในการจัดการศึกษาชั้นเด็กเล็กให้แก่เด็กอายุต่ากว่า
5 ขวบ (สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2534 : 114 – 115) จนกระทั่งถึงปี ค.ศ.
1964 ได้มีการเปลี่ยนแปลงพระราชบัญญัติการศึกษาบางประการ ทาให้โรงเรียนเด็กเล็ก
เพิ่มขึ้นอีกเล็กน้อย
2. หลักการและรูปแบบการจัดการศึกษาปฐมวัย การจัดการศึกษาภาคบังคับ
ของประเทศอังกฤษกาหนดให้เด็กเริ่มเรียนหนังสือเมื่ออายุ 5 ขวบ ส่วนการศึกษาของเด็ก
อายุต่ากว่า 5 ขวบ เป็นการศึกษาก่อนภาคบังคับ ซึ่งให้จัดตามดุลพินิจขององค์การ
บริหารการศึกษาส่วนท้องถิ่น (Local Education Authority) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1991 รัฐบาลได้
ให้พันธะสัญญาที่จะจัดหาที่เรียนให้แก่เด็กอายุ 4 ขวบทุกคนตามที่ผู้ปกครองประสงค์
โดยจะ ค่อย ๆ เพิ่มที่เรียนอยู่ตลอดเวลา (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ
2540 : 3) และการจัดการศึกษาสาหรับเด็กปฐมวัยจะคาบเกี่ยวอายุของเด็กถึงวัย 7 ขวบ
โดยการจัดการศึกษาในระดับปฐมวัยจะมีรูปแบบในการจัดบริการดังนี้
2.1 โรงเรียนเด็กเล็ก (Nursery School) เปิดรับเด็กตั้งแต่อายุ 2 ขวบขึ้นไป รับ
ทั้งเด็กชายและเด็กหญิง โดยไม่มีกฎหมายบังคับให้ผู้ปกครองต้องส่งเด็กเข้าโรงเรียนเด็ก
เล็ก นอกจากการจัดโรงเรียนเด็กเล็กโดยเฉพาะแล้ว ยังสามารถจัดชั้นเด็กเล็กในโรงเรียน
ระดับอื่นได้ด้วย เพราะการจัดโรงเรียนชั้นเด็กเล็กต่างหากมีค่าใช้จ่ายสูงมาก
2.2 โรงเรียนสาหรับเด็กวัยแรก (Infant school) หรือชั้นเรียนของเด็กระดับ 1
(Key Stage 1 หรือ KS 1) ในโรงเรียนประถมศึกษา จะรับเด็กในช่วงอายุตั้งแต่ 5 ขวบถึง 7 ขวบ
โดยมีการจัด 2 ลักษณะคือจัดชั้นเรียนคละอายุ โดยยึดหลักการจัดตามลักษณะครอบครัว
ที่มีเหตุผลมาจากสมมุติฐานที่ว่าในช่วงอายุดังกล่าว การเรียนรู้ที่สาคัญของเด็กก็คือการได้
พัฒนาภาษา และการที่เด็ก ๆ ได้อยู่ร่วมกันก็จะเกิดการเรียนรู้ซึ่งกันและกันได้ดีที่สุด
อีกลักษณะหนึ่งก็คือการจัดชั้นเรียนแบบธรรมดา มีการแบ่งกลุ่มตามอายุเด็ก โดยเด็กจะมี
อายุรุ่นราวคราวเดียวกัน
2.3 ศูนย์เด็กก่อนวัยเรียน (Children’s Centers) จะเป็นสถานบริบาลเด็กตอน
กลางวัน สาหรับเด็กแรกเกิดถึง 5 ขวบ ในลักษณะการให้การอบรมเลี้ยงดูเป็นส่วนใหญ่
เพื่อสนองความต้องการและความจาเป็นของมารดาที่ต้องทางานนอกบ้าน และมารดาที่ไม่
สามารถเลี้ยงดูบุตรด้วยตนเองได้ สถานรับเลี้ยงเด็กก่อนวัยเรียนนี้จะอานวยความสะดวก
57
ให้แก่ผู้ปกครองเช่นเดียวกับที่ให้ความสะดวกแก่เด็ก ๆ และบางแห่งก็มีบริการสาหรับแม่
และเด็กวัยเตาะแตะ ในกลุ่มเด็กเล็กด้วยกัน และชั้นเรียนอื่น ๆ ที่จัดขึ้นอย่างไม่เป็นทางการ
รวมทั้งการดูแลเลี้ยงดูเด็กแบบโรงเรียนเด็กเล็กด้วย คณะครูประกอบด้วยครูที่มีวุฒิ
พยาบาลที่ได้รับการฝึกมาแล้ว หรือบางครั้งก็ยังมีผู้ที่อาสาสมัครทางานเพื่อสังคมอื่น ๆ
อีกด้วย ซึ่งในแต่ละแห่งจะมีการติดต่อกับแพทย์และนักสังคมสงเคราะห์อยู่ตลอดเวลา
3. หลักสูตร ลักษณะของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยในประเทศอังกฤษนั้นจะไม่มี
การกาหนดแน่นอนตายตัวเหมือนกันทั่วประเทศ เพราะระบบการศึกษาของอังกฤษนั้นเป็น
ระบบแบบกระจายอานาจ ดังนั้นผู้ที่จัดหลักสูตรในโรงเรียน ก็คือครูใหญ่และคณะครูใน
โรงเรียน แต่อย่างไรก็ตามหลักในการจัดการศึกษาโดยทั่วไปก็จะคล้าย ๆ กัน คือ
3.1 หลักสูตรสาหรับโรงเรียนเด็กเล็กหรือชั้นเด็กเล็กในประเทศอังกฤษ จะเป็น
หลักสูตรที่เน้นหนักในการจัดกิจกรรมการเล่นสาหรับเด็ก ไม่มีการเรียนการสอนเป็นเรื่อง
เป็นราวเด็กจะสนุกสนานกับการฟังนิทาน ดนตรี โคลงกลอน และเล่นตามธรรมชาติเด็ก ๆ
จะเล่นกันตามใจชอบจะเล่นคนเดียว หรือจะเล่นกับคนอื่น ๆ ก็ได้ จะเล่นในร่มหรือออกไป
กลางแจ้งก็แล้วแต่จะเลือก มีกิจกรรมสาหรับฝึกออกกาลังกายโดยใช้เครื่องเล่นสนาม
ต่าง ๆ เช่น อุปกรณ์สาหรับปีนป่าย มีสระน้า มีสนามหญ้า บ่อทรายไว้ให้เด็กได้เล่นฝึก
การทดลองต่าง ๆ มีการจัดอุปกรณ์หลายอย่างจัดไว้สาหรับให้เด็ก ๆได้เล่นเด็กจะได้
ค้นพบความรู้ใหม่ ๆ ซึ่งเป็นการปูพื้นฐานสาหรับการเรียนวิทยาศาสตร์ต่อไป
ถึงแม้ว่าเด็กจะมีอิสระที่จะเลือกทากิจกรรมใด ๆ ตามต้องการ แต่ครูและพยาบาล
ที่ดูแลจะต้องสอดแทรกกิจกรรมหรือการเล่นที่ครูได้วางแผนไว้อย่างดีแล้วเข้าไปด้วย โดย
ครูจะต้องเข้าใจวิธีการใช้ภาษาของเด็ก เพื่อจะช่วยให้เด็กได้พัฒนาทักษะการคิดมากขึ้น
กิจกรรมที่จัดขึ้นจะคานึงถึงความต้องการทางสังคม และอารมณ์ซึ่งจะนาไปสู่การพัฒนา
สติปัญญาด้วย การเล่นของเด็กโดยมีจุดประสงค์ที่จะช่วยให้เกิดการเรียนรู้ ดังนั้นครู
จะต้องจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อให้เด็กมีโอกาสได้สารวจ ค้นคว้าเกี่ยวกับสิ่งของวัตถุ ได้รู้จัก
รูปร่าง ได้สัมผัสสิ่งของ แปลก ๆ รู้จักสี ได้ยินเสียงต่าง ๆ มีแท่งไม้ และอิฐบล๊อกใช้สาหรับ
พัฒนาความสามารถในทางศิลปะของเด็ก มีการเลือกใช้หนังสือที่ดีและเหมาะสมกับเด็ก
เพื่อส่งเสริมจินตนาการและความสามารถในการใช้ภาษา ส่วนตุ๊กตา เครื่องเรือนจาลอง และ
ของเล่นต่างๆ ช่วยเสริมสร้างทักษะทางสังคมและครอบครัว สื่อการเรียนและของเล่นต่าง ๆ
ที่จัดให้เด็กล้วนนามาใช้ประโยชน์ใน การเพิ่มประสบการณ์ และการค้นพบสิ่งใหม่ ๆ ของ
เด็กจะช่วยในการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมได้ เพราะจุดมุ่งหมายหลักของโรงเรียน
คือช่วยให้เด็ก ๆ ได้พัฒนาบุคลิกภาพไปในทางที่พึงประสงค์ ให้รู้จักพึ่งตนเองโดยไม่ต้องรอ
ความช่วยเหลือจากผู้อื่น และขณะเดียวกันก็ให้ความร่วมมือกับผู้อื่นด้วย
58
3.2 หลักสูตรของโรงเรียนสาหรับเด็กวัยแรก สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
(2534 : 122 – 125) ได้กล่าวถึงหลักสูตรของโรงเรียนสาหรับเด็กวัยแรก สรุปได้ว่า
หลักสูตรจะเน้นเกี่ยวกับพัฒนาการทั่ว ๆ ไปของเด็ก โดยพิจารณาความต้องการของเด็ก
และพยายามช่วยให้เด็กแต่ละคนได้พัฒนาไปในทุก ๆ ด้านตามศักยภาพของเขาอย่างเต็มที่
ในการเปิดโอกาสให้เด็กมีประสบการณ์อย่างกว้างขวาง โรงเรียนได้จัดให้เด็กได้เล่นได้
ทดลองกับวัตถุต่าง ๆ เช่น ทราย น้า ดินน้ามัน สี และแท่งไม้ เด็ก ๆ อาจจะใช้แท่งไม้
บล็อกก่อสร้างหรือประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆ แสดงละครตามจินตนาการของตน ฟังนิทาน ฟัง
ดนตรีที่เด็กชอบ กิจกรรมเหล่านี้ ในบางครั้งจะบูรณาการเข้าด้วยกันกับการอ่าน การเขียน
หรือคณิตศาสตร์ง่ายๆ จุดมุ่งหมายประการหนึ่งก็คือ พยายามทาให้เด็ก ๆ รู้ว่าหนังสือคือแหล่ง
ที่จะค้นคว้าหาความรู้และให้ความเพลิดเพลินได้ จุดมุ่งหมายประการที่สองคือให้เด็กมี
ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ขั้นพื้นฐานและจุดประสงค์ และประการที่สามคือ
ส่งเสริมให้เด็กใช้ภาษาใน การแสดงออกทั้งการพูดและการเขียนได้อย่างคล่องแคล่ว
โรงเรียนสาหรับเด็กวัยแรกบางแห่งจะมีการจัดกิจกรรมวันหนึ่งที่เรียกว่า“วันบูรณาการ”
(The Intergrated Day) เป็นวันที่การสอนจะรวมกิจกรรมต่าง ๆ ที่มีทั้งการสร้างสรรค์
วิชาการ ศิลปะ และพละเข้าไว้ด้วยกัน นักเรียนทุกคนจะได้รับบริการของโรงเรียนเท่าที่
ต้องการขึ้นอยู่กับความสนใจ ความสามารถ และความต้องการของตนเอง ห้องเรียนก็
เปลี่ยนไปเป็นห้องทางานและ เด็ก ๆ สามารถจะทางานของตนได้ตามลาพัง หรือจะไปรวมกลุ่มกับ
คนอื่นก็ได้แผนการสอนแบบบูรณาการนี้จะจัดกิจกรรมต่าง ๆ ให้เด็กได้เรียนรู้จากสิ่งที่
ล้อมรอบตัว เขาจะพอใจและกระตือรือร้นมากที่จะค้นคว้าหาคาตอบด้วยตนเอง และเต็ม
ใจจะทาในสิ่งที่ยากและท้าทายให้สาเร็จ
แผนการสอนแบบบูรณาการ จะช่วยส่งเสริมให้เด็กได้ใช้ความคิดเกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ
เด็กได้พัฒนาการใช้ภาษาและมีประสบการณ์การเรียนรู้อย่างมากมาย ทาให้การศึกษาเล่า
เรียนเป็นกระบวนการที่ต่อเนื่อง นอกจากนั้นยังอานวยความสะดวกในเรื่องวัสดุอุปกรณ์
หรือเครื่องมือทดลองต่าง ๆ ให้เด็กใช้ได้อย่างพอเพียง เด็ก ๆ จะใช้เวลาในการสารวจ
เรียนรู้ในสิ่ง ที่เรียนแต่ละเรื่องอย่างสนใจโดยใช้เวลาไม่นานนัก การให้โอกาสเด็ก ๆ ได้มี
ประสบการณ์นี้จะไม่กาหนดเวลาตายตัว เด็กจะได้เรียนรู้ในหลาย ๆ ด้าน บางครั้งอาจจะ
ต้องทากิจกรรมที่ใช้สมาธิและมีความสนใจอย่างมากแต่ในบางครั้งก็จะได้เล่นหรือทาอะไร
ที่สบาย ๆ สนุกสนาน ซึ่งจะโยงต่อเนื่องไปยังกิจกรรมอื่น ๆ ต่อไปได้
ครูจะเป็นผู้จัดหากิจกรรมต่าง ๆ ให้เด็กทาโดยบูรณาการเข้ากับกิจกรรมของตัว
เด็กเอง แต่ก็ยึดปรัชญาที่ว่าลักษณะกิจกรรมทั้งหลายจะต้องเป็น “การเล่น” เสมอ
ความจริงแล้วสาหรับเด็กในวัยนี้ จะเล่นหรือเรียนก็ไม่มีอะไรแตกต่างกันนักและเด็กเองก็ยัง
59
แยกไม่ออกด้วยซ้าระหว่างวิชาต่าง ๆ ที่เรียนไป เมื่อเด็กมาถึงโรงเรียนในตอนเช้า ก็จะ
พบว่ารายการกิจกรรมต่าง ๆ สาหรับวันนั้นเขียนไว้บนกระดาน เด็ก 6 คนอาจจะไปนั่ง
รวมกันอ่านหนังสือที่มุมอ่านหนังสือ เด็ก 6 คนอาจจะไปที่มุมห้องสมุด และอีก 6 คน
อาจจะไปที่มุมเล่นแต่งตัว เด็ก ๆ มีสิทธิที่จะเลือกกิจกรรมของตัวเอง และทาไปจนกว่าจะ
ได้ผลงานที่พอใจสาหรับความต่อเนื่องของความคิดรวบยอดในการแบ่งกลุ่มแบบ
ครอบครัวนั้น ในการจัดห้องเรียนจะไม่มีโต๊ะเดี่ยว ๆ และเด็กก็จะไม่ต้องนั่งตามที่ประจา
ห้องจะจัดในลักษณะเอาโต๊ะมาต่อกันและใช้ตู้หนังสือล้อมเป็น ส่วน ๆ ไม่มีโต๊ะครู ครูจะ
เดินดูไปทั่ว ๆ ตามโต๊ะต่าง ๆ และช่วยเหลือเด็กที่ต้องการคาแนะนาเป็นคน ๆ ไป
หลักสูตรของโรงเรียนสาหรับเด็กวัยแรกมีลักษณะดังนี้
1) วิชาคณิตศาสตร์ การสอนคณิตศาสตร์ในโรงเรียนสาหรับเด็กวัยแรกจะเริ่ม
จาก การวัด การชั่งน้าหนัก กราฟ ฯลฯ ตารางแสดงภาพอากาศในช่วงเวลาต่าง ๆ เด็กจะ
ได้เรียนรู้ตัวเลข สัญลักษณ์ และ รูปร่าง รูปทรงต่าง ๆ จากกราฟและตารางเหล่านี้ เด็ก ๆ
จะได้รับแจก กระดุม ตะปู ลูกปัด ฯลฯ สาหรับนามาแยกประเภท หรือเปรียบเทียบขนาด
การเปรียบเทียบจากวัสดุที่ทาและจากการเล่นเหล่านี้เด็ก ๆ จะเกิดความเข้าใจและรู้
ความหมายของคาต่าง ๆ ที่หมายถึงความไม่เท่ากันและความคิดรวบยอดอื่น ๆ ทาง
คณิตศาสตร์เป็นอย่างดี
2) การอ่าน การสอนอ่านในโรงเรียนสาหรับเด็กวัยแรกนี้ประสบความสาเร็จ
อย่างน่า พอใจเห็นได้จากเด็ก 5 ขวบ ส่วนมากจะอ่านหนังสือออก วิธีการที่ครูใช้มีหลายวิธี
ซึ่งรวมการสอนเสียงและการสอนแบบจาคาไว้ด้วย
3) การเล่น ห้องเรียนส่วนมากจะเปิดออกสู่ลานกว้าง ซึ่งจะมีสิ่งต่าง ๆ ที่สร้างไว้
ให้เด็กเล่น เช่น เครื่องเล่นปีนป่ายแบบต่าง ๆ มีกรงกระต่าย ตอไม้ บ่อทราย และแปลง
ต้นไม้ สาหรับให้เล่นเพาะปลูก เด็ก ๆ จะมาเล่นของเล่นที่ตนชอบโดยไม่จาเป็นต้องเล่นรวม
กับคนอื่น ตารางเวลาเล่นนี้ไม่ได้บังคับเด็ก ๆ อาจจะเลือกทากิจกรรมแต่ในห้องเรียนทั้งวัน
ก็ได้
4) การให้รางวัลและการลงโทษ การลงโทษโดยการตีหรือทาให้เจ็บยังมีเหลืออยู่
บ้าง แต่ปัจจุบันก็ลดน้อยลงมากแล้ว ครูจะพยายามหาวิธีอื่นในการลงโทษ โดยขึ้นอยู่กับ
การทาผิดของเด็กสาหรับการให้รางวัลนั้น คาชมเชยและผลงานที่สาเร็จอย่างน่าภาคภูมิใจ
ของตนเองก็ถือว่าเป็นรางวัลเพียงพอแล้วสาหรับเด็กส่วนมาก
ในปี ค.ศ. 1995 ได้มีการประกาศใช้หลักสูตรแห่งชาติฉบับปรับปรุงเพื่อให้หลักสูตร
มีข้อกาหนดน้อยลงโรงเรียนจะได้มีอิสระในการจัดการศึกษามากขึ้นโดยหลักสูตร
กาหนดให้เด็กอายุ 5 – 11 ปี จะต้องเรียนภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
60
เทคโนโลยี ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ศิลปะ ดนตรี และพลศึกษา พร้อมทั้งกาหนด
การประเมินผลว่า เด็กนักเรียนอายุ 7 ปี (สิ้นสุดชั้น KS 1) จะต้องทดสอบวิชาภาษาอังกฤษ
และคณิตศาสตร์ การทดสอบทั้งหมดจะใช้เวลา 2 ชั่วโมงครึ่ง (สานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาแห่งชาติ. 2540)
4. หน่วยงานที่รับผิดชอบ ในประเทศอังกฤษมีหน่วยงานที่ดูแลรับผิดชอบเด็ก
ตั้งแต่แรกเกิดถึงอายุ 5 ขวบ มี 2 หน่วยงาน คือ
4.1 กระทรวงศึกษาธิการและแรงงาน (Department for Education and Employment) ดูแล
รับผิดชอบโรงเรียนทั้งหมด ซึ่งจะมีรัฐมนตรีผู้ควบคุมทางด้านการศึกษาและวิทยาศาสตร์
เป็นผู้รับผิดชอบควบคุมดูแลการบริหารกระทรวงนี้จัดตั้งขึ้นในเดือนกรกฎาคม ปี ค.ศ.
1995 โดยการรวมกระทรวงศึกษาธิการเดิมและเกือบทั้งหมด และกระทรวงแรงงานเดิม
เข้าด้วยกัน ส่วนในการดาเนินงานจะมีคณะกรรมการการศึกษาส่วนท้องถิ่น สภาท้องถิ่น
ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบด้านการศึกษาปฏิบัติงานโดยได้รับคาแนะนาจากเจ้าหน้าที่
ที่เชี่ยวชาญทางการศึกษา อานาจการควบคุมและการบริหารโรงเรียนจะอยู่ที่ครูใหญ่
ทั้งหมด ในประเทศอังกฤษ ครูใหญ่จะมีอิสระและมีอานาจในการบริหารโรงเรียนของตน
มากกว่าครูใหญ่ประเทศอื่น ๆ ส่วนหน่วยงาน กรมการศึกษาและวิทยาศาสตร์นั้นไม่ได้เข้า
มามีส่วนเกี่ยวข้องกับการดูแลหลักสูตรหรือวิธีสอน หรือแม้แต่เข้ามาควบคุมดูแลเกี่ยวกับ
เนื้อหาหรือลักษณะของหนังสือที่อนุญาตให้โรงเรียนใช้เลย แต่จะเข้ามามีบทบาทใน
การควบคุมประสิทธิภาพในการสอน และการส่งเสริมมาตรฐานของโรงเรียนโดยการจัดหา
ครูที่ชานาญมานิเทศการสอน
4.2 กรมอนามัยและสวัสดิการสังคม (Department of Health and Social
Security) จะมีหน้าที่ดูแลสถานรับเลี้ยงเด็กสาหรับเด็กแรกเกิดถึง 5 ขวบ ซึ่งเป็นสถานที่
ให้การเลี้ยงดูเด็กเป็นส่วนใหญ่จึงเป็นที่สนองความต้องการและความจาเป็นของมารดาที่
จะต้องทางานนอกบ้าน และมารดาที่ไม่สามารถเลี้ยงดูบุตรด้วยตนเองได้ นอกจากนี้ยังรับ
เด็กที่มาจากสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมต่อสุขภาพด้วย
4.3 องค์การบริหารการศึกษาท้องถิ่น (Local Education Authorities) มีหน้าที่
รับผิดชอบในการกาหนดและจัดสรรงบประมาณให้โรงเรียนภายในแผนการบริหารโรงเรียน
ท้องถิ่น ซึ่งได้แก่ โรงเรียนของเขตและโรงเรียนอาสาสมัครโดยองค์การบริหารการศึกษา
ท้องถิ่นจะต้องมอบอานาจอย่างน้อยร้อยละ 85 ของงบประมาณที่เป็นของโรงเรียนตามที่
กาหนดไว้ให้แก่โรงเรียน งบประมาณของแต่ละโรงเรียนได้รับการจัดสรรตามหลักสูตรที่
องค์การบริหารการศึกษาท้องถิ่นกาหนด โดยได้รับการอนุมัติจากรัฐมนตรีว่าการ
61
กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งส่วนใหญ่งบประมาณที่ได้รับจะถูกกาหนดจากจานวนนักเรียน
โดยโรงเรียนมีอิสระที่จะตัดสินใจในการใช้จ่ายงบประมาณได้อย่างเต็มที่
5. บุคลากร ครูผู้สอนในระดับการศึกษาปฐมวัยในประเทศอังกฤษนั้นจะเป็นครูที่
ได้รับ การฝึกฝนเป็นเวลา 3 ปี ในมหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัยก่อนที่จะได้รับประกาศนียบัตร
การศึกษาระดับธรรมดา หลังจากนั้นครูเหล่านี้จะต้องทดลองปฏิบัติงานเป็นเวลาอีก 1 ปี
จึงถือได้ว่าเป็นครูที่มีคุณสมบัติครบตามที่กาหนดไว้” (ประภาพรรณ สุวรรณสุข. 2539 :
84) โดยครูมีเงินเดือนประจาตามสัญญาที่ทาไว้กับรัฐ แต่ไม่ใช่ข้าราชการ ครูที่สอนอยู่ใน
ระดับเด็กเล็กหรือโรงเรียนเด็กวัยแรกนั้นจะมีฐานะและได้รับเงินเดือนเช่นเดียวกับครูใน
โรงเรียนประถมศึกษา และมัธยมศึกษา ที่มีคุณวุฒิการศึกษาเท่ากันโดยรัฐให้อานาจแก่
คณะกรรมการการศึกษาส่วนท้องถิ่นที่ได้รับเลือกตั้งในการแต่งตั้งครูใหญ่และเลือกจ้าง
ครูผู้สอนนอกจากครูแล้วยังมีพยาบาลสาหรับเด็กเล็ก ซึ่งเป็นผู้ช่วยครูในโรงเรียนเด็กเล็ก
หรือในชั้นเด็กเล็ก หรือชั้นเด็กวัยแรก พยาบาลจะได้รับการฝึก 2 ปีในวิทยาลัยสาขา
การศึกษาต่อเนื่อง โดยได้ฝึกประสบการณ์ที่จาเป็นอย่างเต็มที่ในสถานเลี้ยงเด็กในท้องถิ่น
การสมัครเข้ารับการฝึกก็ไม่ได้กาหนดความรู้ทางวิชาการแต่อย่างใด และ “ผู้ที่ผ่านการฝึก
ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติครบถ้วนจะได้รับประกาศนียบัตร ของเอนเอน อี บี (NNEB)
ซึ่งเริ่มออกให้มาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1945” (สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2534 : 117)
การศึกษาปฐมวัยในประเทศสวีเดน
ประเทศสวีเดนนั้นจัดเป็นประเทศหนึ่งในยุโรปซึ่งสามารถจัดสวัสดิการสาหรับเด็ก
ปฐมวัยได้อย่างสัมฤทธิ์ผล เพราะสวีเดนให้ความสาคัญกับการศึกษาในวัยนี้ โดยมี
กฎหมายรองรับอย่างมีประสิทธิภาพ มีการตั้งวิทยาลัยครูอนุบาลและได้รับความเข้าใจ
ตลอดจนความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเป็นอย่างดี
1. ประวัติการศึกษาปฐมวัยในประเทศสวีเดน สภาพสังคมของประเทศ
สวีเดนหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 มีการเปลี่ยนแปลงมาก เช่น มีพลเมืองเพิ่มขึ้น เกิด
โรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ขึ้นในชานเมืองใหญ่ ๆ จึงมีการอพยพเข้าไปอยู่ตามเมือง
ใหญ่ ๆ ลักษณะครอบครัวแบบเดิมซึ่งเป็นครอบครัวแบบขยาย เปลี่ยนแปลงมาเป็น
ครอบครัวเดี่ยว สตรีซึ่งแต่เดิมเคยทางานในบ้านเลี้ยงดูลูกก็มีความจาเป็นจะต้องออกไป
ทางานนอกบ้านเพื่อช่วยเหลือเศรษฐกิจในครอบครัวภาระในการเลี้ยงดูเด็กจึงต้องมี
หน่วยงานอื่นเข้ามาช่วยดูแล จึงเกิดบริการการอบรมเลี้ยงดูเด็กในรูปแบบต่าง ๆ เกิดขึ้น
แต่เดิมนั้นศูนย์รับเลี้ยงเล็กถือว่าเป็นแหล่งที่ลดภาระของมารดาที่ออกไปทางาน
นอกบ้าน แต่ภายหลังมารดาก็ต่างคาดหวังในการใช้บริการที่จาเป็นนี้ว่าเป็นบริการที่อยู่
62
ภายใต้การดูแลนิเทศอย่างถูกต้องและมีคุณภาพและจะต้องสอนทักษะทางสังคมขั้น
พื้นฐานให้แก่เด็กอย่างเพียงพอก่อนจะเข้าโรงเรียนตามปกติต่อไป
อัลวา ไมล์ดาล (Alva Myrdal) เป็นผู้บุกเบิกทางการศึกษาปฐมวัยของสวีเดน
ผู้หนึ่ง เขาได้ก่อตั้งวิทยาลัยครูอนุบาลแห่งแรกขึ้นในกรุงสต๊อคโฮล์มเพื่อจะให้การฝึกอบรม
แก่บุคลากรที่ทางานในโรงเรียนอนุบาล ซึ่งต่อมาในปี ค.ศ.1960 ได้มีการจัดวางโปรแกรม
การปฏิบัติงานในโรงเรียนอนุบาลเพื่อปฏิรูปและส่งเสริมการศึกษาสาหรับเด็กวัยก่อน 7
ขวบ โดยรัฐบาลได้จัดตั้งคณะกรรมการขึ้นเพื่อดาเนินการในเรื่องนี้
2. หลักการและรูปแบบการจัดการศึกษาปฐมวัย การจัดการศึกษาปฐมวัยของ
สวีเดนนั้นจัดขึ้นเพื่อบริการแก่ครอบครัวที่สมาชิกต้องออกไปทางานนอกบ้าน โดยให้
การดูแลเอาใจใส่เด็กเป็นอย่างดี มีการจัดสภาพแวดล้อมที่ใกล้เคียงกับบ้านมากกว่าที่จะ
เป็นโรงเรียนการจัดการศึกษาปฐมวัยในสวีเดนมีรูปแบบการจัดดาเนินงานดังนี้
2.1 โรงเรียนอนุบาล (The Kindergarten) โรงเรียนอนุบาลประเภทนี้ตั้งขึ้นเพื่อ
เป็นสถานดูแลและให้การศึกษาแก่เด็กวัยอนุบาล โดยเน้นการช่วยเหลือให้เด็กปรับตัวเข้า
กับสิ่งแวดล้อมได้ โรงเรียนจะรับเด็กสองผลัด ผลัดแรกในเวลาเช้า คือช่วง 9.00 – 12.00
น. และผลัดสองในเวลาบ่ายตั้งแต่ช่วงเวลา 14.00 – 17.00 น. รับเด็กอายุตั้งแต่ 4 – 6
ขวบ แต่อาจจะยืดหยุ่นได้ในแต่ละท้องถิ่นคือถ้าท้องถิ่นใดมีเด็กมากจะรับเด็กอายุมากคือ
6 ขวบก่อน เพื่อจะได้เข้าเรียนในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 เมื่ออายุย่างเข้า 8 ขวบ ส่วนใน
ท้องถิ่นใดเด็กมีไม่มากนักก็อาจจะพิจารณารับเด็กอายุ 3 ขวบ ด้วย
2.2 สถานเลี้ยงเด็ก (Nursery) ตั้งขึ้นเพื่อช่วยเหลือมารดาที่ออกไปทางานนอก
บ้านมีรูปแบบการให้บริการคือ
1) สถานเลี้ยงเด็กกลางวัน (Day Nursery) รับดูแลเด็กตั้งแต่อายุ 6 เดือนถึง
อายุ 7 ปี ผู้ปกครองเด็กเหล่านี้ส่วนมากต้องออกไปทางานนอกบ้านหรือกาลังเรียนอยู่
หรือกาลังต้องการพี่เลี้ยงเด็กชั่วคราวในระยะเวลาสั้นๆ ศูนย์เหล่านี้จะเริ่มทาการจากเวลา 06.30–
19.00 น. ในวันธรรมดาและจากเวลา 06.30 – 14.30 น. ในวันเสาร์ส่วนในวันอาทิตย์ปิด
2) สถานเลี้ยงเด็กแบบครอบครัวในเขตเทศบาล (Municipal Family Day
Nursery) เป็นสถานเลี้ยงเด็กที่จัดตั้งขึ้นในบ้านโดยได้รับการอนุมัติจากผู้บริหารท้องถิ่น
งานส่วนใหญ่คือ การเลี้ยงเด็ก นอกจากนี้ยังรับดูแลเด็กที่มีปัญหาทางด้านสุขภาพด้วย
3) สถานเลี้ยงเด็กในเขตเกษตรกรรม (Farming Day Nursery) รับดูแลเด็ก
อายุ 1 – 7 ขวบ ที่ผู้ปกครองต้องออกไปทางานในนาระหว่างฤดูเก็บเกี่ยวเป็นการให้ บริการ
ดูแลเด็กเต็มวัน สถานเลี้ยงเด็กแบบนี้ดาเนินการโดยการบริหารส่วนจังหวัดซึ่งประสบ
ปัญหาหนัก คือ การจัดหาครูที่มีคุณวุฒิมาสอนในช่วงฤดูเก็บเกี่ยวสั้น ๆ แต่เนื่องจาก
63
ช่วงเวลานี้เป็นช่วงเวลาที่โรงเรียนธรรมดาทางตอนเหนือของสวีเดนอยู่ในระหว่างปิดภาค
เรียนพอดีจึงพอจะหาครูผู้เชี่ยวชาญมาสอนได้บ้างแต่ก็ยังไม่เพียงพอมีโรงเรียนในบาง
ท้องที่สามารถจัดโปรแกรมการสอนภาคฤดูร้อนได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสบ
ความสาเร็จอย่างมาก ทาให้ต้องขยายเป็นโปรแกรมระยะยาวตลอดปี ซึ่งทาให้การจัดหา
ครูผู้ชานาญมาสอนสะดวกขึ้นอีกมาก (สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2534 :
187)
4)สถานเลี้ยงเด็กเวลาบ่ายหรือศูนย์นันทนาการ (Afternoon nursery
Recreation Center) สถานเลี้ยงเด็กเวลาบ่ายหรือศูนย์นันทนาการจะให้บริการเด็กตั้งแต่
เวลา 16.00 น. ทุก ๆ วัน เว้นวันสุดสัปดาห์หรือวันปิดเทศกาลต่าง ๆ โดยรับดูแลเด็กที่ทาง
บ้านไม่มีใครดูแลหลังจากที่โรงเรียนอนุบาลเลิกแล้ว
3. หน่วยงานที่รับผิดชอบ การจัดการศึกษาปฐมวัยในสวีเดน รัฐบาลสนับสนนุให้
บรรดาผู้นาในท้องถิ่นอาสาสมัครเข้ามาดาเนินการหน่วยงานที่มีอานาจสูงสุดทาง
การศึกษาปฐมวัยได้แก่กระทรวงสาธารณสุขและสังคมได้แต่งตั้งคณะกรรมการ
สาธารณสุขและสวัสดิการแห่งชาติ ให้เป็นผู้ดูแลและคอยให้คาแนะนาในการดาเนินงาน
ของโรงเรียนอนุบาล การบริหารจะแบ่งออกเป็นมณฑลและท้องถิ่น โดยมีผู้รับผิดชอบคือ
คณะกรรมการบริการสังคมซึ่งเป็นสาขาของเทศบาลท้องถิ่น เป็นผู้ดูแลรับผิดชอบสถานรับ
เลี้ยงเด็กและศูนย์เด็กทั้งหมด
คณะกรรมการสาธารณสุขและสวัสดิการแห่งชาติได้จัดพิมพ์เอกสารคู่มือแนะนา
ผู้บริหารอื่นที่สนใจเกี่ยวกับวิธีจัดการศึกษาในระดับนี้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยหลักการ
แล้วถ้าผู้ใดสนใจจะตั้งโรงเรียนอนุบาลก็อาจทาได้รวมทั้งการขอรับเงินสนับสนุนจาก
รัฐบาลด้วย หากโครงการที่เสนอไปรับความเห็นชอบและอนุมัติจากคณะกรรมการ
เทศบาลท้องถิ่นแล้ว และถึงแม้ว่าโรงเรียนหลายแห่งจะดาเนินการโดยสมาคม บริษัท กลุ่ม
ของวัดหรือแม้แต่นิติบุคคลก็ตาม แต่โดยทั่วไปแล้วโรงเรียนอนุบาลส่วนใหญ่จะดาเนินการ
โดยคณะผู้บริหารท้องถิ่นเอง (สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2534 : 186)
ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาปฐมวัยเป็นความรับผิดชอบร่วมกันระหว่างรัฐบาล
เทศบาลและ ผู้ปกครอง โดยรัฐให้เงินสนับสนุนร้อยละ 35 เทศบาลท้องถิ่นให้อีกประมาณ
ร้อยละ 50 ที่เหลือผู้ปกครองจะเป็นผู้ออกเงินโดยรัฐบาลจะให้ทุนเบื้องต้น บวกกับเงินให้
กู้ยืมในอัตราที่เท่ากันทุกโรงเรียน ยกเว้นโรงเรียนที่สร้างขึ้นด้วยเงินกู้เคหะสงเคราะห์ ทุนนี้
จะไม่ให้แก่สถาบันประเภทศูนย์ที่เปิดสอนได้เต็มวัน ศูนย์เหล่านี้จะต้องไปขอรับเงินทุน
สนับสนุนจากทุนเพิ่มเติมของรัฐบาลแทน
64
คณะกรรมการสาธารณสุขและสวัสดิการแห่งชาติ จะพิจารณาอนุมัติพร้อมทั้ง
จ่ายเงินให้แก่โรงเรียนและผู้ที่ทาหน้าที่จ่ายเงินคือสานักงานการบริหารการแบ่งส่วนและ
เศรษฐกิจแห่งชาติ (National Office for Administrative Rationalization and Economy)
และเงินทุนเพิ่มเติมสาหรับโรงเรียนที่เปิดสอนไม่ต่ากว่าวันละ 5 ชั่วโมงนั้นรัฐบาลจะเป็นผู้จ่าย
ให้ในอัตราร้อยละ25ต่อคน เงินนี้จะต้องผ่านการอนุมัติของคณะกรรมการซึ่งจะเป็นผู้
จ่ายเงินให้โดยโรงเรียนที่จะได้รับเงินช่วยเหลือนี้จะต้องมีการดาเนินการและบุคลากรที่มี
ประสิทธิภาพที่สามารถจัดความสะดวกต่าง ๆ ให้เหมาะกับความต้องการของเด็กได้อย่าง
ดี (สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2534 : 188)
4. หลักสูตร หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยของประเทศสวีเดนมาจากปรัชญา
การศึกษาทางการศึกษาปฐมวัย ซึ่งมีพื้นฐานมาจากทฤษฎีการศึกษาของ อาร์โนลกีเซล
(Anold Gesell) จอง เพียเจท์ (Jean Peaget) และอิริค อิริคสัน (Erik Erikson) คือ ครู
จะต้องเรียนรู้เกี่ยวกับอัตราและขั้นตอนของพัฒนาการเด็กทั่ว ๆ ไป และจะใช้วิธีการสอนที่
มีส่วนคล้ายคลึงกับโรงเรียนเด็กเล็กของอังกฤษที่เรียกว่าวิธีการสอนแบบค้นพบด้วยตนเอง
(Discovery Method) จุดประสงค์ในการสอนก็เพื่อกระตุ้นให้เด็กเกิดความสนใจในสิ่งแวดล้อมทั้งทาง
สังคมและทางกายภาพให้มากขึ้นและในสภาพแวดล้อมที่ปราศจากความกดดันเช่นนี้ จะช่วยให้
เด็กได้ค้นพบและเรียนรู้เกี่ยวกับโลกของตนเอง
ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยไม่ได้เน้นการเตรียมเด็กอย่างเป็นเรื่องเป็นราวและมี
การเตรียมสาหรับการสอนอย่างจริงจังน้อยมาก เด็ก ๆ จะมีอิสระที่จะทดลองค้นคว้าสิ่ง
ต่าง ๆ ที่ตนเองสนใจได้ โดยมีผู้ใหญ่คอยดูแลและให้คาแนะนาเมื่อเด็กต้องการ เขาจะ
ได้รับการเตรียมตัวให้พร้อมในทักษะต่าง ๆ ที่จาเป็นสาหรับการเข้าร่วมในสังคมกับ
เพื่อนรุ่นราวคราวเดียวกัน หรือกับคนอื่นรอบ ๆ ตัวเด็ก จุดมุ่งหมายที่สาคัญของหลักสูตร
ก็คือ ให้เด็กได้มีพัฒนาการทางด้านบุคลิกภาพ มีทัศนคติที่ดีต่อตนเอง และมีอิสระเสรีที่
จะเรียนรู้ในสิ่งต่าง ๆ ซึ่งจะเป็นวิธีการช่วยพัฒนาเด็กทั้งทางสังคม อารมณ์ ร่างกาย
และสติปัญญา วิชาที่จัดสอนให้แก่เด็ก ได้แก่ ทักษะการช่วยเหลือตนเองการพัฒนา
กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็ก การเคารพกฎและระเบียบข้อห้ามต่าง ๆ ของสังคมและ
ความสามารถในการติดต่อสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
อาคารที่ใช้ในการเรียนจะเป็นแบบชั้นเดียว ซึ่งออกแบบสร้างขึ้นเป็นพิเศษสาหรับ
เด็กแต่ละกลุ่มอายุ มีเครื่องเล่นและอุปกรณ์การเรียนรู้ไว้อานวยความสะดวกกับเด็กด้วย
5. บุคลากร ในประเทศสวีเดนมีการตั้งวิทยาลัยครูอนุบาลเป็นวิทยาลัยเอกเทศ
เฉพาะ หลักสูตรการศึกษาจะเน้นหนักไปทางวิชาการ ซึ่งจะเป็นสวัสดิการแก่เด็กปฐมวัย
โดยเฉพาะโดยไม่เลือกว่าเด็กนั้นอยู่ในสภาพใดวิทยาลัยครูอนุบาลจึงผลิตนักศึกษาเพื่อ
65
รับผิดชอบทางสวัสดิการของชุมชนเกี่ยวกับเด็ก ตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุ 7 ขวบทั่วประเทศ
ทั้งในและนอกโรงเรียนรวมทั้งในสถานเลี้ยงดูเด็กอ่อนของรัฐหรือสมาคมองค์การต่าง ๆ
ดังนั้นครูอนุบาลของสวีเดนจึงได้รับการอบรมและฝึกฝนมาเป็นอย่างดี ครูจะผ่าน
การศึกษา 2 - 4 ปี จากวิทยาลัยรัฐบาลจะจ่ายเงินเดือนแก่ครูตามวุฒิ โรงเรียนที่เปิดสอน
เต็มวันจะต้องมีครูใหญ่และครูอนุบาลห้องละ 2 คน อัตราส่วนของครูต่อเด็กอายุเกิน
2 ขวบ จะเป็น 1 : 5 ถ้าเป็นเด็กทารกอัตราส่วนจะเป็น 1 : 4 และยิ่งถ้าเป็นเด็กที่จะต้อง
ดูแลเป็นพิเศษ อัตราส่วนก็จะยิ่งต่าลงอีกในกรณีที่ขาดแคลนครูอนุบาลโรงเรียนก็จะต้อง
จัดหาพยาบาลแผนกเด็กมาประจาการแทน
สาหรับโรงเรียนที่เปิดสอนไม่เต็มวันอัตราส่วนของครูต่อเด็กจะเป็น 1 : 40 สาหรับ
เด็กอายุ 5 – 6 ขวบ และ 1 : 30 สาหรับเด็กที่อายุน้อยลงมาอัตราส่วนสาหรับบางโรงเรียน
ที่มี การจัดแบบสบาย ๆ คือ 1 : 5
สถิติการโยกย้ายสับเปลี่ยนบุคลากรมีน้อยมาก เนื่องจากครูสตรีมีสิทธิพักคลอด
บุตรได้นานถึง 6 เดือน จึงไม่มีความจาเป็นจะต้องลาออกเพื่อเลี้ยงดูบุตรที่เพิ่งคลอด ครู
ส่วนใหญ่จะมีอายุเฉลี่ยประมาณ 20 ปี (Muecller 1971 อ้างในสานักงานคณะกรรมการ
วิจัยแห่งชาติ. 2534 : 186)
สาหรับในสถานเลี้ยงเด็กแบบครอบครัวจะมีมารดาทางานในการช่วยดูแลเด็ก
มารดาเหล่านี้จะต้องผ่านการฝึกอบรมเกี่ยวกับการอบรมเลี้ยงดูเด็กเป็นเวลา 90 ชั่วโมง
นอกจากนี้จะต้องร่วมสัมมนาครูและผู้ปกครองและร่วมประชุมเกี่ยวกับการเลี้ยงดูเด็ก เพื่อ
จะได้มีความรู้และประสบการณ์เพิ่มมากขึ้นด้วย
สถานเลี้ยงเด็กหรือศูนย์เลี้ยงเด็กจะมีคณะทางานที่ประกอบไปด้วยผู้อานวยการ
หรือครูใหญ่ ครูอนุบาล พยาบาล คนครัว และภารโรง
การศึกษาปฐมวัยในอเมริกา
ประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นประเทศหนึ่งในทวีปอเมริกาเหนือ ซึ่งมีความเจริญทั้ง
ทางด้านเศรษฐกิจ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการศึกษาเป็นอย่างมาก ประเทศนี้จัดได้
ว่าเป็นประเทศผู้นาที่สาคัญของโลกดังนั้นจึงน่าสนใจที่จะศึกษาการจัดการศึกษาใน
ประเทศนี้โดยมีรายละเอียดดังนี้
1. ประวัติการศึกษาปฐมวัยในสหรัฐอเมริกา
การจัดการศึกษาปฐมวัยในประเทศสหรัฐอเมริกานั้นประกอบด้วยแนวความคิดที่
หลากหลายรูปแบบ และหลายบุคคล จึงมีรูปแบบการจัดการศึกษาแต่ละแห่งที่แตกต่างกัน
66
ไปซึ่งสามารถแบ่งวิธีการจัดออกเป็น 3 รูปแบบใหญ่ ๆ ด้วยกัน คือ โรงเรียนอนุบาล
(Kindergarten) โรงเรียนเด็กเล็ก (Nursery School) และศูนย์เลี้ยงเด็ก (Day Care Center)
ซึ่งแต่ละรูปแบบจะมีประวัติความเป็นมาสรุปได้ดังนี้ (ประภาพรรณ สุวรรณสุข. 2539 :
93 – 99 อ้างอิงจากสานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2534 : 132 – 135)
1.1 โรงเรียนอนุบาล แนวคิดเรื่องการศึกษาปฐมวัยในสหรัฐอเมริกาใน
ระยะแรกได้ใช้แนวความคิดของเฟรอเบลจากประเทศเยอรมนี คือ ในปี ค.ศ. 1853
นางคาร์ล เชอร์ซ (Mrs.Carl Schurz) ซึ่งเป็นลูกศิษย์ของเฟรอเบล ได้จัดตั้งโรงเรียน
อนุบาลแห่งแรกขึ้นที่เมือง วอเตอร์ทาวน์ (Watertown) มลรัฐ วิสคอนซิน (Wisconsin) โดย
สอนเป็นภาษาเยอรมัน ส่วนโรงเรียนอนุบาลแห่งแรกในอเมริกาที่สอนเป็นภาษาอังกฤษได้
ตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1860 ที่เมืองบอสตัน (Boston) โดยนางสาวอลิซาเบท พีบอดี้ (Elisabeth
Peabody) และในปี ค.ศ. 1873 ซูซาน อี โบลว์ (Susan E.Blow) ได้เปิดโรงเรียนอนุบาล
ของรัฐบาลแห่งแรกขึ้นที่เมืองแซงต์ลุย(St. Louis)แต่การศึกษาปฐมวัยไม่ค่อยได้รับความ
สนใจ จนกระทั่งอีกประมาณ 10 – 20 ปีต่อมา จึงได้มีสมาคมการกุศลต่าง ๆ ตลอดจน
สมาคมผู้เป็นแม่ ได้เปิดโรงเรียนอนุบาลขึ้นอีกมากมาย จุดมุ่งหมายในการเปิดโรงเรียน
อนุบาลในช่วยนั้น เพื่อจะช่วยเหลือเด็กที่ยากจน เหตุนี้โรงเรียนอนุบาลที่เปิดในเวลานั้นส่วน
ใหญ่จึงเปิดในเมืองใหญ่ ๆ ที่มีคนอพยพมาจากยุโรปและทาให้เกิดแหล่งเสื่อมโทรมเป็น
จานวนมาก
ตอนต้นศตวรรษที่ 20 การศึกษาปฐมวัยในประเทศสหรัฐอเมริกาเจริญมากและ
นักการศึกษาในประเทศสหรัฐอเมริกาก็ยอมรับความคิดในการจัดการศึกษาของเฟรอเบล
โดยเชื่อว่าการจัดโปรแกรมการศึกษาปฐมวัยตามแบบของเฟรอเบลนั้นดาเนินไปในทิศทาง
ที่เหมาะสมไม่มีการใช้กิจกรรมที่เฉพาะเจาะจง ต่อมาได้มีการศึกษาถึงพัฒนาการของเด็ก
มากขึ้น จากความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาพัฒนาการของเด็กนี่เอง จึงทาให้การจัด
การศึกษาของเด็กปฐมวัยในปัจจุบันนี้จัดได้เหมาะสมและสอดคล้องกับพัฒนาการและ
ความต้องการของเด็ก
ขณะที่การศึกษาปฐมวัยในสหรัฐอเมริกากาลังพัฒนาไปเรื่อย ๆ ก็มีนักการศึกษาที่
สาคัญอีกคนหนึ่งคือ จอห์น ดิวอี้ (John Dewey, 1859 - 1952) ได้รวบรวมความคิดของ
นักการศึกษาหลายคน ได้แก่ โคมินิอุส รูสโซ เปสตาลอสซี่ และเฟรอเบลมาประยุกต์ใช้
ตามความคิดของดิวอี้นั้น เขาเห็นว่าการศึกษาเป็นขบวนการของการดาเนินชีวิตในปัจจุบัน ไม่ใช่
การเตรียมการเพื่ออนาคต โรงเรียนควรทาหน้าที่เหมือนสังคมเล็ก ๆ ที่จะก่อให้เกิด
ความร่วมมือกัน การตัดสินใจร่วมกันความปรองดองในกิจกรรมความเมตตากรุณา
การแบ่งปันกันและการมีส่วนร่วมในกิจกรรมการศึกษาจาเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจาก
67
นักเรียนในการทากิจกรรมต่าง ๆ การเรียนรู้เกิดจากประสบการณ์ตรงไม่ใช่จากการอ่าน
เท่านั้น การจัดหลักสูตรจะต้องเตรียมประสบการณ์ที่สม่าเสมอและต่อเนื่องกัน ครูจะต้อง
มีความรับผิดชอบในการเลือกและ รวบรวมประสบการณ์ให้เหมาะสมที่สุดแก่เด็ก
การปฏิรูปของการศึกษาปฐมวัยได้ทามาโดยตลอดช่วงปี ค.ศ.1920 – 1930 เป็น
การนาไปสู่การศึกษาปฐมวัยสมัยใหม่ ซึ่งเป็นแบบอย่างที่ใช้กันในปัจจุบันนี้ องค์ประกอบที่
นาไปสู่ การเปลี่ยนแปลงในช่วงหลังจากปี ค.ศ. 1930 นั้นเป็นผลเนื่องมาจากเศรษฐกิจใน
ระหว่างปี ค.ศ. 1930 – 1940 ซึ่งทาให้ โรงเรียนอนุบาลส่วนใหญ่ไม่มีเงินทุน สถานที่และ
ไม่ได้รับความสนใจจากประชาชน อีกทั้งต้องแยกออกไปจากส่วนหนึ่งของโรงเรียนรัฐบาล
จากนั้นการศึกษาปฐมวัยได้ซบเซาเรื่อยมาจนกระทั่งในช่วงปี ค.ศ. 1950 – 1960 ได้มี
การเคลื่อนไหวโดยทางกรมสุขภาพจิตให้ความสนใจในเรื่องการฝึกฝนนิสัยแก่เด็ก จึงทาให้
การศึกษาปฐมวัยกลับมาสู่ความสนใจอีกครั้งหนึ่ง และความสนใจนั้นได้ขยายไปถึงการพัฒนา
สติปัญญาของเด็ก จึงทาให้มีการสารวจหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยอีกครั้งหนึ่ง อีกทั้งยังมี
ทฤษฎีทางจิตวิทยาซึ่งให้การสนับสนุนความสาคัญของการศึกษาปฐมวัย เหตุนี้เองทาง
สาธารณสุขจึงได้ให้การสนับสนุนเพิ่มขึ้น ทาให้การศึกษาปฐมวัยแผ่ขยายออกไปในรัฐ
ต่าง ๆ และกลายเป็นส่วนหนึ่งของระบบการศึกษาของรัฐไปจนกระทั่ง ปัจจุบันนี้
1.2 โรงเรียนเด็กเล็ก โรงเรียนเด็กเล็กได้เริ่มเปิดครั้งแรกในปี ค.ศ. 1826 โดย โร
เบิร์ต ดี โอเว็น (Robert D. Owen) ที่นิวฮาร์ โมนี (New Harmony) ในรัฐอินเดียน่าและ
ในช่วงปี ค.ศ. 1920 ครูที่เคยทางานกับพี่น้องตระกูลแม็คมิลแลน ซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งโรงเรียน
เด็กเล็กในประเทศอังกฤษได้ย้ายมาอยู่ที่อเมริกา และได้สาธิตวิธีการจัดโรงเรียนเด็กเล็ก
แบบอังกฤษให้ดูจึงทาให้โรงเรียนเด็กเล็กเริ่มเกิดขึ้นในอเมริกาโดยในระยะแรกจัดที่
วิทยาลัยครูแล้วจึงมีหน่วยงานอื่น ๆ จัดการศึกษาชั้นเด็กเล็กเพิ่มขึ้น เช่น โรงเรียนเด็กเล็ก
ของคณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย (Merill – Palmer Nursery School) และ
หน่วยงานต่าง ๆ ในอเมริกาและมีหลายโรงเรียนที่รับเด็กต่ากว่าอายุ 3 ขวบ
ช่วงเวลา 10 ปี ต่อมาโรงเรียนเด็กเล็กได้ขยายออกไปอย่างช้า ๆ ทั่วอเมริกามี
หน่วยงานหลายหน่วยงานจัดโรงเรียนเด็กเล็ก ซึ่งแต่ละแห่งนั้นจุดมุ่งหมายในการจัดตั้ง
โรงเรียนขึ้นอยู่กับผู้ให้เงินทุนอุดหนุน เช่น มหาวิทยาลัยจัดโรงเรียนเด็กเล็กขึ้นเพื่อเป็นที่
ทดลองวิจัยอีกทั้งยังเป็นแหล่งของการฝึกหัดครู ส่วนโรงเรียนเด็กเล็กที่จัดขึ้นโดยองค์กร
สงเคราะห์นั้นมีจุดมุ่งหมายเพื่อดูแลเด็กที่มาจากครอบครัวที่ยากจน
ในปี ค.ศ.1930 สภาพเศรษฐกิจของอเมริกาตกต่าทั่วประเทศ โรงเรียนเด็กเล็กก็
ได้รับผลกระทบเช่นเดียวกับโรงเรียนอนุบาล โรงเรียนต้องยุติการจ้างครูเพราะไม่มีเงินจ้าง
ทาให้ครูตกงานเป็นจานวนมากเป็นภาระหนักแก่รัฐบาลเหตุนี้ทางรัฐบาลจึงได้ออก
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55

More Related Content

What's hot

ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnflimgold
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงKru Tew Suetrong
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)Thitaree Samphao
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีmaethaya
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์แวมไพร์ แวมไพร์
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55Decode Ac
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์Lamai Fungcholjitt
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55Decode Ac
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7ekroojaja
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Taraya Srivilas
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 

What's hot (20)

ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
 

Similar to บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55

แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
โครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต งโครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต งSittikorn Thipnava
 
Chapter5 part1 2
Chapter5 part1 2Chapter5 part1 2
Chapter5 part1 2Ptato Ok
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..NooCake Prommali
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..jiraporn1
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..NooCake Prommali
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 5
รายงานผลจุดเน้นที่ 5รายงานผลจุดเน้นที่ 5
รายงานผลจุดเน้นที่ 5kruchaily
 
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางguest6e231b
 
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางแนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางkruthai40
 
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]CMRU
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012tassanee chaicharoen
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐานtassanee chaicharoen
 
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554Nattapon
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 

Similar to บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55 (20)

04028 683
04028 68304028 683
04028 683
 
test
testtest
test
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
 
โครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต งโครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต ง
 
Chapter5 part1 2
Chapter5 part1 2Chapter5 part1 2
Chapter5 part1 2
 
4.pdf 55
4.pdf 554.pdf 55
4.pdf 55
 
4.pdf 55
4.pdf 554.pdf 55
4.pdf 55
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..
 
บทที่ 3.ใหม่
บทที่ 3.ใหม่บทที่ 3.ใหม่
บทที่ 3.ใหม่
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 5
รายงานผลจุดเน้นที่ 5รายงานผลจุดเน้นที่ 5
รายงานผลจุดเน้นที่ 5
 
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางแนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
 
แผ่นพับ Brochure3
แผ่นพับ Brochure3แผ่นพับ Brochure3
แผ่นพับ Brochure3
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
 
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
 

More from Decode Ac

บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55Decode Ac
 
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55Decode Ac
 
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55Decode Ac
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55Decode Ac
 

More from Decode Ac (7)

บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
 
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
 
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2
 
Chapter 1
Chapter 1Chapter 1
Chapter 1
 

บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55

  • 1. บทที่ 3 การศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา แผนการสอนประจาบท 1. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. เพื่อให้สามารถอธิบายการจัดการศึกษาปฐมวัยในต่างประเทศได้ 2. เพื่อให้สามารถอธิบายหลักการรูปแบบการจัดการศึกษาปฐมวัยในต่าง ประเทศได้ 3. เพื่อให้สามารถวิเคราะห์รูปแบบการจัดการศึกษาปฐมวัยในต่างประเทศได้ 4. เพื่อให้สามารถวิเคราะห์จุดเด่นจุดด้อยของการจัดการศึกษาปฐมวัยใน ต่างประเทศได้ 2. เนื้อหา 1. การจัดการศึกษาปฐมวัยของประเทศยุโรป 2. การจัดการศึกษาปฐมวัยของประเทศสหรัฐอเมริกา 3. ปรัชญาทางการศึกษาปฐมวัย 4. ความเป็นมาของการจัดการศึกษาระดับปฐมวัย 5. หลักการจัดการศึกษาของแต่ละประเทศ 6. หลักสูตรการศึกษาระดับปฐมวัย 7. หน่วยงานที่รับผิดชอบ 8. บุคลากรที่เกี่ยวข้อง 3. กิจกรรมการเรียนรู้ 1. ศึกษาเอกสารการสอนและตาราที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งสรุปสาระสาคัญ 2. การอภิปราย ซักถาม สรุปการเรียนจากสไลด์ (Power Point) 2. แบ่งกลุ่มศึกษาค้นคว้า การจัดการศึกษาปฐมวัยในต่างประเทศ 3. นาเสนอผลการศึกษาค้นคว้าการจัดการศึกษาปฐมวัยของต่างประเทศ 4. วิเคราะห์ลักษณะเด่นลักษณะด้อยของการจัดการศึกษาปฐมวัยในแต่ละประเทศ 5. ทดสอบหลังเรียน และแบบฝึกหัดท้ายบท 4. สื่อการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการศึกษาปฐมวัย 2. สไลด์ประกอบการสอน
  • 2. 52 3. เว็บไซต์อาจารย์ผู้สอน 4. เว็บไชต์การจัดการศึกษาปฐมวัยของต่างประเทศ 5. ซีดี วีดีโอ ที่เกี่ยวข้อง 5. การประเมินผล 1. ผลการนาเสนอศึกษาค้นคว้าเอกสารรายงาน 2. ผลการนาเสนอการศึกษาค้นคว้าทาง internet 3. ผลการศึกษาค้นคว้าการจัดการศึกษาปฐมวัยของแต่ละประเทศ
  • 3. 53 บทที่ 3 การศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา จากการศึกษาแนวคิดและทฤษฎีของการนักการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา ปฐมวัยจะพบว่า ทวีปยุโรปเป็นแหล่งกาเนิดแนวคิดเกี่ยวกับการศึกษาปฐมวัยนับตั้งแต่ ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา เพราะได้มีการศึกษาเรื่องเด็กเล็ก ๆ มากขึ้นและต่อเนื่องมาถึง ปัจจุบันผลการศึกษาค้นคว้าทาให้เข้าใจธรรมชาติของเด็กมากขึ้น ทาให้เข้าใจได้ว่าจะจัด สภาพแวดล้อมในโรงเรียนอย่างไร จะจัดการเรียนการสอนอย่างไรจึงจะพัฒนาเด็กได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ความคิดในยุคแรก ๆ ที่ย้าให้เห็นความสาคัญของตัวผู้เรียนคือเด็ก ต่อมา ได้วิวัฒนาการมาเป็นหลักการศึกษาและวิธีการสอนเด็กปฐมวัย และใช้ถือเป็นแบบอย่างใน การจัดการศึกษาปฐมวัยที่ใช้จนถึงปัจจุบันนี้ และได้แพร่หลายไปในทวีปอื่น ๆ โดยเฉพาะ ทวีปยุโรป และอเมริกาเหนือเป็นต้น มีประเทศที่ได้รับการยอมรับว่ามีความเจริญในทุก ๆ ด้านโดยเฉพาะทางด้านการศึกษา เช่น ประเทศสหรัฐอเมริกา ก็ยังได้รับอิทธิพลแนวคิด ทางการศึกษาปฐมวัยมาจากทวีปยุโรป และต่อมาจึงได้พัฒนาแนวคิดของตนขึ้นมา ภายหลัง แต่อย่างไรก็ตามประเทศในแถบยุโรปและอเมริกาได้พัฒนารูปแบบการจัด การศึกษาปฐมวัยได้ดีมากขึ้นตามลาดับ สามารถนาเป็นแบบอย่างในการจัดการศึกษาได้ เป็นอย่างดี ในบทนี้จะได้กล่าวถึงการจัดการศึกษาของแต่ละประเทศในประเด็นสาคัญดังนี้ 1. ปรัชญาทางการศึกษาปฐมวัย 2. ความเป็นมาของการจัดการศึกษาระดับปฐมวัย 3. หลักการจัดการศึกษาของแต่ละประเทศ 4. หลักสูตรการศึกษาระดับปฐมวัย 5. หน่วยงานที่รับผิดชอบ 6. บุคลากรที่เกี่ยวข้อง การศึกษาปฐมวัยในยุโรป ประเทศแถบยุโรปเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว โดยประเทศเหล่านี้มีความก้าวหน้าใน ด้านต่าง ๆ มากมาย เช่น การพัฒนาทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ด้านการจัด การศึกษา โดยเฉพาะการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยในทวีปยุโรปได้มีการพัฒนารูปแบบ แนวทางวิธีการจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพจนเป็นที่ประจักษ์และเป็นตัวอย่างแก่ ประเทศอื่น ๆ ทั่วโลกประเทศยุโรปที่มีการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยที่นามาเป็นตัวอย่าง พอสังเขปดังนี้
  • 4. 54 การศึกษาปฐมวัยในประเทศอังกฤษ ประเทศอังกฤษเป็นประเทศหนึ่งในทวีปยุโรป เป็นเกาะอยู่กลางมหาสมุทร ประเทศอังกฤษ ประกอบด้วยแคว้นอิงแลนด์ (England) สกอตแลนด์ (Scotland) เวล (wales) และไอร์แลนด์ (Ireland) รวมกันเรียกว่าสหราชอาณาจักร (the United Kingdom) เป็นประเทศที่เจริญมาก ในยุโรป 1. ประวัติการศึกษาปฐมวัยในประเทศอังกฤษ ประภาพรรณ สุวรรณสุข (2539 : 82 : 83) กล่าวถึงการศึกษาปฐมวัยในประเทศอังกฤษ สรุปได้ว่า การศึกษา ปฐมวัยในประเทศอังกฤษเริ่มจากการตั้งโรงเรียนเด็กเล็ก โดยโรเบิรต์ โอเว็น (Robert Owen) ที่เมืองแลนาร์ค (Lanark) ในปี ค.ศ. 1816 โดยโรเบิร์ต โอเว็น ได้รับอิทธิพลแนวคิด ในการจัดโรงเรียนเด็กเล็กมาจากปรัชญาและผลงานของเฟรอเบล (Froebel) รูสโซ (Rousseau) และโอเบอร์ลิน (Oberlin) เขาเน้นวิธีการเรียนรู้ของเด็กโดยการให้เด็กได้ลงมือ กระทาเอง สารวจสิ่งต่าง ๆ รอบตัวในชีวิตประจาวันทาให้เด็กเกิดความอยากรู้อยากเห็น อีกทั้งสร้างบรรยากาศที่สนุกสนานในการที่เด็กพูดคุยกับผู้ใหญ่ ไม่มีการลงโทษ และการสร้าง ความกลัวให้เกิดขึ้นแก่เด็กในโรงเรียนเด็กเล็กของโอเว็นนั้นจะไม่มีการสอนที่มีลักษณะเป็นแบบ เป็นแผน ไม่มีการใช้ตารางกิจกรรม นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมให้เด็กทา กิจกรรมเหล่านั้น ได้แก่ การเล่นดนตรี การเต้นรา การออกกาลังกาย กิจกรรมเหล่านั้นจะเปลี่ยนไปเรื่อย ๆ ขึ้นอยู่กับความต้องการของเด็กเป็นหลัก โอเว็น เชื่อว่า เด็กมีความสาคัญอย่างยิ่งที่จะต้อง ได้รับการฝึกโดยเฉพาะเด็กที่อยู่ในช่วงอายุระหว่างตั้งแต่ 1ขวบ จนถึงวัยเข้าโรงเรียน (ประมาณ 6 ขวบ) โอเว็นมีความเห็นว่า การที่จะสร้างพลเมืองที่ดีและมีประโยชน์ต่อประเทศชาตินั้น จาเป็นที่จะต้องให้มีการฝึกฝนมาตั้งแต่เด็กยังเล็กอยู่ แต่ทว่าความคิดและวิธีการสร้าง โรงเรียนของเขานั้นมีความล้าหน้าเกินไปในช่วงนั้น จึงไม่ได้รับการยอมรับเท่าที่ควร ถึงแม้ จะมีผู้เข้าใจและสร้างโรงเรียนเด็กเล็กตามอย่างเขาก็ตาม เช่น วิลเดอร์สปิน (Wilderspin) และคนอื่น ๆ โรงเรียนเหล่านั้นก็ไม่ประสบความสาเร็จเท่าที่ควร จนถึงช่วงต้นศตวรรษที่ 20 ชาวอังกฤษจึงเริ่มเข้าใจและเห็นความสาคัญของโรงเรียนเด็กเล็กขึ้นมาผู้ที่ให้ ความสนใจและเห็นความสาคัญอย่างแท้จริงเป็นพวกชนชั้นกลางที่รักความก้าวหน้าและมี สติปัญญาคนพวกนี้ได้ส่งลูกหลานของตนไปเรียนที่โรงเรียนเด็กเล็กและต่อมาได้มีกลุ่ม อาสาสมัครต่าง ๆ จัดการศึกษาทั่วไปให้แก่เด็กที่อายุต่ากว่า 5 – 6 ปี เพื่อช่วยเหลือ ครอบครัวที่พ่อและแม่ต้องออกไปทางานนอกบ้าน ในปี ค.ศ.1870 ได้มีพระราชบัญญัติการศึกษาเกิดขึ้น มีผลทาให้เด็กที่มีอายุต่ากว่า 5 ขวบ สามารถเข้าโรงเรียนได้ ทาให้จานวนนักเรียนในโรงเรียนอนุบาลเพิ่มขึ้นอย่างมากดังจะเห็น
  • 5. 55 ได้ว่าในปี ค.ศ. 1900 มีนักเรียนที่มีอายุระหว่าง 3 – 5 ปี จานวนทั้งสิ้น 622,498 คน ประมาณ 43.10 % ของเด็กที่มีอายุระหว่าง 3 – 5 ปี เข้าเรียนในโรงเรียนเด็กเล็กซึ่ง โรงเรียนเด็กเล็กในสมัยนั้นใช้วิธีการสอนที่เข้มงวด คือ บังคับให้เด็กนั่งตัวตรงในชั้นเรียน ไม่เปิดโอกาสให้เด็กได้เคลื่อนไหวและทากิจกรรมใดเลย ในปี ค.ศ.1907 คณะกรรมการการศึกษาได้ทาการศึกษาถึงผลการเรียนในโรงเรียน อนุบาลโดยพบว่า เด็ก ๆ ไม่ได้เรียนรู้อะไรเพิ่มขึ้นเลย นอกจากนั้นในรายงานยังแสดงให้ เห็นว่าผู้ปกครองที่มีฐานะดีควรงดส่งลูกของตนเข้าเรียนในโรงเรียนอนุบาลแต่กลับ สนับสนุนให้ผู้ปกครองที่มีฐานะยากจนไม่สามารถดูแลลูกของตนได้ควรจะส่งไปเรียนที่ โรงเรียนอนุบาล เพราะว่าโรงเรียนอนุบาลนั้นเหมาะสมกับเด็กที่มาจากครอบครัวที่ยากจน ต่อมาในปี ค.ศ.1910 ได้ทาการสารวจนักเรียนที่เข้าเรียนในโรงเรียนอนุบาลพบว่า จานวนเด็กที่เข้าเรียนในโรงเรียนอนุบาลลดลงเหลือเพียง 22.7 % ทั้งนี้เนื่องมาจากมี รายงานว่าเด็กที่อยู่ในโรงเรียนอนุบาลนั้นแทบจะไม่ได้เรียนรู้อะไรเพิ่มขึ้นเลยขณะอยู่ใน โรงเรียน ในปี ค.ศ. 1911 ได้มีผู้สานแนวคิดทางการศึกษาปฐมวัยต่อคือสองพี่น้องตระกูล แม็คมิลแลน (Mcmillans) ซึ่งทาให้เกิดความเคลื่อนไหว ในการศึกษาปฐมวัยขึ้นมาอีกครั้ง หนึ่ง โดยการเปิดโรงเรียนชั้นเด็กเล็กขึ้น จากความพยายามของพี่น้องตระกูลแม็คมิลแลนนี้ เองที่เป็นสาเหตุทาให้โรงเรียนเด็กเล็กมีการพัฒนาและคงอยู่ตราบจนทุกวันนี้ อีกทั้งทาให้ เกิดการฝึกหัดครูสาหรับเด็กเล็กขึ้นมาอีกด้วย ต่อมาในปี 1918 ได้มีพระราชบัญญัติให้ใช้ เงินของรัฐอุดหนุนการศึกษาชั้นเด็กเล็กขึ้นอีกด้วย ในเวลานั้นได้เริ่มมีการยอมรับกันแล้วว่าการที่เด็กอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ไม่ดีอาจมีผล กระทบกระเทือนต่อสติปัญญาของเด็ก ดังนั้นการที่เด็กมีโอกาสเข้าเรียนในโรงเรียนเด็ก เล็กจะช่วยให้เด็กพัฒนาสติปัญญาได้ดีขึ้น นอกจากนี้โรงเรียนเด็กเล็กยังสามารถช่วย ทดแทนสภาพ การดูแลเด็กจากทางบ้านได้ พร้อมทั้งช่วยพัฒนา สุขภาพและดูแลเด็กใน ขณะที่แม่ต้องออกไปทางานนอกบ้าน แต่อย่างไรก็ตาม ในปี 1929 มีโรงเรียนเด็กเล็ก เหลือเพียง 28 แห่ง และมีเด็กเพียง 1,564 คน ซึ่งอาจเป็นผลมาจากรายงานการศึกษา ของคณะกรรมการการศึกษาและสภาวะเศรษฐกิจตกต่า แนวคิดในการจัดโรงเรียนเด็กเล็ก ของพี่น้องตระกูลแม็คมิลแลนนั้นมุ่งที่การเลี้ยงดูเด็กด้วยการให้อาหารที่ถูกต้องตามหลัก โภชนาการ จัดกิจกรรมช่วยพัฒนาทางร่างกายรวมทั้งการเล่นดนตรี การเคลื่อนไหว ร่างกาย และการอยู่ในที่มีอากาศบริสุทธิ์ ในช่วงปี ค.ศ. 1936 โรงเรียนเด็กเล็กมีจุดมุ่งหมายเพื่อจะดูแลรักษาเด็กที่อ่อนแอ ต่อมาคนเริ่มยอมรับความคิดของเฟรอเบล อีกทั้งได้รับอิทธิพลจากความคิดของดิวอี้จึง
  • 6. 56 ทาให้การจัดโรงเรียนแบบโอเว็นถูกนากลับมาใช้อีกครั้งหนึ่ง โดยเน้นการสร้าง ความสัมพันธ์ระหว่างเด็กและผู้ใหญ่ อีกทั้งมีการพัฒนาอารมณ์ สติปัญญา และภาษาของ เด็กด้วย ในปี ค.ศ.1944 ได้มีพระราชบัญญัติการศึกษา กาหนดให้คณะกรรมการการศึกษาส่วน ท้องถิ่น ตระหนักถึงความต้องการในการจัดการศึกษาชั้นเด็กเล็กให้แก่เด็กอายุต่ากว่า 5 ขวบ (สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2534 : 114 – 115) จนกระทั่งถึงปี ค.ศ. 1964 ได้มีการเปลี่ยนแปลงพระราชบัญญัติการศึกษาบางประการ ทาให้โรงเรียนเด็กเล็ก เพิ่มขึ้นอีกเล็กน้อย 2. หลักการและรูปแบบการจัดการศึกษาปฐมวัย การจัดการศึกษาภาคบังคับ ของประเทศอังกฤษกาหนดให้เด็กเริ่มเรียนหนังสือเมื่ออายุ 5 ขวบ ส่วนการศึกษาของเด็ก อายุต่ากว่า 5 ขวบ เป็นการศึกษาก่อนภาคบังคับ ซึ่งให้จัดตามดุลพินิจขององค์การ บริหารการศึกษาส่วนท้องถิ่น (Local Education Authority) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1991 รัฐบาลได้ ให้พันธะสัญญาที่จะจัดหาที่เรียนให้แก่เด็กอายุ 4 ขวบทุกคนตามที่ผู้ปกครองประสงค์ โดยจะ ค่อย ๆ เพิ่มที่เรียนอยู่ตลอดเวลา (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ 2540 : 3) และการจัดการศึกษาสาหรับเด็กปฐมวัยจะคาบเกี่ยวอายุของเด็กถึงวัย 7 ขวบ โดยการจัดการศึกษาในระดับปฐมวัยจะมีรูปแบบในการจัดบริการดังนี้ 2.1 โรงเรียนเด็กเล็ก (Nursery School) เปิดรับเด็กตั้งแต่อายุ 2 ขวบขึ้นไป รับ ทั้งเด็กชายและเด็กหญิง โดยไม่มีกฎหมายบังคับให้ผู้ปกครองต้องส่งเด็กเข้าโรงเรียนเด็ก เล็ก นอกจากการจัดโรงเรียนเด็กเล็กโดยเฉพาะแล้ว ยังสามารถจัดชั้นเด็กเล็กในโรงเรียน ระดับอื่นได้ด้วย เพราะการจัดโรงเรียนชั้นเด็กเล็กต่างหากมีค่าใช้จ่ายสูงมาก 2.2 โรงเรียนสาหรับเด็กวัยแรก (Infant school) หรือชั้นเรียนของเด็กระดับ 1 (Key Stage 1 หรือ KS 1) ในโรงเรียนประถมศึกษา จะรับเด็กในช่วงอายุตั้งแต่ 5 ขวบถึง 7 ขวบ โดยมีการจัด 2 ลักษณะคือจัดชั้นเรียนคละอายุ โดยยึดหลักการจัดตามลักษณะครอบครัว ที่มีเหตุผลมาจากสมมุติฐานที่ว่าในช่วงอายุดังกล่าว การเรียนรู้ที่สาคัญของเด็กก็คือการได้ พัฒนาภาษา และการที่เด็ก ๆ ได้อยู่ร่วมกันก็จะเกิดการเรียนรู้ซึ่งกันและกันได้ดีที่สุด อีกลักษณะหนึ่งก็คือการจัดชั้นเรียนแบบธรรมดา มีการแบ่งกลุ่มตามอายุเด็ก โดยเด็กจะมี อายุรุ่นราวคราวเดียวกัน 2.3 ศูนย์เด็กก่อนวัยเรียน (Children’s Centers) จะเป็นสถานบริบาลเด็กตอน กลางวัน สาหรับเด็กแรกเกิดถึง 5 ขวบ ในลักษณะการให้การอบรมเลี้ยงดูเป็นส่วนใหญ่ เพื่อสนองความต้องการและความจาเป็นของมารดาที่ต้องทางานนอกบ้าน และมารดาที่ไม่ สามารถเลี้ยงดูบุตรด้วยตนเองได้ สถานรับเลี้ยงเด็กก่อนวัยเรียนนี้จะอานวยความสะดวก
  • 7. 57 ให้แก่ผู้ปกครองเช่นเดียวกับที่ให้ความสะดวกแก่เด็ก ๆ และบางแห่งก็มีบริการสาหรับแม่ และเด็กวัยเตาะแตะ ในกลุ่มเด็กเล็กด้วยกัน และชั้นเรียนอื่น ๆ ที่จัดขึ้นอย่างไม่เป็นทางการ รวมทั้งการดูแลเลี้ยงดูเด็กแบบโรงเรียนเด็กเล็กด้วย คณะครูประกอบด้วยครูที่มีวุฒิ พยาบาลที่ได้รับการฝึกมาแล้ว หรือบางครั้งก็ยังมีผู้ที่อาสาสมัครทางานเพื่อสังคมอื่น ๆ อีกด้วย ซึ่งในแต่ละแห่งจะมีการติดต่อกับแพทย์และนักสังคมสงเคราะห์อยู่ตลอดเวลา 3. หลักสูตร ลักษณะของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยในประเทศอังกฤษนั้นจะไม่มี การกาหนดแน่นอนตายตัวเหมือนกันทั่วประเทศ เพราะระบบการศึกษาของอังกฤษนั้นเป็น ระบบแบบกระจายอานาจ ดังนั้นผู้ที่จัดหลักสูตรในโรงเรียน ก็คือครูใหญ่และคณะครูใน โรงเรียน แต่อย่างไรก็ตามหลักในการจัดการศึกษาโดยทั่วไปก็จะคล้าย ๆ กัน คือ 3.1 หลักสูตรสาหรับโรงเรียนเด็กเล็กหรือชั้นเด็กเล็กในประเทศอังกฤษ จะเป็น หลักสูตรที่เน้นหนักในการจัดกิจกรรมการเล่นสาหรับเด็ก ไม่มีการเรียนการสอนเป็นเรื่อง เป็นราวเด็กจะสนุกสนานกับการฟังนิทาน ดนตรี โคลงกลอน และเล่นตามธรรมชาติเด็ก ๆ จะเล่นกันตามใจชอบจะเล่นคนเดียว หรือจะเล่นกับคนอื่น ๆ ก็ได้ จะเล่นในร่มหรือออกไป กลางแจ้งก็แล้วแต่จะเลือก มีกิจกรรมสาหรับฝึกออกกาลังกายโดยใช้เครื่องเล่นสนาม ต่าง ๆ เช่น อุปกรณ์สาหรับปีนป่าย มีสระน้า มีสนามหญ้า บ่อทรายไว้ให้เด็กได้เล่นฝึก การทดลองต่าง ๆ มีการจัดอุปกรณ์หลายอย่างจัดไว้สาหรับให้เด็ก ๆได้เล่นเด็กจะได้ ค้นพบความรู้ใหม่ ๆ ซึ่งเป็นการปูพื้นฐานสาหรับการเรียนวิทยาศาสตร์ต่อไป ถึงแม้ว่าเด็กจะมีอิสระที่จะเลือกทากิจกรรมใด ๆ ตามต้องการ แต่ครูและพยาบาล ที่ดูแลจะต้องสอดแทรกกิจกรรมหรือการเล่นที่ครูได้วางแผนไว้อย่างดีแล้วเข้าไปด้วย โดย ครูจะต้องเข้าใจวิธีการใช้ภาษาของเด็ก เพื่อจะช่วยให้เด็กได้พัฒนาทักษะการคิดมากขึ้น กิจกรรมที่จัดขึ้นจะคานึงถึงความต้องการทางสังคม และอารมณ์ซึ่งจะนาไปสู่การพัฒนา สติปัญญาด้วย การเล่นของเด็กโดยมีจุดประสงค์ที่จะช่วยให้เกิดการเรียนรู้ ดังนั้นครู จะต้องจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อให้เด็กมีโอกาสได้สารวจ ค้นคว้าเกี่ยวกับสิ่งของวัตถุ ได้รู้จัก รูปร่าง ได้สัมผัสสิ่งของ แปลก ๆ รู้จักสี ได้ยินเสียงต่าง ๆ มีแท่งไม้ และอิฐบล๊อกใช้สาหรับ พัฒนาความสามารถในทางศิลปะของเด็ก มีการเลือกใช้หนังสือที่ดีและเหมาะสมกับเด็ก เพื่อส่งเสริมจินตนาการและความสามารถในการใช้ภาษา ส่วนตุ๊กตา เครื่องเรือนจาลอง และ ของเล่นต่างๆ ช่วยเสริมสร้างทักษะทางสังคมและครอบครัว สื่อการเรียนและของเล่นต่าง ๆ ที่จัดให้เด็กล้วนนามาใช้ประโยชน์ใน การเพิ่มประสบการณ์ และการค้นพบสิ่งใหม่ ๆ ของ เด็กจะช่วยในการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมได้ เพราะจุดมุ่งหมายหลักของโรงเรียน คือช่วยให้เด็ก ๆ ได้พัฒนาบุคลิกภาพไปในทางที่พึงประสงค์ ให้รู้จักพึ่งตนเองโดยไม่ต้องรอ ความช่วยเหลือจากผู้อื่น และขณะเดียวกันก็ให้ความร่วมมือกับผู้อื่นด้วย
  • 8. 58 3.2 หลักสูตรของโรงเรียนสาหรับเด็กวัยแรก สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (2534 : 122 – 125) ได้กล่าวถึงหลักสูตรของโรงเรียนสาหรับเด็กวัยแรก สรุปได้ว่า หลักสูตรจะเน้นเกี่ยวกับพัฒนาการทั่ว ๆ ไปของเด็ก โดยพิจารณาความต้องการของเด็ก และพยายามช่วยให้เด็กแต่ละคนได้พัฒนาไปในทุก ๆ ด้านตามศักยภาพของเขาอย่างเต็มที่ ในการเปิดโอกาสให้เด็กมีประสบการณ์อย่างกว้างขวาง โรงเรียนได้จัดให้เด็กได้เล่นได้ ทดลองกับวัตถุต่าง ๆ เช่น ทราย น้า ดินน้ามัน สี และแท่งไม้ เด็ก ๆ อาจจะใช้แท่งไม้ บล็อกก่อสร้างหรือประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆ แสดงละครตามจินตนาการของตน ฟังนิทาน ฟัง ดนตรีที่เด็กชอบ กิจกรรมเหล่านี้ ในบางครั้งจะบูรณาการเข้าด้วยกันกับการอ่าน การเขียน หรือคณิตศาสตร์ง่ายๆ จุดมุ่งหมายประการหนึ่งก็คือ พยายามทาให้เด็ก ๆ รู้ว่าหนังสือคือแหล่ง ที่จะค้นคว้าหาความรู้และให้ความเพลิดเพลินได้ จุดมุ่งหมายประการที่สองคือให้เด็กมี ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ขั้นพื้นฐานและจุดประสงค์ และประการที่สามคือ ส่งเสริมให้เด็กใช้ภาษาใน การแสดงออกทั้งการพูดและการเขียนได้อย่างคล่องแคล่ว โรงเรียนสาหรับเด็กวัยแรกบางแห่งจะมีการจัดกิจกรรมวันหนึ่งที่เรียกว่า“วันบูรณาการ” (The Intergrated Day) เป็นวันที่การสอนจะรวมกิจกรรมต่าง ๆ ที่มีทั้งการสร้างสรรค์ วิชาการ ศิลปะ และพละเข้าไว้ด้วยกัน นักเรียนทุกคนจะได้รับบริการของโรงเรียนเท่าที่ ต้องการขึ้นอยู่กับความสนใจ ความสามารถ และความต้องการของตนเอง ห้องเรียนก็ เปลี่ยนไปเป็นห้องทางานและ เด็ก ๆ สามารถจะทางานของตนได้ตามลาพัง หรือจะไปรวมกลุ่มกับ คนอื่นก็ได้แผนการสอนแบบบูรณาการนี้จะจัดกิจกรรมต่าง ๆ ให้เด็กได้เรียนรู้จากสิ่งที่ ล้อมรอบตัว เขาจะพอใจและกระตือรือร้นมากที่จะค้นคว้าหาคาตอบด้วยตนเอง และเต็ม ใจจะทาในสิ่งที่ยากและท้าทายให้สาเร็จ แผนการสอนแบบบูรณาการ จะช่วยส่งเสริมให้เด็กได้ใช้ความคิดเกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ เด็กได้พัฒนาการใช้ภาษาและมีประสบการณ์การเรียนรู้อย่างมากมาย ทาให้การศึกษาเล่า เรียนเป็นกระบวนการที่ต่อเนื่อง นอกจากนั้นยังอานวยความสะดวกในเรื่องวัสดุอุปกรณ์ หรือเครื่องมือทดลองต่าง ๆ ให้เด็กใช้ได้อย่างพอเพียง เด็ก ๆ จะใช้เวลาในการสารวจ เรียนรู้ในสิ่ง ที่เรียนแต่ละเรื่องอย่างสนใจโดยใช้เวลาไม่นานนัก การให้โอกาสเด็ก ๆ ได้มี ประสบการณ์นี้จะไม่กาหนดเวลาตายตัว เด็กจะได้เรียนรู้ในหลาย ๆ ด้าน บางครั้งอาจจะ ต้องทากิจกรรมที่ใช้สมาธิและมีความสนใจอย่างมากแต่ในบางครั้งก็จะได้เล่นหรือทาอะไร ที่สบาย ๆ สนุกสนาน ซึ่งจะโยงต่อเนื่องไปยังกิจกรรมอื่น ๆ ต่อไปได้ ครูจะเป็นผู้จัดหากิจกรรมต่าง ๆ ให้เด็กทาโดยบูรณาการเข้ากับกิจกรรมของตัว เด็กเอง แต่ก็ยึดปรัชญาที่ว่าลักษณะกิจกรรมทั้งหลายจะต้องเป็น “การเล่น” เสมอ ความจริงแล้วสาหรับเด็กในวัยนี้ จะเล่นหรือเรียนก็ไม่มีอะไรแตกต่างกันนักและเด็กเองก็ยัง
  • 9. 59 แยกไม่ออกด้วยซ้าระหว่างวิชาต่าง ๆ ที่เรียนไป เมื่อเด็กมาถึงโรงเรียนในตอนเช้า ก็จะ พบว่ารายการกิจกรรมต่าง ๆ สาหรับวันนั้นเขียนไว้บนกระดาน เด็ก 6 คนอาจจะไปนั่ง รวมกันอ่านหนังสือที่มุมอ่านหนังสือ เด็ก 6 คนอาจจะไปที่มุมห้องสมุด และอีก 6 คน อาจจะไปที่มุมเล่นแต่งตัว เด็ก ๆ มีสิทธิที่จะเลือกกิจกรรมของตัวเอง และทาไปจนกว่าจะ ได้ผลงานที่พอใจสาหรับความต่อเนื่องของความคิดรวบยอดในการแบ่งกลุ่มแบบ ครอบครัวนั้น ในการจัดห้องเรียนจะไม่มีโต๊ะเดี่ยว ๆ และเด็กก็จะไม่ต้องนั่งตามที่ประจา ห้องจะจัดในลักษณะเอาโต๊ะมาต่อกันและใช้ตู้หนังสือล้อมเป็น ส่วน ๆ ไม่มีโต๊ะครู ครูจะ เดินดูไปทั่ว ๆ ตามโต๊ะต่าง ๆ และช่วยเหลือเด็กที่ต้องการคาแนะนาเป็นคน ๆ ไป หลักสูตรของโรงเรียนสาหรับเด็กวัยแรกมีลักษณะดังนี้ 1) วิชาคณิตศาสตร์ การสอนคณิตศาสตร์ในโรงเรียนสาหรับเด็กวัยแรกจะเริ่ม จาก การวัด การชั่งน้าหนัก กราฟ ฯลฯ ตารางแสดงภาพอากาศในช่วงเวลาต่าง ๆ เด็กจะ ได้เรียนรู้ตัวเลข สัญลักษณ์ และ รูปร่าง รูปทรงต่าง ๆ จากกราฟและตารางเหล่านี้ เด็ก ๆ จะได้รับแจก กระดุม ตะปู ลูกปัด ฯลฯ สาหรับนามาแยกประเภท หรือเปรียบเทียบขนาด การเปรียบเทียบจากวัสดุที่ทาและจากการเล่นเหล่านี้เด็ก ๆ จะเกิดความเข้าใจและรู้ ความหมายของคาต่าง ๆ ที่หมายถึงความไม่เท่ากันและความคิดรวบยอดอื่น ๆ ทาง คณิตศาสตร์เป็นอย่างดี 2) การอ่าน การสอนอ่านในโรงเรียนสาหรับเด็กวัยแรกนี้ประสบความสาเร็จ อย่างน่า พอใจเห็นได้จากเด็ก 5 ขวบ ส่วนมากจะอ่านหนังสือออก วิธีการที่ครูใช้มีหลายวิธี ซึ่งรวมการสอนเสียงและการสอนแบบจาคาไว้ด้วย 3) การเล่น ห้องเรียนส่วนมากจะเปิดออกสู่ลานกว้าง ซึ่งจะมีสิ่งต่าง ๆ ที่สร้างไว้ ให้เด็กเล่น เช่น เครื่องเล่นปีนป่ายแบบต่าง ๆ มีกรงกระต่าย ตอไม้ บ่อทราย และแปลง ต้นไม้ สาหรับให้เล่นเพาะปลูก เด็ก ๆ จะมาเล่นของเล่นที่ตนชอบโดยไม่จาเป็นต้องเล่นรวม กับคนอื่น ตารางเวลาเล่นนี้ไม่ได้บังคับเด็ก ๆ อาจจะเลือกทากิจกรรมแต่ในห้องเรียนทั้งวัน ก็ได้ 4) การให้รางวัลและการลงโทษ การลงโทษโดยการตีหรือทาให้เจ็บยังมีเหลืออยู่ บ้าง แต่ปัจจุบันก็ลดน้อยลงมากแล้ว ครูจะพยายามหาวิธีอื่นในการลงโทษ โดยขึ้นอยู่กับ การทาผิดของเด็กสาหรับการให้รางวัลนั้น คาชมเชยและผลงานที่สาเร็จอย่างน่าภาคภูมิใจ ของตนเองก็ถือว่าเป็นรางวัลเพียงพอแล้วสาหรับเด็กส่วนมาก ในปี ค.ศ. 1995 ได้มีการประกาศใช้หลักสูตรแห่งชาติฉบับปรับปรุงเพื่อให้หลักสูตร มีข้อกาหนดน้อยลงโรงเรียนจะได้มีอิสระในการจัดการศึกษามากขึ้นโดยหลักสูตร กาหนดให้เด็กอายุ 5 – 11 ปี จะต้องเรียนภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
  • 10. 60 เทคโนโลยี ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ศิลปะ ดนตรี และพลศึกษา พร้อมทั้งกาหนด การประเมินผลว่า เด็กนักเรียนอายุ 7 ปี (สิ้นสุดชั้น KS 1) จะต้องทดสอบวิชาภาษาอังกฤษ และคณิตศาสตร์ การทดสอบทั้งหมดจะใช้เวลา 2 ชั่วโมงครึ่ง (สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาแห่งชาติ. 2540) 4. หน่วยงานที่รับผิดชอบ ในประเทศอังกฤษมีหน่วยงานที่ดูแลรับผิดชอบเด็ก ตั้งแต่แรกเกิดถึงอายุ 5 ขวบ มี 2 หน่วยงาน คือ 4.1 กระทรวงศึกษาธิการและแรงงาน (Department for Education and Employment) ดูแล รับผิดชอบโรงเรียนทั้งหมด ซึ่งจะมีรัฐมนตรีผู้ควบคุมทางด้านการศึกษาและวิทยาศาสตร์ เป็นผู้รับผิดชอบควบคุมดูแลการบริหารกระทรวงนี้จัดตั้งขึ้นในเดือนกรกฎาคม ปี ค.ศ. 1995 โดยการรวมกระทรวงศึกษาธิการเดิมและเกือบทั้งหมด และกระทรวงแรงงานเดิม เข้าด้วยกัน ส่วนในการดาเนินงานจะมีคณะกรรมการการศึกษาส่วนท้องถิ่น สภาท้องถิ่น ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบด้านการศึกษาปฏิบัติงานโดยได้รับคาแนะนาจากเจ้าหน้าที่ ที่เชี่ยวชาญทางการศึกษา อานาจการควบคุมและการบริหารโรงเรียนจะอยู่ที่ครูใหญ่ ทั้งหมด ในประเทศอังกฤษ ครูใหญ่จะมีอิสระและมีอานาจในการบริหารโรงเรียนของตน มากกว่าครูใหญ่ประเทศอื่น ๆ ส่วนหน่วยงาน กรมการศึกษาและวิทยาศาสตร์นั้นไม่ได้เข้า มามีส่วนเกี่ยวข้องกับการดูแลหลักสูตรหรือวิธีสอน หรือแม้แต่เข้ามาควบคุมดูแลเกี่ยวกับ เนื้อหาหรือลักษณะของหนังสือที่อนุญาตให้โรงเรียนใช้เลย แต่จะเข้ามามีบทบาทใน การควบคุมประสิทธิภาพในการสอน และการส่งเสริมมาตรฐานของโรงเรียนโดยการจัดหา ครูที่ชานาญมานิเทศการสอน 4.2 กรมอนามัยและสวัสดิการสังคม (Department of Health and Social Security) จะมีหน้าที่ดูแลสถานรับเลี้ยงเด็กสาหรับเด็กแรกเกิดถึง 5 ขวบ ซึ่งเป็นสถานที่ ให้การเลี้ยงดูเด็กเป็นส่วนใหญ่จึงเป็นที่สนองความต้องการและความจาเป็นของมารดาที่ จะต้องทางานนอกบ้าน และมารดาที่ไม่สามารถเลี้ยงดูบุตรด้วยตนเองได้ นอกจากนี้ยังรับ เด็กที่มาจากสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมต่อสุขภาพด้วย 4.3 องค์การบริหารการศึกษาท้องถิ่น (Local Education Authorities) มีหน้าที่ รับผิดชอบในการกาหนดและจัดสรรงบประมาณให้โรงเรียนภายในแผนการบริหารโรงเรียน ท้องถิ่น ซึ่งได้แก่ โรงเรียนของเขตและโรงเรียนอาสาสมัครโดยองค์การบริหารการศึกษา ท้องถิ่นจะต้องมอบอานาจอย่างน้อยร้อยละ 85 ของงบประมาณที่เป็นของโรงเรียนตามที่ กาหนดไว้ให้แก่โรงเรียน งบประมาณของแต่ละโรงเรียนได้รับการจัดสรรตามหลักสูตรที่ องค์การบริหารการศึกษาท้องถิ่นกาหนด โดยได้รับการอนุมัติจากรัฐมนตรีว่าการ
  • 11. 61 กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งส่วนใหญ่งบประมาณที่ได้รับจะถูกกาหนดจากจานวนนักเรียน โดยโรงเรียนมีอิสระที่จะตัดสินใจในการใช้จ่ายงบประมาณได้อย่างเต็มที่ 5. บุคลากร ครูผู้สอนในระดับการศึกษาปฐมวัยในประเทศอังกฤษนั้นจะเป็นครูที่ ได้รับ การฝึกฝนเป็นเวลา 3 ปี ในมหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัยก่อนที่จะได้รับประกาศนียบัตร การศึกษาระดับธรรมดา หลังจากนั้นครูเหล่านี้จะต้องทดลองปฏิบัติงานเป็นเวลาอีก 1 ปี จึงถือได้ว่าเป็นครูที่มีคุณสมบัติครบตามที่กาหนดไว้” (ประภาพรรณ สุวรรณสุข. 2539 : 84) โดยครูมีเงินเดือนประจาตามสัญญาที่ทาไว้กับรัฐ แต่ไม่ใช่ข้าราชการ ครูที่สอนอยู่ใน ระดับเด็กเล็กหรือโรงเรียนเด็กวัยแรกนั้นจะมีฐานะและได้รับเงินเดือนเช่นเดียวกับครูใน โรงเรียนประถมศึกษา และมัธยมศึกษา ที่มีคุณวุฒิการศึกษาเท่ากันโดยรัฐให้อานาจแก่ คณะกรรมการการศึกษาส่วนท้องถิ่นที่ได้รับเลือกตั้งในการแต่งตั้งครูใหญ่และเลือกจ้าง ครูผู้สอนนอกจากครูแล้วยังมีพยาบาลสาหรับเด็กเล็ก ซึ่งเป็นผู้ช่วยครูในโรงเรียนเด็กเล็ก หรือในชั้นเด็กเล็ก หรือชั้นเด็กวัยแรก พยาบาลจะได้รับการฝึก 2 ปีในวิทยาลัยสาขา การศึกษาต่อเนื่อง โดยได้ฝึกประสบการณ์ที่จาเป็นอย่างเต็มที่ในสถานเลี้ยงเด็กในท้องถิ่น การสมัครเข้ารับการฝึกก็ไม่ได้กาหนดความรู้ทางวิชาการแต่อย่างใด และ “ผู้ที่ผ่านการฝึก ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติครบถ้วนจะได้รับประกาศนียบัตร ของเอนเอน อี บี (NNEB) ซึ่งเริ่มออกให้มาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1945” (สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2534 : 117) การศึกษาปฐมวัยในประเทศสวีเดน ประเทศสวีเดนนั้นจัดเป็นประเทศหนึ่งในยุโรปซึ่งสามารถจัดสวัสดิการสาหรับเด็ก ปฐมวัยได้อย่างสัมฤทธิ์ผล เพราะสวีเดนให้ความสาคัญกับการศึกษาในวัยนี้ โดยมี กฎหมายรองรับอย่างมีประสิทธิภาพ มีการตั้งวิทยาลัยครูอนุบาลและได้รับความเข้าใจ ตลอดจนความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเป็นอย่างดี 1. ประวัติการศึกษาปฐมวัยในประเทศสวีเดน สภาพสังคมของประเทศ สวีเดนหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 มีการเปลี่ยนแปลงมาก เช่น มีพลเมืองเพิ่มขึ้น เกิด โรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ขึ้นในชานเมืองใหญ่ ๆ จึงมีการอพยพเข้าไปอยู่ตามเมือง ใหญ่ ๆ ลักษณะครอบครัวแบบเดิมซึ่งเป็นครอบครัวแบบขยาย เปลี่ยนแปลงมาเป็น ครอบครัวเดี่ยว สตรีซึ่งแต่เดิมเคยทางานในบ้านเลี้ยงดูลูกก็มีความจาเป็นจะต้องออกไป ทางานนอกบ้านเพื่อช่วยเหลือเศรษฐกิจในครอบครัวภาระในการเลี้ยงดูเด็กจึงต้องมี หน่วยงานอื่นเข้ามาช่วยดูแล จึงเกิดบริการการอบรมเลี้ยงดูเด็กในรูปแบบต่าง ๆ เกิดขึ้น แต่เดิมนั้นศูนย์รับเลี้ยงเล็กถือว่าเป็นแหล่งที่ลดภาระของมารดาที่ออกไปทางาน นอกบ้าน แต่ภายหลังมารดาก็ต่างคาดหวังในการใช้บริการที่จาเป็นนี้ว่าเป็นบริการที่อยู่
  • 12. 62 ภายใต้การดูแลนิเทศอย่างถูกต้องและมีคุณภาพและจะต้องสอนทักษะทางสังคมขั้น พื้นฐานให้แก่เด็กอย่างเพียงพอก่อนจะเข้าโรงเรียนตามปกติต่อไป อัลวา ไมล์ดาล (Alva Myrdal) เป็นผู้บุกเบิกทางการศึกษาปฐมวัยของสวีเดน ผู้หนึ่ง เขาได้ก่อตั้งวิทยาลัยครูอนุบาลแห่งแรกขึ้นในกรุงสต๊อคโฮล์มเพื่อจะให้การฝึกอบรม แก่บุคลากรที่ทางานในโรงเรียนอนุบาล ซึ่งต่อมาในปี ค.ศ.1960 ได้มีการจัดวางโปรแกรม การปฏิบัติงานในโรงเรียนอนุบาลเพื่อปฏิรูปและส่งเสริมการศึกษาสาหรับเด็กวัยก่อน 7 ขวบ โดยรัฐบาลได้จัดตั้งคณะกรรมการขึ้นเพื่อดาเนินการในเรื่องนี้ 2. หลักการและรูปแบบการจัดการศึกษาปฐมวัย การจัดการศึกษาปฐมวัยของ สวีเดนนั้นจัดขึ้นเพื่อบริการแก่ครอบครัวที่สมาชิกต้องออกไปทางานนอกบ้าน โดยให้ การดูแลเอาใจใส่เด็กเป็นอย่างดี มีการจัดสภาพแวดล้อมที่ใกล้เคียงกับบ้านมากกว่าที่จะ เป็นโรงเรียนการจัดการศึกษาปฐมวัยในสวีเดนมีรูปแบบการจัดดาเนินงานดังนี้ 2.1 โรงเรียนอนุบาล (The Kindergarten) โรงเรียนอนุบาลประเภทนี้ตั้งขึ้นเพื่อ เป็นสถานดูแลและให้การศึกษาแก่เด็กวัยอนุบาล โดยเน้นการช่วยเหลือให้เด็กปรับตัวเข้า กับสิ่งแวดล้อมได้ โรงเรียนจะรับเด็กสองผลัด ผลัดแรกในเวลาเช้า คือช่วง 9.00 – 12.00 น. และผลัดสองในเวลาบ่ายตั้งแต่ช่วงเวลา 14.00 – 17.00 น. รับเด็กอายุตั้งแต่ 4 – 6 ขวบ แต่อาจจะยืดหยุ่นได้ในแต่ละท้องถิ่นคือถ้าท้องถิ่นใดมีเด็กมากจะรับเด็กอายุมากคือ 6 ขวบก่อน เพื่อจะได้เข้าเรียนในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 เมื่ออายุย่างเข้า 8 ขวบ ส่วนใน ท้องถิ่นใดเด็กมีไม่มากนักก็อาจจะพิจารณารับเด็กอายุ 3 ขวบ ด้วย 2.2 สถานเลี้ยงเด็ก (Nursery) ตั้งขึ้นเพื่อช่วยเหลือมารดาที่ออกไปทางานนอก บ้านมีรูปแบบการให้บริการคือ 1) สถานเลี้ยงเด็กกลางวัน (Day Nursery) รับดูแลเด็กตั้งแต่อายุ 6 เดือนถึง อายุ 7 ปี ผู้ปกครองเด็กเหล่านี้ส่วนมากต้องออกไปทางานนอกบ้านหรือกาลังเรียนอยู่ หรือกาลังต้องการพี่เลี้ยงเด็กชั่วคราวในระยะเวลาสั้นๆ ศูนย์เหล่านี้จะเริ่มทาการจากเวลา 06.30– 19.00 น. ในวันธรรมดาและจากเวลา 06.30 – 14.30 น. ในวันเสาร์ส่วนในวันอาทิตย์ปิด 2) สถานเลี้ยงเด็กแบบครอบครัวในเขตเทศบาล (Municipal Family Day Nursery) เป็นสถานเลี้ยงเด็กที่จัดตั้งขึ้นในบ้านโดยได้รับการอนุมัติจากผู้บริหารท้องถิ่น งานส่วนใหญ่คือ การเลี้ยงเด็ก นอกจากนี้ยังรับดูแลเด็กที่มีปัญหาทางด้านสุขภาพด้วย 3) สถานเลี้ยงเด็กในเขตเกษตรกรรม (Farming Day Nursery) รับดูแลเด็ก อายุ 1 – 7 ขวบ ที่ผู้ปกครองต้องออกไปทางานในนาระหว่างฤดูเก็บเกี่ยวเป็นการให้ บริการ ดูแลเด็กเต็มวัน สถานเลี้ยงเด็กแบบนี้ดาเนินการโดยการบริหารส่วนจังหวัดซึ่งประสบ ปัญหาหนัก คือ การจัดหาครูที่มีคุณวุฒิมาสอนในช่วงฤดูเก็บเกี่ยวสั้น ๆ แต่เนื่องจาก
  • 13. 63 ช่วงเวลานี้เป็นช่วงเวลาที่โรงเรียนธรรมดาทางตอนเหนือของสวีเดนอยู่ในระหว่างปิดภาค เรียนพอดีจึงพอจะหาครูผู้เชี่ยวชาญมาสอนได้บ้างแต่ก็ยังไม่เพียงพอมีโรงเรียนในบาง ท้องที่สามารถจัดโปรแกรมการสอนภาคฤดูร้อนได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสบ ความสาเร็จอย่างมาก ทาให้ต้องขยายเป็นโปรแกรมระยะยาวตลอดปี ซึ่งทาให้การจัดหา ครูผู้ชานาญมาสอนสะดวกขึ้นอีกมาก (สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2534 : 187) 4)สถานเลี้ยงเด็กเวลาบ่ายหรือศูนย์นันทนาการ (Afternoon nursery Recreation Center) สถานเลี้ยงเด็กเวลาบ่ายหรือศูนย์นันทนาการจะให้บริการเด็กตั้งแต่ เวลา 16.00 น. ทุก ๆ วัน เว้นวันสุดสัปดาห์หรือวันปิดเทศกาลต่าง ๆ โดยรับดูแลเด็กที่ทาง บ้านไม่มีใครดูแลหลังจากที่โรงเรียนอนุบาลเลิกแล้ว 3. หน่วยงานที่รับผิดชอบ การจัดการศึกษาปฐมวัยในสวีเดน รัฐบาลสนับสนนุให้ บรรดาผู้นาในท้องถิ่นอาสาสมัครเข้ามาดาเนินการหน่วยงานที่มีอานาจสูงสุดทาง การศึกษาปฐมวัยได้แก่กระทรวงสาธารณสุขและสังคมได้แต่งตั้งคณะกรรมการ สาธารณสุขและสวัสดิการแห่งชาติ ให้เป็นผู้ดูแลและคอยให้คาแนะนาในการดาเนินงาน ของโรงเรียนอนุบาล การบริหารจะแบ่งออกเป็นมณฑลและท้องถิ่น โดยมีผู้รับผิดชอบคือ คณะกรรมการบริการสังคมซึ่งเป็นสาขาของเทศบาลท้องถิ่น เป็นผู้ดูแลรับผิดชอบสถานรับ เลี้ยงเด็กและศูนย์เด็กทั้งหมด คณะกรรมการสาธารณสุขและสวัสดิการแห่งชาติได้จัดพิมพ์เอกสารคู่มือแนะนา ผู้บริหารอื่นที่สนใจเกี่ยวกับวิธีจัดการศึกษาในระดับนี้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยหลักการ แล้วถ้าผู้ใดสนใจจะตั้งโรงเรียนอนุบาลก็อาจทาได้รวมทั้งการขอรับเงินสนับสนุนจาก รัฐบาลด้วย หากโครงการที่เสนอไปรับความเห็นชอบและอนุมัติจากคณะกรรมการ เทศบาลท้องถิ่นแล้ว และถึงแม้ว่าโรงเรียนหลายแห่งจะดาเนินการโดยสมาคม บริษัท กลุ่ม ของวัดหรือแม้แต่นิติบุคคลก็ตาม แต่โดยทั่วไปแล้วโรงเรียนอนุบาลส่วนใหญ่จะดาเนินการ โดยคณะผู้บริหารท้องถิ่นเอง (สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2534 : 186) ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาปฐมวัยเป็นความรับผิดชอบร่วมกันระหว่างรัฐบาล เทศบาลและ ผู้ปกครอง โดยรัฐให้เงินสนับสนุนร้อยละ 35 เทศบาลท้องถิ่นให้อีกประมาณ ร้อยละ 50 ที่เหลือผู้ปกครองจะเป็นผู้ออกเงินโดยรัฐบาลจะให้ทุนเบื้องต้น บวกกับเงินให้ กู้ยืมในอัตราที่เท่ากันทุกโรงเรียน ยกเว้นโรงเรียนที่สร้างขึ้นด้วยเงินกู้เคหะสงเคราะห์ ทุนนี้ จะไม่ให้แก่สถาบันประเภทศูนย์ที่เปิดสอนได้เต็มวัน ศูนย์เหล่านี้จะต้องไปขอรับเงินทุน สนับสนุนจากทุนเพิ่มเติมของรัฐบาลแทน
  • 14. 64 คณะกรรมการสาธารณสุขและสวัสดิการแห่งชาติ จะพิจารณาอนุมัติพร้อมทั้ง จ่ายเงินให้แก่โรงเรียนและผู้ที่ทาหน้าที่จ่ายเงินคือสานักงานการบริหารการแบ่งส่วนและ เศรษฐกิจแห่งชาติ (National Office for Administrative Rationalization and Economy) และเงินทุนเพิ่มเติมสาหรับโรงเรียนที่เปิดสอนไม่ต่ากว่าวันละ 5 ชั่วโมงนั้นรัฐบาลจะเป็นผู้จ่าย ให้ในอัตราร้อยละ25ต่อคน เงินนี้จะต้องผ่านการอนุมัติของคณะกรรมการซึ่งจะเป็นผู้ จ่ายเงินให้โดยโรงเรียนที่จะได้รับเงินช่วยเหลือนี้จะต้องมีการดาเนินการและบุคลากรที่มี ประสิทธิภาพที่สามารถจัดความสะดวกต่าง ๆ ให้เหมาะกับความต้องการของเด็กได้อย่าง ดี (สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2534 : 188) 4. หลักสูตร หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยของประเทศสวีเดนมาจากปรัชญา การศึกษาทางการศึกษาปฐมวัย ซึ่งมีพื้นฐานมาจากทฤษฎีการศึกษาของ อาร์โนลกีเซล (Anold Gesell) จอง เพียเจท์ (Jean Peaget) และอิริค อิริคสัน (Erik Erikson) คือ ครู จะต้องเรียนรู้เกี่ยวกับอัตราและขั้นตอนของพัฒนาการเด็กทั่ว ๆ ไป และจะใช้วิธีการสอนที่ มีส่วนคล้ายคลึงกับโรงเรียนเด็กเล็กของอังกฤษที่เรียกว่าวิธีการสอนแบบค้นพบด้วยตนเอง (Discovery Method) จุดประสงค์ในการสอนก็เพื่อกระตุ้นให้เด็กเกิดความสนใจในสิ่งแวดล้อมทั้งทาง สังคมและทางกายภาพให้มากขึ้นและในสภาพแวดล้อมที่ปราศจากความกดดันเช่นนี้ จะช่วยให้ เด็กได้ค้นพบและเรียนรู้เกี่ยวกับโลกของตนเอง ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยไม่ได้เน้นการเตรียมเด็กอย่างเป็นเรื่องเป็นราวและมี การเตรียมสาหรับการสอนอย่างจริงจังน้อยมาก เด็ก ๆ จะมีอิสระที่จะทดลองค้นคว้าสิ่ง ต่าง ๆ ที่ตนเองสนใจได้ โดยมีผู้ใหญ่คอยดูแลและให้คาแนะนาเมื่อเด็กต้องการ เขาจะ ได้รับการเตรียมตัวให้พร้อมในทักษะต่าง ๆ ที่จาเป็นสาหรับการเข้าร่วมในสังคมกับ เพื่อนรุ่นราวคราวเดียวกัน หรือกับคนอื่นรอบ ๆ ตัวเด็ก จุดมุ่งหมายที่สาคัญของหลักสูตร ก็คือ ให้เด็กได้มีพัฒนาการทางด้านบุคลิกภาพ มีทัศนคติที่ดีต่อตนเอง และมีอิสระเสรีที่ จะเรียนรู้ในสิ่งต่าง ๆ ซึ่งจะเป็นวิธีการช่วยพัฒนาเด็กทั้งทางสังคม อารมณ์ ร่างกาย และสติปัญญา วิชาที่จัดสอนให้แก่เด็ก ได้แก่ ทักษะการช่วยเหลือตนเองการพัฒนา กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็ก การเคารพกฎและระเบียบข้อห้ามต่าง ๆ ของสังคมและ ความสามารถในการติดต่อสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ อาคารที่ใช้ในการเรียนจะเป็นแบบชั้นเดียว ซึ่งออกแบบสร้างขึ้นเป็นพิเศษสาหรับ เด็กแต่ละกลุ่มอายุ มีเครื่องเล่นและอุปกรณ์การเรียนรู้ไว้อานวยความสะดวกกับเด็กด้วย 5. บุคลากร ในประเทศสวีเดนมีการตั้งวิทยาลัยครูอนุบาลเป็นวิทยาลัยเอกเทศ เฉพาะ หลักสูตรการศึกษาจะเน้นหนักไปทางวิชาการ ซึ่งจะเป็นสวัสดิการแก่เด็กปฐมวัย โดยเฉพาะโดยไม่เลือกว่าเด็กนั้นอยู่ในสภาพใดวิทยาลัยครูอนุบาลจึงผลิตนักศึกษาเพื่อ
  • 15. 65 รับผิดชอบทางสวัสดิการของชุมชนเกี่ยวกับเด็ก ตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุ 7 ขวบทั่วประเทศ ทั้งในและนอกโรงเรียนรวมทั้งในสถานเลี้ยงดูเด็กอ่อนของรัฐหรือสมาคมองค์การต่าง ๆ ดังนั้นครูอนุบาลของสวีเดนจึงได้รับการอบรมและฝึกฝนมาเป็นอย่างดี ครูจะผ่าน การศึกษา 2 - 4 ปี จากวิทยาลัยรัฐบาลจะจ่ายเงินเดือนแก่ครูตามวุฒิ โรงเรียนที่เปิดสอน เต็มวันจะต้องมีครูใหญ่และครูอนุบาลห้องละ 2 คน อัตราส่วนของครูต่อเด็กอายุเกิน 2 ขวบ จะเป็น 1 : 5 ถ้าเป็นเด็กทารกอัตราส่วนจะเป็น 1 : 4 และยิ่งถ้าเป็นเด็กที่จะต้อง ดูแลเป็นพิเศษ อัตราส่วนก็จะยิ่งต่าลงอีกในกรณีที่ขาดแคลนครูอนุบาลโรงเรียนก็จะต้อง จัดหาพยาบาลแผนกเด็กมาประจาการแทน สาหรับโรงเรียนที่เปิดสอนไม่เต็มวันอัตราส่วนของครูต่อเด็กจะเป็น 1 : 40 สาหรับ เด็กอายุ 5 – 6 ขวบ และ 1 : 30 สาหรับเด็กที่อายุน้อยลงมาอัตราส่วนสาหรับบางโรงเรียน ที่มี การจัดแบบสบาย ๆ คือ 1 : 5 สถิติการโยกย้ายสับเปลี่ยนบุคลากรมีน้อยมาก เนื่องจากครูสตรีมีสิทธิพักคลอด บุตรได้นานถึง 6 เดือน จึงไม่มีความจาเป็นจะต้องลาออกเพื่อเลี้ยงดูบุตรที่เพิ่งคลอด ครู ส่วนใหญ่จะมีอายุเฉลี่ยประมาณ 20 ปี (Muecller 1971 อ้างในสานักงานคณะกรรมการ วิจัยแห่งชาติ. 2534 : 186) สาหรับในสถานเลี้ยงเด็กแบบครอบครัวจะมีมารดาทางานในการช่วยดูแลเด็ก มารดาเหล่านี้จะต้องผ่านการฝึกอบรมเกี่ยวกับการอบรมเลี้ยงดูเด็กเป็นเวลา 90 ชั่วโมง นอกจากนี้จะต้องร่วมสัมมนาครูและผู้ปกครองและร่วมประชุมเกี่ยวกับการเลี้ยงดูเด็ก เพื่อ จะได้มีความรู้และประสบการณ์เพิ่มมากขึ้นด้วย สถานเลี้ยงเด็กหรือศูนย์เลี้ยงเด็กจะมีคณะทางานที่ประกอบไปด้วยผู้อานวยการ หรือครูใหญ่ ครูอนุบาล พยาบาล คนครัว และภารโรง การศึกษาปฐมวัยในอเมริกา ประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นประเทศหนึ่งในทวีปอเมริกาเหนือ ซึ่งมีความเจริญทั้ง ทางด้านเศรษฐกิจ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการศึกษาเป็นอย่างมาก ประเทศนี้จัดได้ ว่าเป็นประเทศผู้นาที่สาคัญของโลกดังนั้นจึงน่าสนใจที่จะศึกษาการจัดการศึกษาใน ประเทศนี้โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. ประวัติการศึกษาปฐมวัยในสหรัฐอเมริกา การจัดการศึกษาปฐมวัยในประเทศสหรัฐอเมริกานั้นประกอบด้วยแนวความคิดที่ หลากหลายรูปแบบ และหลายบุคคล จึงมีรูปแบบการจัดการศึกษาแต่ละแห่งที่แตกต่างกัน
  • 16. 66 ไปซึ่งสามารถแบ่งวิธีการจัดออกเป็น 3 รูปแบบใหญ่ ๆ ด้วยกัน คือ โรงเรียนอนุบาล (Kindergarten) โรงเรียนเด็กเล็ก (Nursery School) และศูนย์เลี้ยงเด็ก (Day Care Center) ซึ่งแต่ละรูปแบบจะมีประวัติความเป็นมาสรุปได้ดังนี้ (ประภาพรรณ สุวรรณสุข. 2539 : 93 – 99 อ้างอิงจากสานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2534 : 132 – 135) 1.1 โรงเรียนอนุบาล แนวคิดเรื่องการศึกษาปฐมวัยในสหรัฐอเมริกาใน ระยะแรกได้ใช้แนวความคิดของเฟรอเบลจากประเทศเยอรมนี คือ ในปี ค.ศ. 1853 นางคาร์ล เชอร์ซ (Mrs.Carl Schurz) ซึ่งเป็นลูกศิษย์ของเฟรอเบล ได้จัดตั้งโรงเรียน อนุบาลแห่งแรกขึ้นที่เมือง วอเตอร์ทาวน์ (Watertown) มลรัฐ วิสคอนซิน (Wisconsin) โดย สอนเป็นภาษาเยอรมัน ส่วนโรงเรียนอนุบาลแห่งแรกในอเมริกาที่สอนเป็นภาษาอังกฤษได้ ตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1860 ที่เมืองบอสตัน (Boston) โดยนางสาวอลิซาเบท พีบอดี้ (Elisabeth Peabody) และในปี ค.ศ. 1873 ซูซาน อี โบลว์ (Susan E.Blow) ได้เปิดโรงเรียนอนุบาล ของรัฐบาลแห่งแรกขึ้นที่เมืองแซงต์ลุย(St. Louis)แต่การศึกษาปฐมวัยไม่ค่อยได้รับความ สนใจ จนกระทั่งอีกประมาณ 10 – 20 ปีต่อมา จึงได้มีสมาคมการกุศลต่าง ๆ ตลอดจน สมาคมผู้เป็นแม่ ได้เปิดโรงเรียนอนุบาลขึ้นอีกมากมาย จุดมุ่งหมายในการเปิดโรงเรียน อนุบาลในช่วยนั้น เพื่อจะช่วยเหลือเด็กที่ยากจน เหตุนี้โรงเรียนอนุบาลที่เปิดในเวลานั้นส่วน ใหญ่จึงเปิดในเมืองใหญ่ ๆ ที่มีคนอพยพมาจากยุโรปและทาให้เกิดแหล่งเสื่อมโทรมเป็น จานวนมาก ตอนต้นศตวรรษที่ 20 การศึกษาปฐมวัยในประเทศสหรัฐอเมริกาเจริญมากและ นักการศึกษาในประเทศสหรัฐอเมริกาก็ยอมรับความคิดในการจัดการศึกษาของเฟรอเบล โดยเชื่อว่าการจัดโปรแกรมการศึกษาปฐมวัยตามแบบของเฟรอเบลนั้นดาเนินไปในทิศทาง ที่เหมาะสมไม่มีการใช้กิจกรรมที่เฉพาะเจาะจง ต่อมาได้มีการศึกษาถึงพัฒนาการของเด็ก มากขึ้น จากความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาพัฒนาการของเด็กนี่เอง จึงทาให้การจัด การศึกษาของเด็กปฐมวัยในปัจจุบันนี้จัดได้เหมาะสมและสอดคล้องกับพัฒนาการและ ความต้องการของเด็ก ขณะที่การศึกษาปฐมวัยในสหรัฐอเมริกากาลังพัฒนาไปเรื่อย ๆ ก็มีนักการศึกษาที่ สาคัญอีกคนหนึ่งคือ จอห์น ดิวอี้ (John Dewey, 1859 - 1952) ได้รวบรวมความคิดของ นักการศึกษาหลายคน ได้แก่ โคมินิอุส รูสโซ เปสตาลอสซี่ และเฟรอเบลมาประยุกต์ใช้ ตามความคิดของดิวอี้นั้น เขาเห็นว่าการศึกษาเป็นขบวนการของการดาเนินชีวิตในปัจจุบัน ไม่ใช่ การเตรียมการเพื่ออนาคต โรงเรียนควรทาหน้าที่เหมือนสังคมเล็ก ๆ ที่จะก่อให้เกิด ความร่วมมือกัน การตัดสินใจร่วมกันความปรองดองในกิจกรรมความเมตตากรุณา การแบ่งปันกันและการมีส่วนร่วมในกิจกรรมการศึกษาจาเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจาก
  • 17. 67 นักเรียนในการทากิจกรรมต่าง ๆ การเรียนรู้เกิดจากประสบการณ์ตรงไม่ใช่จากการอ่าน เท่านั้น การจัดหลักสูตรจะต้องเตรียมประสบการณ์ที่สม่าเสมอและต่อเนื่องกัน ครูจะต้อง มีความรับผิดชอบในการเลือกและ รวบรวมประสบการณ์ให้เหมาะสมที่สุดแก่เด็ก การปฏิรูปของการศึกษาปฐมวัยได้ทามาโดยตลอดช่วงปี ค.ศ.1920 – 1930 เป็น การนาไปสู่การศึกษาปฐมวัยสมัยใหม่ ซึ่งเป็นแบบอย่างที่ใช้กันในปัจจุบันนี้ องค์ประกอบที่ นาไปสู่ การเปลี่ยนแปลงในช่วงหลังจากปี ค.ศ. 1930 นั้นเป็นผลเนื่องมาจากเศรษฐกิจใน ระหว่างปี ค.ศ. 1930 – 1940 ซึ่งทาให้ โรงเรียนอนุบาลส่วนใหญ่ไม่มีเงินทุน สถานที่และ ไม่ได้รับความสนใจจากประชาชน อีกทั้งต้องแยกออกไปจากส่วนหนึ่งของโรงเรียนรัฐบาล จากนั้นการศึกษาปฐมวัยได้ซบเซาเรื่อยมาจนกระทั่งในช่วงปี ค.ศ. 1950 – 1960 ได้มี การเคลื่อนไหวโดยทางกรมสุขภาพจิตให้ความสนใจในเรื่องการฝึกฝนนิสัยแก่เด็ก จึงทาให้ การศึกษาปฐมวัยกลับมาสู่ความสนใจอีกครั้งหนึ่ง และความสนใจนั้นได้ขยายไปถึงการพัฒนา สติปัญญาของเด็ก จึงทาให้มีการสารวจหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยอีกครั้งหนึ่ง อีกทั้งยังมี ทฤษฎีทางจิตวิทยาซึ่งให้การสนับสนุนความสาคัญของการศึกษาปฐมวัย เหตุนี้เองทาง สาธารณสุขจึงได้ให้การสนับสนุนเพิ่มขึ้น ทาให้การศึกษาปฐมวัยแผ่ขยายออกไปในรัฐ ต่าง ๆ และกลายเป็นส่วนหนึ่งของระบบการศึกษาของรัฐไปจนกระทั่ง ปัจจุบันนี้ 1.2 โรงเรียนเด็กเล็ก โรงเรียนเด็กเล็กได้เริ่มเปิดครั้งแรกในปี ค.ศ. 1826 โดย โร เบิร์ต ดี โอเว็น (Robert D. Owen) ที่นิวฮาร์ โมนี (New Harmony) ในรัฐอินเดียน่าและ ในช่วงปี ค.ศ. 1920 ครูที่เคยทางานกับพี่น้องตระกูลแม็คมิลแลน ซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งโรงเรียน เด็กเล็กในประเทศอังกฤษได้ย้ายมาอยู่ที่อเมริกา และได้สาธิตวิธีการจัดโรงเรียนเด็กเล็ก แบบอังกฤษให้ดูจึงทาให้โรงเรียนเด็กเล็กเริ่มเกิดขึ้นในอเมริกาโดยในระยะแรกจัดที่ วิทยาลัยครูแล้วจึงมีหน่วยงานอื่น ๆ จัดการศึกษาชั้นเด็กเล็กเพิ่มขึ้น เช่น โรงเรียนเด็กเล็ก ของคณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย (Merill – Palmer Nursery School) และ หน่วยงานต่าง ๆ ในอเมริกาและมีหลายโรงเรียนที่รับเด็กต่ากว่าอายุ 3 ขวบ ช่วงเวลา 10 ปี ต่อมาโรงเรียนเด็กเล็กได้ขยายออกไปอย่างช้า ๆ ทั่วอเมริกามี หน่วยงานหลายหน่วยงานจัดโรงเรียนเด็กเล็ก ซึ่งแต่ละแห่งนั้นจุดมุ่งหมายในการจัดตั้ง โรงเรียนขึ้นอยู่กับผู้ให้เงินทุนอุดหนุน เช่น มหาวิทยาลัยจัดโรงเรียนเด็กเล็กขึ้นเพื่อเป็นที่ ทดลองวิจัยอีกทั้งยังเป็นแหล่งของการฝึกหัดครู ส่วนโรงเรียนเด็กเล็กที่จัดขึ้นโดยองค์กร สงเคราะห์นั้นมีจุดมุ่งหมายเพื่อดูแลเด็กที่มาจากครอบครัวที่ยากจน ในปี ค.ศ.1930 สภาพเศรษฐกิจของอเมริกาตกต่าทั่วประเทศ โรงเรียนเด็กเล็กก็ ได้รับผลกระทบเช่นเดียวกับโรงเรียนอนุบาล โรงเรียนต้องยุติการจ้างครูเพราะไม่มีเงินจ้าง ทาให้ครูตกงานเป็นจานวนมากเป็นภาระหนักแก่รัฐบาลเหตุนี้ทางรัฐบาลจึงได้ออก