SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  4
Télécharger pour lire hors ligne
www.เนติ.com
                               ผู้เสี ยหายในคดีอาญาถึงแก่ ความตาย
                                                                                            อ.เป้ สิททิกรณ์ 1 0




1. ผู้เสี ยหายตายก่อนฟ้ อง

    • สิทธิการฟ้ องคดีอาญาเป็ นสิ ทธิเฉพาะตัวไม่เป็ นมรดกตกทอดแก่ทายาท ดังนั้น ทายาทโดยธรรม
      หรื อผูรับพินยกรรมหรื อผูจดการมรดกของผูเ้ สียหายย่อมไม่ใช่ผเู้ สียหายและไม่มีอานาจฟ้ อง เว้นแต่
             ้     ั           ้ั                                                   ํ
      จะเป็ นกรณี ตามมาตรา 5 (2)
           ฎ. 2219/2521 จําเลยกระทําความผิดต่อ      ช. เจ้ามรดกในขณะที่ ช.ยังมีชีวิตอยู่ ช.จึงเป็ น
ผูเ้ สียหาย เมื่อ ช.ถึงแก่ความตาย โจทกในฐานะผจดการมรดกและทายาทโดยธรรมของ ช.ไม่มีอานาจฟ้ อง
                                      ์        ู้ ั                                      ํ
คดีแทน ช.เพราะประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 4, 5 และ 6 ไม่ได้ให้อานาจโจทก์ไว้ ทั้ง
                                                                                   ํ
สิทธิฟ้องคดีอาญาไม่ตกทอดมายังโจทก์ แม้จะพิจารณาได้ความตามฟ้ องว่าทรัพย์มรดกของ ช. ตกไดแก่         ้
โจทกก็ตาม แต่ทรัพย์มรดกนั้นก็เพิงตกมาเป็ นของโจทก์ภายหลังวันที่จาเลยกระทําความผิด โจทก์จึงไม่ใช่
         ์                          ่                             ํ
ผูเ้ สียหายและไม่มีอานาจฟ้ องจําเลย
                       ํ



2. ผู้เสียหายตายหลังฟ้ อง (มาตรา 29)

          มาตรา 29 เมื่อผู้เสียหายได้ ยนฟ้ องแล้ วตายลง ผู้บุพการี ผู้สืบ สันดานสามีหรือภริยาจะดําเนินคดี
                                          ื่
ต่ างผู้ตายต่ อไปก็ได้
          ถ้าผู้เสียหายที่ตายนั้นเป็ นผู้เยาว์ ผู้วกลจริต หรือผู้ไร้ ความสามารถ ซึ่งผู้แทนโดยชอบธรรม ผู้
                                                   ิ
อนุบาล หรือผู้แทนเฉพาะคดีได้ ยนฟ้ อง แทนไว้แล้ ว ผู้ฟ้องแทนนั้นจะว่าคดีต่อไปก็ได้
                                     ื่



        2.1. ผู้เสี ยหายได้ ยนฟ้ องแล้ วตายลง (มาตรา 29 วรรคหนึ่ง)
                             ื่
             1. ผู้เสี ยหายยืนฟ้ องคดี
                             ่
             o ผูเ้ สี ยหายร้องทุกข์ไว้แล้วตายลง ไม่ใช่กรณี ตามมาตรา 29 วรรคหน่ึง

1
 ผูบริ หารสถาบันติวกฎหมายสมาร์ ทลอว์เตอร์ : ติวกฎหมายป.ตรี, ตัวทนาย ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบติ ตัวปี , เนติบณฑิตไทย
   ้                                                          ๋                     ั ๋             ั
รายละเอียดดูที่ www.SmartLawTutor.com สอบถาม/สมครเรียนโทร. 086-987-5678 (ติดต่ออ.ตูน)
                                                   ั

                                                     1

                    “ติวกฎหมาย เข้าใจง่าย สอบผ่านสบาย ติวกบ
                                                          ั      SmartLawTutor.com”
www.เนติ.com
             ฎ.5162/2547 ว. บิดาโจทก์เป็ นผูเ้ สี ยหายโดยตรงตาม ป.วิ.อ. มาตรา 2 (4) ว. ตายโดยไม่ได้ถกทําร้าย
                                                                                                      ู
ถึงตายตามมาตรา 5 (2) โจทก์ซ่ ึงเป็ นผูสืบสันดานจึงไม่มีอานาจจัดการแทน ว. ฟ้ องจําเลยได้ ปรากฏว่า ว.
                                          ้                   ํ
(ผู้เสียหาย) เพียงแต่ ร้องทุกข์ ต่อเจ้ าพนักงานตํารวจเท่ านั้น ยังไม่ได้ ฟ้องคดีจงไม่ต้องด้ วยบทบัญญัตมาตรา
                                                                                 ึ                      ิ
29 ที่โจทก์จะดําเนินคดีต่างผู้ตายต่ อไปได้ โจทก์ไม่ได้เป็ นผูเ้ สียหายตาม ป.วิ.อ. มาตรา 2 (4) โจทก์จึงไม่มี
อํานาจฟ้ องจําเลย และเมื่อ ว. ตายสิ ทธิที่ ว. ได้ร้องทุกข์ไว้ต่อเจ้าพนักงานตํารวจไม่เป็ นมรดกตกทอดแก่
ทายาทตาม ป.พ.พ. มาตรา 1599 และมาตรา 1600 เพราะการฟ้ องคดีตองเป็ นไปตาม ป.วิ.อ. เมื่อโจทก์ไม่ได้
                                                                           ้
เป็ นผูเ้ สียหายตาม ป.วิ.อ. มาตรา 2 (4) เสี ยแล้วโจทก์จึงไม่มีอานาจฟ้ อง
                                                                 ํ
             o ผูมีอานาจจัดการแทนฟ้ องคดีแล้วตายลง ไม่ใช่กรณี ตามมาตรา 29 วรรคหน่ึง
                 ้ ํ
           ฎ.1303/2551 กรณี ที่ผเู ้ สี ยหายยืนฟ้ องแล้วตายลง ผูบุพการี ผูสืบสันดาน สามีหรื อภริ ยาจะดําเนินคดี
                                              ่                 ้         ้
ต่างผูตายต่อไปต้องเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ที่บญญัติไว้ใน ป.วิ.อ. มาตรา 29 ซ่ึงไดบญญติเรื่องการเขา
        ้                                          ั                                ้ ั ั            ้
ดําเนินคดีต่างผูตายไว้ชดแจ้งแล้ว จึงนํา ป.วิ.พ. มาตรา 42 และมาตรา 43 ประกอบ ป.วิ.อ. มาตรา 15 มาใช้
                 ้       ั
โดยอนุโลมไม่ได้ การที่ จ. ยืนคําร้องอ้างว่าเป็ นสามีของ ห. โจทก์ร่วม ขอเข้ารับมรดกความของ ห. ซึ่งถึงแก่
                              ่
ความตาย เมื่อ ห. เข้ามาในคดีในฐานะผูจดการแทน ส. ผูตาย ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 5 (2) จ. ซึ่งเป็ นสามีของ ห.
                                             ้ั              ้
หามีสิทธิเข้าดําเนิ นคดีต่าง ห. ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 29 ไม่ เพราะ ห. เป็ นเพียงผูจดการแทน ส. ผูตาย ไม่ใช่
                                                                                ้ั               ้
ผูเ้ สียหายในคดีน้ ี
         ฎ. 5884/2550 โจทก์ร่วมที่ 2 เป็ นบิดาเด็กหญิง ร. มีสิทธิเข้าร่ วมเป็ นโจทก์ได้ก็โดยฐานะเป็ น
ผูจดการแทนเด็กหญิง ร. ผูตายตาม ป.ว.ิ อ. มาตรา 5 (2) ต่อมาระหว่างพิจารณาของศาล โจทก์ร่วมที่ 2 ถึงแก่
  ้ั                       ้
ความตาย ส. ภริ ยาโจทก์ร่วมที่ 2 หามีสิทธิเข้าดําเนินคดีต่างโจทก์ร่วมที่ 2 ตามความหมายแห่ง ป.วิ.อ. มาตรา
29 ไม่ เพราะโจทก์ร่วมที่ 2 เป็ นเพียงผูจดการแทนเด็กหญิง ร. ผูตายเท่านั้น โจทก์ร่วมที่ 2 ไม่ใช่ผเู้ สียหายใน
                                       ้ั                     ้
ความผิดฐานกระทําโดยประมาทเป็ นเหตุให้ผอื่นถึงแก่ความตายโดยตรง ที่ศาลชั้นต้นอนุญาตให้ ส. เขา
                                             ู้                                                        ้
ดําเนินคดีต่างโจทก์ร่วมที่ 2 จึงเป็ นการไม่ชอบ


             2. ผู้เสี ยหายถึงแก่ ความตายในระหว่างการพิจารณาคดี
             o ผูเ้ สี ยหายต้องถึงแก่ความตายหลังฟ้ องคดี ถ้าตายก่อนฟ้ องไม่ใช่กรณี ตามมาตรา 29 วรรค
               หน่ ึง (ดูฎ.2219/2521)




                                                      2

                    “ติวกฎหมาย เข้าใจง่าย สอบผ่านสบาย ติวกบ
                                                          ั       SmartLawTutor.com”
www.เนติ.com
           3. ผู้บุพการี ผู้สืบสั นดาน สามีหรือภริยา จะดําเนินคดีอาญาต่างผู้ตายต่อไปก็ได้
             o ผูบุพการี และ ผูสืบสันดาน ถือตามความเป็ นจริ ง
                 ้             ้

        ฎ.5119/2530 ผูเ้ สี ยหายยืนฟ้ องแล้วตายลง ผูสืบสันดานตามความเป็ นจริ งของผูเ้ สี ยหายซึ่งแม้จะ
                                  ่                 ้
ไม่ใช่บุตรโดยชอบด้วยกฎหมายก็มีสิทธิดาเนิ นคดีต่างผูตายต่อไปได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
                                         ํ           ้
ความอาญา มาตรา 29 วรรคแรก และเมื่อผูสืบสันดานของผูเ้ สียหายยังเป็ นผูเ้ ยาว์ มารดาซึ่งเป็ นผูแทนโดย
                                           ้                                                 ้
ชอบธรรมของผูเ้ ยาว์ก็ดาเนิ นคดีแทนผูเ้ ยาว์ได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
                      ํ
แพ่ง มาตรา 56 ประกอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ อาญา มาตรา 15 โดยมารดาไม่ตองขอ             ้
อนุญาตเป็ นผูแทนเฉพาะคดีของผูเ้ ยาว์ต่อศาลก่อน
             ้

             o สามี หรื อ ภริ ยา ต้องชอบด้วยกฎหมายเท่านั้น
             o ผูสืบสันดานต้องระวังเป็ นคดีอุทลุม (ฎ.1551/2494)
                 ้

             ข้ อสังเกต

             1. จะนาป.วิ.แพ่ง มาตรา 42 และ 43 มาใชบงคบมิได ้ (อ้างว่าเป็ น ทายาทของผูมรณะ /
                      ํ                            ้ ั ั                             ้
                ผจดการมรดกของผมรณะ / บุคคลอื่นใดที่ปกครองทรัพย์มรดกไว้ )
                 ู้ ั             ู้

           ฎ.1303/2551 กรณี ที่ผเู ้ สี ยหายยืนฟ้ องแล้วตายลง ผูบุพการี ผูสืบสันดาน สามีหรื อภริ ยาจะดําเนินคดี
                                              ่                 ้         ้
ต่างผูตายต่อไปต้องเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ที่บญญัติไว้ใน ป.วิ.อ. มาตรา 29 ซ่ึงไดบญญติเรื่องการเขา
        ้                                           ั                               ้ ั ั             ้
ดําเนินคดีต่างผูตายไว้ชดแจ้งแล้ว จึงนํา ป.ว.ิ พ. มาตรา 42 และมาตรา 43 ประกอบ ป.วิ.อ. มาตรา 15 มาใช้
                 ้       ั
โดยอนุโลมไม่ได้ การที่ จ. ยืนคําร้องอ้างว่าเป็ นสามีของ ห. โจทก์ร่วม ขอเข้ารับมรดกความของ ห. ซึ่งถึงแก่
                              ่
ความตาย เมื่อ ห. เข้ามาในคดีในฐานะผูจดการแทน ส. ผูตาย ตาม ป.ว.ิ อ. มาตรา 5 (2) จ. ซึ่งเป็ นสามีของ ห.
                                                ้ั           ้
หามีสิทธิเข้าดําเนิ นคดีต่าง ห. ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 29 ไม่ เพราะ ห. เป็ นเพียงผูจดการแทน ส. ผูตาย ไม่ใช่
                                                                                 ้ั               ้
ผูเ้ สียหายในคดีน้ ี

             2. เมื่อศาลอนุ ญาตแล้วจะขอให้ศาลจําหน่ายคดีก็ได้

           ฎ.3619/2543 โจทกที่ 3 ซึ่งเป็ นผูเ้ สี ยหายได้ยนฟ้ องแล้วตายลง โจทกที่ 1ซึ่ งเป็ นมารดาของโจทก์
                              ์                           ื่                    ์
ที่ 3 ผูตายไม่ประสงค์จะดําเนิ นคดีแทน ก็เป็ นสิ ทธิของโจทก์ที่ 1 ที่จะร้องต่อศาลขอให้จาหน่ายคดีโจทก์
        ้                                                                                    ํ
ที่ 3 ได้ เมื่อจําเลยไม่คดค้านคําสังศาลชั้นต้นที่จาหน่ายคดีเฉพาะโจทก์ที่ 3 จึงชอบแล้ว
                         ั         ่                ํ



                                                      3

                    “ติวกฎหมาย เข้าใจง่าย สอบผ่านสบาย ติวกบ
                                                          ั       SmartLawTutor.com”
www.เนติ.com
           3. แม้ไม่มีผดาเนิ นคดีต่อไปก็ไม่เป็ นเหตุให้คดีอาญาระงับ
                       ู้ ํ

         ฎ.217/2506 ผูเ้ สี ยหายเป็ นโจทก์ฟ้องคดีอาญาซึ่งเป็ นความผิดอันยอมความได้ แล้วตายลงภายหลัง
ที่ศษลฎีกาได้ส่งคําพิพากษาไปให้ศาลชั้นต้นเพื่อจะอ่านให้คู่ความฟังแล้วนั้น หาไดมีกฎหมายบญญติให้
                                                                               ้          ั ั
คดีอาญาระงับไปไม่ เมื่อคดีมาถึงศาลฎีกาและโจทก์ตายเมื่อได้ดาเนิ นคดีมาครบถ้วนบริ บูรณ์แล้ว ศาลฎีกา
                                                                 ํ
ย่อมดําเนินกระบวนพิจารณาคดีต่อไปได้



      2.2. ผู้แทนโดยชอบธรรม/ผู้อนุบาลฟ้ องแทน แต่ผู้เยาว์ ผู้วกลจริต หรือ ผู้ไร้ ความสามารถถึงแก่
                                                              ิ
ความตาย ให้ ผู้แทนโดยชอบธรรมดําเนินคดีต่อไปได้




                                                 4

                  “ติวกฎหมาย เข้าใจง่าย สอบผ่านสบาย ติวกบ
                                                        ั   SmartLawTutor.com”

Contenu connexe

Tendances

สรุประเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526
สรุประเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526สรุประเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526
สรุประเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526ประพันธ์ เวารัมย์
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมYosiri
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกกฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกYosiri
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน0895043723
 
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาดโครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาดAraya Chiablaem
 
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556Narong Jaiharn
 
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อpeter dontoom
 
บันทึกข้อความขอความอนุเคราะห์ให้ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยตรวจสอบแก้ไข
บันทึกข้อความขอความอนุเคราะห์ให้ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยตรวจสอบแก้ไขบันทึกข้อความขอความอนุเคราะห์ให้ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยตรวจสอบแก้ไข
บันทึกข้อความขอความอนุเคราะห์ให้ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยตรวจสอบแก้ไขสภานักเรียน ส.ป. samutprakanstudentcouncil
 
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมายการเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมายNurat Puankhamma
 
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีสั่งทำลายไก่เพื่อป้องกันโรคระบาด แบบฟอร์มราชการจ...
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีสั่งทำลายไก่เพื่อป้องกันโรคระบาด แบบฟอร์มราชการจ...คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีสั่งทำลายไก่เพื่อป้องกันโรคระบาด แบบฟอร์มราชการจ...
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีสั่งทำลายไก่เพื่อป้องกันโรคระบาด แบบฟอร์มราชการจ...Parun Rutjanathamrong
 
การรักษาราชการแทน กับการปฎิบัติราชการแทน
การรักษาราชการแทน กับการปฎิบัติราชการแทนการรักษาราชการแทน กับการปฎิบัติราชการแทน
การรักษาราชการแทน กับการปฎิบัติราชการแทนประพันธ์ เวารัมย์
 
ใบงานวิชาชีวิตและครอบครัว ทช32004
ใบงานวิชาชีวิตและครอบครัว ทช32004ใบงานวิชาชีวิตและครอบครัว ทช32004
ใบงานวิชาชีวิตและครอบครัว ทช32004pongtum
 
กฎหมายรัฐธรรมนูญ
กฎหมายรัฐธรรมนูญกฎหมายรัฐธรรมนูญ
กฎหมายรัฐธรรมนูญNoi Net
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2 กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2 AJ Por
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ นักวิชาการคอมพิวเตอร์และตำแหน่งอื่นๆที่ต้องมีความร...
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ นักวิชาการคอมพิวเตอร์และตำแหน่งอื่นๆที่ต้องมีความร...แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ นักวิชาการคอมพิวเตอร์และตำแหน่งอื่นๆที่ต้องมีความร...
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ นักวิชาการคอมพิวเตอร์และตำแหน่งอื่นๆที่ต้องมีความร...ประพันธ์ เวารัมย์
 

Tendances (20)

มรดก
มรดกมรดก
มรดก
 
สรุประเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526
สรุประเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526สรุประเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526
สรุประเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกกฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
 
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาดโครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
 
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
 
low basic
low basiclow basic
low basic
 
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
ข้อสอบ พรบคอมพิวเตอ50มี 20 ข้อ
 
บันทึกข้อความขอความอนุเคราะห์ให้ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยตรวจสอบแก้ไข
บันทึกข้อความขอความอนุเคราะห์ให้ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยตรวจสอบแก้ไขบันทึกข้อความขอความอนุเคราะห์ให้ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยตรวจสอบแก้ไข
บันทึกข้อความขอความอนุเคราะห์ให้ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยตรวจสอบแก้ไข
 
แนวข้อสอบบุคคลกร
แนวข้อสอบบุคคลกรแนวข้อสอบบุคคลกร
แนวข้อสอบบุคคลกร
 
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมายการเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
 
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีสั่งทำลายไก่เพื่อป้องกันโรคระบาด แบบฟอร์มราชการจ...
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีสั่งทำลายไก่เพื่อป้องกันโรคระบาด แบบฟอร์มราชการจ...คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีสั่งทำลายไก่เพื่อป้องกันโรคระบาด แบบฟอร์มราชการจ...
คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด กรณีสั่งทำลายไก่เพื่อป้องกันโรคระบาด แบบฟอร์มราชการจ...
 
การรักษาราชการแทน กับการปฎิบัติราชการแทน
การรักษาราชการแทน กับการปฎิบัติราชการแทนการรักษาราชการแทน กับการปฎิบัติราชการแทน
การรักษาราชการแทน กับการปฎิบัติราชการแทน
 
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
 
ใบงานวิชาชีวิตและครอบครัว ทช32004
ใบงานวิชาชีวิตและครอบครัว ทช32004ใบงานวิชาชีวิตและครอบครัว ทช32004
ใบงานวิชาชีวิตและครอบครัว ทช32004
 
กฎหมายรัฐธรรมนูญ
กฎหมายรัฐธรรมนูญกฎหมายรัฐธรรมนูญ
กฎหมายรัฐธรรมนูญ
 
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2 กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ นักวิชาการคอมพิวเตอร์และตำแหน่งอื่นๆที่ต้องมีความร...
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ นักวิชาการคอมพิวเตอร์และตำแหน่งอื่นๆที่ต้องมีความร...แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ นักวิชาการคอมพิวเตอร์และตำแหน่งอื่นๆที่ต้องมีความร...
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ นักวิชาการคอมพิวเตอร์และตำแหน่งอื่นๆที่ต้องมีความร...
 

En vedette

ผู้มีอำนาจจัดการแทนยื่นฟ้องคดีอาญาแล้วตายลง จะขอดำเนินคดีอาญาต่างผู้ตายได้หรื...
ผู้มีอำนาจจัดการแทนยื่นฟ้องคดีอาญาแล้วตายลง จะขอดำเนินคดีอาญาต่างผู้ตายได้หรื...ผู้มีอำนาจจัดการแทนยื่นฟ้องคดีอาญาแล้วตายลง จะขอดำเนินคดีอาญาต่างผู้ตายได้หรื...
ผู้มีอำนาจจัดการแทนยื่นฟ้องคดีอาญาแล้วตายลง จะขอดำเนินคดีอาญาต่างผู้ตายได้หรื...อ.เป้ สิททิกรณ์ สมาร์ทลอว์ติวเตอร์
 
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......ปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
กฎหมายที่ต้องจัดทำนับจากวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญปี59
กฎหมายที่ต้องจัดทำนับจากวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญปี59กฎหมายที่ต้องจัดทำนับจากวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญปี59
กฎหมายที่ต้องจัดทำนับจากวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญปี59ปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
ประสบการณ์การชดเชยความเสียหายให้คนไข้ใน 6 ประเทศ
ประสบการณ์การชดเชยความเสียหายให้คนไข้ใน 6 ประเทศประสบการณ์การชดเชยความเสียหายให้คนไข้ใน 6 ประเทศ
ประสบการณ์การชดเชยความเสียหายให้คนไข้ใน 6 ประเทศปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 

En vedette (20)

ฎีกาใหม่ลักทรัพย์
ฎีกาใหม่ลักทรัพย์ฎีกาใหม่ลักทรัพย์
ฎีกาใหม่ลักทรัพย์
 
คำร้องขอแก้ไขเพิ่มเติมฟ้อง
คำร้องขอแก้ไขเพิ่มเติมฟ้องคำร้องขอแก้ไขเพิ่มเติมฟ้อง
คำร้องขอแก้ไขเพิ่มเติมฟ้อง
 
หนังสือยินยอมเป็นผู้จัดการมรดก
หนังสือยินยอมเป็นผู้จัดการมรดกหนังสือยินยอมเป็นผู้จัดการมรดก
หนังสือยินยอมเป็นผู้จัดการมรดก
 
แนวข้อสอบตั๋วปี ครั้งที่ 1 ปี 54
แนวข้อสอบตั๋วปี ครั้งที่ 1 ปี 54แนวข้อสอบตั๋วปี ครั้งที่ 1 ปี 54
แนวข้อสอบตั๋วปี ครั้งที่ 1 ปี 54
 
การรับมรดกของบุตรบุญธรรม
การรับมรดกของบุตรบุญธรรมการรับมรดกของบุตรบุญธรรม
การรับมรดกของบุตรบุญธรรม
 
คำฟ้อง
คำฟ้องคำฟ้อง
คำฟ้อง
 
เนติบัณฑิตคืออะไร
เนติบัณฑิตคืออะไรเนติบัณฑิตคืออะไร
เนติบัณฑิตคืออะไร
 
ปฏิทินการศึกษาเนติ ภาค 1 และ 2 สมัย 64
ปฏิทินการศึกษาเนติ ภาค 1 และ 2 สมัย 64ปฏิทินการศึกษาเนติ ภาค 1 และ 2 สมัย 64
ปฏิทินการศึกษาเนติ ภาค 1 และ 2 สมัย 64
 
พระราชบัญญัติ การรับขนของทางทะเล พ.ศ. 2534
พระราชบัญญัติ การรับขนของทางทะเล พ.ศ. 2534พระราชบัญญัติ การรับขนของทางทะเล พ.ศ. 2534
พระราชบัญญัติ การรับขนของทางทะเล พ.ศ. 2534
 
หนังสือยินยอมเป็นผู้จัดการมรดก
หนังสือยินยอมเป็นผู้จัดการมรดกหนังสือยินยอมเป็นผู้จัดการมรดก
หนังสือยินยอมเป็นผู้จัดการมรดก
 
กฎหมายที่ใช้เรียนเนติฯ
กฎหมายที่ใช้เรียนเนติฯกฎหมายที่ใช้เรียนเนติฯ
กฎหมายที่ใช้เรียนเนติฯ
 
ประมวลกฎหมายอาญา
ประมวลกฎหมายอาญาประมวลกฎหมายอาญา
ประมวลกฎหมายอาญา
 
การสมัครเป็นนักศึกษาเนติฯ
การสมัครเป็นนักศึกษาเนติฯการสมัครเป็นนักศึกษาเนติฯ
การสมัครเป็นนักศึกษาเนติฯ
 
ข้อสอบเนติ ภาค 2 สมัย 63 กลุ่มกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
ข้อสอบเนติ ภาค 2 สมัย 63 กลุ่มกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งข้อสอบเนติ ภาค 2 สมัย 63 กลุ่มกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
ข้อสอบเนติ ภาค 2 สมัย 63 กลุ่มกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
 
ผู้มีอำนาจจัดการแทนยื่นฟ้องคดีอาญาแล้วตายลง จะขอดำเนินคดีอาญาต่างผู้ตายได้หรื...
ผู้มีอำนาจจัดการแทนยื่นฟ้องคดีอาญาแล้วตายลง จะขอดำเนินคดีอาญาต่างผู้ตายได้หรื...ผู้มีอำนาจจัดการแทนยื่นฟ้องคดีอาญาแล้วตายลง จะขอดำเนินคดีอาญาต่างผู้ตายได้หรื...
ผู้มีอำนาจจัดการแทนยื่นฟ้องคดีอาญาแล้วตายลง จะขอดำเนินคดีอาญาต่างผู้ตายได้หรื...
 
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
 
ร่างพรบ.คุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบฯ ฉบับสธ.
ร่างพรบ.คุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบฯ ฉบับสธ.ร่างพรบ.คุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบฯ ฉบับสธ.
ร่างพรบ.คุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบฯ ฉบับสธ.
 
คำฟ้องคดีแพ่ง ผ่าไส้ติ่งรพ.ร่อนพิบูลย์
คำฟ้องคดีแพ่ง ผ่าไส้ติ่งรพ.ร่อนพิบูลย์คำฟ้องคดีแพ่ง ผ่าไส้ติ่งรพ.ร่อนพิบูลย์
คำฟ้องคดีแพ่ง ผ่าไส้ติ่งรพ.ร่อนพิบูลย์
 
กฎหมายที่ต้องจัดทำนับจากวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญปี59
กฎหมายที่ต้องจัดทำนับจากวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญปี59กฎหมายที่ต้องจัดทำนับจากวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญปี59
กฎหมายที่ต้องจัดทำนับจากวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญปี59
 
ประสบการณ์การชดเชยความเสียหายให้คนไข้ใน 6 ประเทศ
ประสบการณ์การชดเชยความเสียหายให้คนไข้ใน 6 ประเทศประสบการณ์การชดเชยความเสียหายให้คนไข้ใน 6 ประเทศ
ประสบการณ์การชดเชยความเสียหายให้คนไข้ใน 6 ประเทศ
 

Similaire à ผู้เสียหายในคดีอาญาถึงแก่ความตาย

หน้าที่พลเมืองมอปลาย
หน้าที่พลเมืองมอปลายหน้าที่พลเมืองมอปลาย
หน้าที่พลเมืองมอปลายKroo Mngschool
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242CUPress
 
คดีตัวอย่าง กรณ๊ทนายยื่นเกินเวลา
คดีตัวอย่าง กรณ๊ทนายยื่นเกินเวลาคดีตัวอย่าง กรณ๊ทนายยื่นเกินเวลา
คดีตัวอย่าง กรณ๊ทนายยื่นเกินเวลายัย จุ๊
 
กฎหมายครอบครัวการสมรส
กฎหมายครอบครัวการสมรสกฎหมายครอบครัวการสมรส
กฎหมายครอบครัวการสมรสSukit U-naidhamma
 

Similaire à ผู้เสียหายในคดีอาญาถึงแก่ความตาย (7)

กฎหมาย
กฎหมายกฎหมาย
กฎหมาย
 
หน้าที่พลเมืองมอปลาย
หน้าที่พลเมืองมอปลายหน้าที่พลเมืองมอปลาย
หน้าที่พลเมืองมอปลาย
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
คดีตัวอย่าง กรณ๊ทนายยื่นเกินเวลา
คดีตัวอย่าง กรณ๊ทนายยื่นเกินเวลาคดีตัวอย่าง กรณ๊ทนายยื่นเกินเวลา
คดีตัวอย่าง กรณ๊ทนายยื่นเกินเวลา
 
มรดก 1
มรดก 1มรดก 1
มรดก 1
 
Laws 100
Laws 100Laws 100
Laws 100
 
กฎหมายครอบครัวการสมรส
กฎหมายครอบครัวการสมรสกฎหมายครอบครัวการสมรส
กฎหมายครอบครัวการสมรส
 

ผู้เสียหายในคดีอาญาถึงแก่ความตาย

  • 1. www.เนติ.com ผู้เสี ยหายในคดีอาญาถึงแก่ ความตาย อ.เป้ สิททิกรณ์ 1 0 1. ผู้เสี ยหายตายก่อนฟ้ อง • สิทธิการฟ้ องคดีอาญาเป็ นสิ ทธิเฉพาะตัวไม่เป็ นมรดกตกทอดแก่ทายาท ดังนั้น ทายาทโดยธรรม หรื อผูรับพินยกรรมหรื อผูจดการมรดกของผูเ้ สียหายย่อมไม่ใช่ผเู้ สียหายและไม่มีอานาจฟ้ อง เว้นแต่ ้ ั ้ั ํ จะเป็ นกรณี ตามมาตรา 5 (2) ฎ. 2219/2521 จําเลยกระทําความผิดต่อ ช. เจ้ามรดกในขณะที่ ช.ยังมีชีวิตอยู่ ช.จึงเป็ น ผูเ้ สียหาย เมื่อ ช.ถึงแก่ความตาย โจทกในฐานะผจดการมรดกและทายาทโดยธรรมของ ช.ไม่มีอานาจฟ้ อง ์ ู้ ั ํ คดีแทน ช.เพราะประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 4, 5 และ 6 ไม่ได้ให้อานาจโจทก์ไว้ ทั้ง ํ สิทธิฟ้องคดีอาญาไม่ตกทอดมายังโจทก์ แม้จะพิจารณาได้ความตามฟ้ องว่าทรัพย์มรดกของ ช. ตกไดแก่ ้ โจทกก็ตาม แต่ทรัพย์มรดกนั้นก็เพิงตกมาเป็ นของโจทก์ภายหลังวันที่จาเลยกระทําความผิด โจทก์จึงไม่ใช่ ์ ่ ํ ผูเ้ สียหายและไม่มีอานาจฟ้ องจําเลย ํ 2. ผู้เสียหายตายหลังฟ้ อง (มาตรา 29) มาตรา 29 เมื่อผู้เสียหายได้ ยนฟ้ องแล้ วตายลง ผู้บุพการี ผู้สืบ สันดานสามีหรือภริยาจะดําเนินคดี ื่ ต่ างผู้ตายต่ อไปก็ได้ ถ้าผู้เสียหายที่ตายนั้นเป็ นผู้เยาว์ ผู้วกลจริต หรือผู้ไร้ ความสามารถ ซึ่งผู้แทนโดยชอบธรรม ผู้ ิ อนุบาล หรือผู้แทนเฉพาะคดีได้ ยนฟ้ อง แทนไว้แล้ ว ผู้ฟ้องแทนนั้นจะว่าคดีต่อไปก็ได้ ื่ 2.1. ผู้เสี ยหายได้ ยนฟ้ องแล้ วตายลง (มาตรา 29 วรรคหนึ่ง) ื่ 1. ผู้เสี ยหายยืนฟ้ องคดี ่ o ผูเ้ สี ยหายร้องทุกข์ไว้แล้วตายลง ไม่ใช่กรณี ตามมาตรา 29 วรรคหน่ึง 1 ผูบริ หารสถาบันติวกฎหมายสมาร์ ทลอว์เตอร์ : ติวกฎหมายป.ตรี, ตัวทนาย ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบติ ตัวปี , เนติบณฑิตไทย ้ ๋ ั ๋ ั รายละเอียดดูที่ www.SmartLawTutor.com สอบถาม/สมครเรียนโทร. 086-987-5678 (ติดต่ออ.ตูน) ั 1 “ติวกฎหมาย เข้าใจง่าย สอบผ่านสบาย ติวกบ ั SmartLawTutor.com”
  • 2. www.เนติ.com ฎ.5162/2547 ว. บิดาโจทก์เป็ นผูเ้ สี ยหายโดยตรงตาม ป.วิ.อ. มาตรา 2 (4) ว. ตายโดยไม่ได้ถกทําร้าย ู ถึงตายตามมาตรา 5 (2) โจทก์ซ่ ึงเป็ นผูสืบสันดานจึงไม่มีอานาจจัดการแทน ว. ฟ้ องจําเลยได้ ปรากฏว่า ว. ้ ํ (ผู้เสียหาย) เพียงแต่ ร้องทุกข์ ต่อเจ้ าพนักงานตํารวจเท่ านั้น ยังไม่ได้ ฟ้องคดีจงไม่ต้องด้ วยบทบัญญัตมาตรา ึ ิ 29 ที่โจทก์จะดําเนินคดีต่างผู้ตายต่ อไปได้ โจทก์ไม่ได้เป็ นผูเ้ สียหายตาม ป.วิ.อ. มาตรา 2 (4) โจทก์จึงไม่มี อํานาจฟ้ องจําเลย และเมื่อ ว. ตายสิ ทธิที่ ว. ได้ร้องทุกข์ไว้ต่อเจ้าพนักงานตํารวจไม่เป็ นมรดกตกทอดแก่ ทายาทตาม ป.พ.พ. มาตรา 1599 และมาตรา 1600 เพราะการฟ้ องคดีตองเป็ นไปตาม ป.วิ.อ. เมื่อโจทก์ไม่ได้ ้ เป็ นผูเ้ สียหายตาม ป.วิ.อ. มาตรา 2 (4) เสี ยแล้วโจทก์จึงไม่มีอานาจฟ้ อง ํ o ผูมีอานาจจัดการแทนฟ้ องคดีแล้วตายลง ไม่ใช่กรณี ตามมาตรา 29 วรรคหน่ึง ้ ํ ฎ.1303/2551 กรณี ที่ผเู ้ สี ยหายยืนฟ้ องแล้วตายลง ผูบุพการี ผูสืบสันดาน สามีหรื อภริ ยาจะดําเนินคดี ่ ้ ้ ต่างผูตายต่อไปต้องเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ที่บญญัติไว้ใน ป.วิ.อ. มาตรา 29 ซ่ึงไดบญญติเรื่องการเขา ้ ั ้ ั ั ้ ดําเนินคดีต่างผูตายไว้ชดแจ้งแล้ว จึงนํา ป.วิ.พ. มาตรา 42 และมาตรา 43 ประกอบ ป.วิ.อ. มาตรา 15 มาใช้ ้ ั โดยอนุโลมไม่ได้ การที่ จ. ยืนคําร้องอ้างว่าเป็ นสามีของ ห. โจทก์ร่วม ขอเข้ารับมรดกความของ ห. ซึ่งถึงแก่ ่ ความตาย เมื่อ ห. เข้ามาในคดีในฐานะผูจดการแทน ส. ผูตาย ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 5 (2) จ. ซึ่งเป็ นสามีของ ห. ้ั ้ หามีสิทธิเข้าดําเนิ นคดีต่าง ห. ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 29 ไม่ เพราะ ห. เป็ นเพียงผูจดการแทน ส. ผูตาย ไม่ใช่ ้ั ้ ผูเ้ สียหายในคดีน้ ี ฎ. 5884/2550 โจทก์ร่วมที่ 2 เป็ นบิดาเด็กหญิง ร. มีสิทธิเข้าร่ วมเป็ นโจทก์ได้ก็โดยฐานะเป็ น ผูจดการแทนเด็กหญิง ร. ผูตายตาม ป.ว.ิ อ. มาตรา 5 (2) ต่อมาระหว่างพิจารณาของศาล โจทก์ร่วมที่ 2 ถึงแก่ ้ั ้ ความตาย ส. ภริ ยาโจทก์ร่วมที่ 2 หามีสิทธิเข้าดําเนินคดีต่างโจทก์ร่วมที่ 2 ตามความหมายแห่ง ป.วิ.อ. มาตรา 29 ไม่ เพราะโจทก์ร่วมที่ 2 เป็ นเพียงผูจดการแทนเด็กหญิง ร. ผูตายเท่านั้น โจทก์ร่วมที่ 2 ไม่ใช่ผเู้ สียหายใน ้ั ้ ความผิดฐานกระทําโดยประมาทเป็ นเหตุให้ผอื่นถึงแก่ความตายโดยตรง ที่ศาลชั้นต้นอนุญาตให้ ส. เขา ู้ ้ ดําเนินคดีต่างโจทก์ร่วมที่ 2 จึงเป็ นการไม่ชอบ 2. ผู้เสี ยหายถึงแก่ ความตายในระหว่างการพิจารณาคดี o ผูเ้ สี ยหายต้องถึงแก่ความตายหลังฟ้ องคดี ถ้าตายก่อนฟ้ องไม่ใช่กรณี ตามมาตรา 29 วรรค หน่ ึง (ดูฎ.2219/2521) 2 “ติวกฎหมาย เข้าใจง่าย สอบผ่านสบาย ติวกบ ั SmartLawTutor.com”
  • 3. www.เนติ.com 3. ผู้บุพการี ผู้สืบสั นดาน สามีหรือภริยา จะดําเนินคดีอาญาต่างผู้ตายต่อไปก็ได้ o ผูบุพการี และ ผูสืบสันดาน ถือตามความเป็ นจริ ง ้ ้ ฎ.5119/2530 ผูเ้ สี ยหายยืนฟ้ องแล้วตายลง ผูสืบสันดานตามความเป็ นจริ งของผูเ้ สี ยหายซึ่งแม้จะ ่ ้ ไม่ใช่บุตรโดยชอบด้วยกฎหมายก็มีสิทธิดาเนิ นคดีต่างผูตายต่อไปได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ํ ้ ความอาญา มาตรา 29 วรรคแรก และเมื่อผูสืบสันดานของผูเ้ สียหายยังเป็ นผูเ้ ยาว์ มารดาซึ่งเป็ นผูแทนโดย ้ ้ ชอบธรรมของผูเ้ ยาว์ก็ดาเนิ นคดีแทนผูเ้ ยาว์ได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ ํ แพ่ง มาตรา 56 ประกอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ อาญา มาตรา 15 โดยมารดาไม่ตองขอ ้ อนุญาตเป็ นผูแทนเฉพาะคดีของผูเ้ ยาว์ต่อศาลก่อน ้ o สามี หรื อ ภริ ยา ต้องชอบด้วยกฎหมายเท่านั้น o ผูสืบสันดานต้องระวังเป็ นคดีอุทลุม (ฎ.1551/2494) ้ ข้ อสังเกต 1. จะนาป.วิ.แพ่ง มาตรา 42 และ 43 มาใชบงคบมิได ้ (อ้างว่าเป็ น ทายาทของผูมรณะ / ํ ้ ั ั ้ ผจดการมรดกของผมรณะ / บุคคลอื่นใดที่ปกครองทรัพย์มรดกไว้ ) ู้ ั ู้ ฎ.1303/2551 กรณี ที่ผเู ้ สี ยหายยืนฟ้ องแล้วตายลง ผูบุพการี ผูสืบสันดาน สามีหรื อภริ ยาจะดําเนินคดี ่ ้ ้ ต่างผูตายต่อไปต้องเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ที่บญญัติไว้ใน ป.วิ.อ. มาตรา 29 ซ่ึงไดบญญติเรื่องการเขา ้ ั ้ ั ั ้ ดําเนินคดีต่างผูตายไว้ชดแจ้งแล้ว จึงนํา ป.ว.ิ พ. มาตรา 42 และมาตรา 43 ประกอบ ป.วิ.อ. มาตรา 15 มาใช้ ้ ั โดยอนุโลมไม่ได้ การที่ จ. ยืนคําร้องอ้างว่าเป็ นสามีของ ห. โจทก์ร่วม ขอเข้ารับมรดกความของ ห. ซึ่งถึงแก่ ่ ความตาย เมื่อ ห. เข้ามาในคดีในฐานะผูจดการแทน ส. ผูตาย ตาม ป.ว.ิ อ. มาตรา 5 (2) จ. ซึ่งเป็ นสามีของ ห. ้ั ้ หามีสิทธิเข้าดําเนิ นคดีต่าง ห. ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 29 ไม่ เพราะ ห. เป็ นเพียงผูจดการแทน ส. ผูตาย ไม่ใช่ ้ั ้ ผูเ้ สียหายในคดีน้ ี 2. เมื่อศาลอนุ ญาตแล้วจะขอให้ศาลจําหน่ายคดีก็ได้ ฎ.3619/2543 โจทกที่ 3 ซึ่งเป็ นผูเ้ สี ยหายได้ยนฟ้ องแล้วตายลง โจทกที่ 1ซึ่ งเป็ นมารดาของโจทก์ ์ ื่ ์ ที่ 3 ผูตายไม่ประสงค์จะดําเนิ นคดีแทน ก็เป็ นสิ ทธิของโจทก์ที่ 1 ที่จะร้องต่อศาลขอให้จาหน่ายคดีโจทก์ ้ ํ ที่ 3 ได้ เมื่อจําเลยไม่คดค้านคําสังศาลชั้นต้นที่จาหน่ายคดีเฉพาะโจทก์ที่ 3 จึงชอบแล้ว ั ่ ํ 3 “ติวกฎหมาย เข้าใจง่าย สอบผ่านสบาย ติวกบ ั SmartLawTutor.com”
  • 4. www.เนติ.com 3. แม้ไม่มีผดาเนิ นคดีต่อไปก็ไม่เป็ นเหตุให้คดีอาญาระงับ ู้ ํ ฎ.217/2506 ผูเ้ สี ยหายเป็ นโจทก์ฟ้องคดีอาญาซึ่งเป็ นความผิดอันยอมความได้ แล้วตายลงภายหลัง ที่ศษลฎีกาได้ส่งคําพิพากษาไปให้ศาลชั้นต้นเพื่อจะอ่านให้คู่ความฟังแล้วนั้น หาไดมีกฎหมายบญญติให้ ้ ั ั คดีอาญาระงับไปไม่ เมื่อคดีมาถึงศาลฎีกาและโจทก์ตายเมื่อได้ดาเนิ นคดีมาครบถ้วนบริ บูรณ์แล้ว ศาลฎีกา ํ ย่อมดําเนินกระบวนพิจารณาคดีต่อไปได้ 2.2. ผู้แทนโดยชอบธรรม/ผู้อนุบาลฟ้ องแทน แต่ผู้เยาว์ ผู้วกลจริต หรือ ผู้ไร้ ความสามารถถึงแก่ ิ ความตาย ให้ ผู้แทนโดยชอบธรรมดําเนินคดีต่อไปได้ 4 “ติวกฎหมาย เข้าใจง่าย สอบผ่านสบาย ติวกบ ั SmartLawTutor.com”