SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  99
Télécharger pour lire hors ligne
วิสัยทัศน์ หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช 2551
                                         ้

            หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนทุกคน ซึ่ งเป็ นกาลังของชาติให้
เป็ นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่ างกาย ความรู ้ คุณธรรมมีจิตสานึกในความเป็ นพลเมืองไทยและ
เป็ นพลโลก ยึดมันในการปกครองตามระบอบประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข
                   ่                                                               ์
มีความรู ้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จาเป็ นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษา
ตลอดชีวต โดยมุ่งเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรี ยนรู ้และพัฒนา
          ิ
ตนเองได้เต็มตามศักยภาพ


หลักการ


          หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหลักการที่สาคัญ ดังนี้
                 1. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาเพื่อความเป็ นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐาน
การเรี ยนรู้เป็ นเป้ าหมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรม
บนพื้นฐานของความเป็ นไทยควบคู่กบความเป็ นสากล
                                         ั
                 2. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษา
อย่างเสมอภาคและมีคุณภาพ
                 3. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาที่สนองการกระจายอานาจ ให้สังคมมีส่วนร่ วมในการจัด
การศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น
                                                                  ่
                 4. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุนทั้งด้านสาระการเรี ยนรู ้
เวลาและการจัดการเรี ยนรู้
                 5. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ
                 6. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย
ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้ าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรี ยนรู ้ และประสบการณ์

จุดหมาย

               หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนให้เป็ นคนดี มีปัญญา
มีความสุ ข มีศกยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็ นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับ
                   ั
ผูเ้ รี ยน เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้
1. มีคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวนยและ
                                                                                      ิ ั
ปฏิบติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรื อศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของ
       ั
เศรษฐกิจพอเพียง
             2. มีความรู ้ ความสามารถในการสื่ อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี
และมีทกษะชีวต
         ั     ิ
             3. มีสุขภาพกายและสุ ขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกาลังกาย
             4. มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็ นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมันในวิถีชีวต
                                                                                ่         ิ
และการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข
                                                               ์
             5. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนา
                                         ั
สิ่ งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทาประโยชน์และสร้างสิ่ งที่ดีงามในสังคม และอยูร่วมกันในสังคม
                                                                             ่
อย่างมีความสุ ข

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

        ในการพัฒนาผูเ้ รี ยนตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งเน้นพัฒนาผูเ้ รี ยนให้
มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กาหนด ซึ่ งจะช่วยให้ผเู ้ รี ยนเกิดสมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ ดังนี้
         สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
            หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งให้ผเู ้ รี ยนเกิดสมรรถนะสาคัญ 5 ประการ
ดังนี้
                 1. ความสามารถในการสื่ อสาร เป็ นความสามารถในการรับและส่ งสาร
มีวฒนธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู ้ความเข้าใจ ความรู ้สึก และทัศนะของตนเอง
     ั
เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อนจะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม
                                               ั
รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปั ญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรื อไม่รับข้อมูล
ข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วธีการสื่ อสาร ที่มีประสิ ทธิ ภาพ
                                                             ิ
โดยคานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม
                 2. ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิด
สังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวจารณญาณ และการคิดเป็ นระบบ เพื่อนาไปสู่
                                                 ิ
การสร้างองค์ความรู ้หรื อสารสนเทศเพื่อการตัดสิ นใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
                 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็ นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ
เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ้ ประยุกต์
ความรู ้มาใช้ในการป้ องกันและแก้ไขปั ญหา และมีการตัดสิ นใจที่มีประสิ ทธิภาพโดยคานึงถึง
ผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคมและสิ่ งแวดล้อม
                4. ความสามารถในการใช้ ทกษะชีวต เป็ นความสามารถในการนากระบวนการ
                                           ั       ิ
ต่าง ๆ ไปใช้ในการดาเนินชีวตประจาวัน การเรี ยนรู ้ดวยตนเอง การเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่อง การทางาน
                               ิ                     ้
และการอยูร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริ มความสัมพันธ์อนดีระหว่างบุคคล ดการปัญหาและ
           ่                                              ั                 การจั
ความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทนกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและ
                                                 ั
สภาพแวดล้อม และการรู ้จกหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผูอื่น
                             ั                                                             ้
                5. ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีเป็ นความสามารถในการเลือก และใช้
เทคโนโลยีดานต่าง ๆ และมีทกษะกระบวนการทางเทคโนโลยี ่อการพัฒนาตนเองและสังคม
             ้                   ั                       เพื
ในด้านการเรี ยนรู ้ การสื่ อสาร การทางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม
และมีคุณธรรม
         คุณลักษณะอันพึงประสงค์
             หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ เพื่อให้สามารถอยูร่วมกับผูอ่ืนในสังคมได้อย่างมีความสุ ข ในฐานะเป็ นพลเมืองไทยและ
                                ่   ้
พลโลก ดังนี้
                1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
                2. ซื่อสัตย์สุจริ ต
                3. มีวนย  ิ ั
                4. ใฝ่ เรี ยนรู้
                        ่
                5. อยูอย่างพอเพียง
                 6. มุ่งมันในการทางาน
                              ่
                 7. รักความเป็ นไทย
                 8. มีจิตสาธารณะ
โครงสร้ างเวลาเรียน (แนบท้ายคาสั่ง สพฐ. ที่ 683/2552 ลงวันที่ 13 พฤษภาคม 2552)
        หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กาหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรี ยน ดังนี้
                                                                                เวลาเรียน
                                                                                                                                      ระดับ
     กลมสาระการเรียนร/
       ุ่            ู้
                                         ระดับประถมศึกษา                              ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น                        มัธยมศึกษา
          กิจกรรม
                                                                                                                                   ตอนปลาย
                             ป.1   ป.2       ป.3       ป.4      ป.5       ป.6       ม.1               ม.2                ม.3          ม.4-6
 กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้
                                                                                    120               120                 120          240
ภาษาไทย                      200   200       200       160          160   160
                                                                                  (3 นก.)           (3 นก.)             (3 นก.)      (6 นก.)
                                                                                    120               120                 120          240
คณิตศาสตร์                   200   200       200       160          160   160
                                                                                  (3 นก.)           (3 นก.)             (3 นก.)      (6 นก.)
                                                                                    120               120                 120          240
วิทยาศาสตร์                  80    80         80        80          80    80
                                                                                  (3นก.)            (3นก.)              (3นก.)       (6 นก.)
สังคมศึกษา ศาสนา และ         120   120       120       120          120   120       160                160                160          320
วัฒนธรรม                                                                          (4 นก.)            (4 นก.)            (4 นก.)      (8 นก.)
◦ ประวัติศาสตร์              40    40         40        40          40    40         40                40                  40           80
                                                                                  (1 นก.)            (1 นก.)            (1 นก.)      (2 นก.)
◦ ศาสนา ศีลธรรมจริ ยธรรม
◦ หน้าที่พลเมืองวัฒนธรรม                                                             120               120                120          240
                              80   80         80        80          80    80
และการดาเนินชีวิตในสังคม                                                           (3นก.)            (3นก.)             (3นก.)       (6 นก.)
◦ เศรษฐศาสตร์
◦ ภูมิศาสตร์
                                                                                      80                80                  80          120
สุ ขศึกษาและพลศึกษา          80    80         80        80          80    80
                                                                                   (2 นก.)           (2 นก.)             (2 นก.)      (3 นก.)
                                                                                      80                80                  80          120
ศิลปะ                        80    80         80        80          80    80
                                                                                   (2 นก.)           (2 นก.)             (2 นก.)      (3 นก.)
                                                                                      80                80                  80          120
การงานอาชีพและเทคโนโลยี      40    40         40        80          80    80
                                                                                   (2 นก.)           (2 นก.)             (2 นก.)      (3 นก.)
                                                                                     120               120                 120          240
ภาษาต่ างประเทศ              40    40         40        80          80    80
                                                                                   (3 นก.)           (3 นก.)             (3 นก.)      (6 นก.)
                                                                                  880 (22              880                 880         1,640
   รวมเวลาเรี ยน (พื้นฐาน)   840   840       840       840          840   840
                                                                                    นก.)            (22 นก.)            (22 นก.)     (41 นก.)
 กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน    120   120       120       120          120   120        120               120                 120          360
 รายวิชา/กิจกรรมที่
                                                                                                                                    ไม่นอยกว่า
                                                                                                                                        ้
สถานศึกษาจัดเพิ่มเติมตาม                 ปี ละไม่เกิน 40 ชัวโมง
                                                           ่                                ปี ละไม่เกิน 200 ชัวโมง
                                                                                                               ่
                                                                                                                                   1,600 ชัวโมง
                                                                                                                                           ่
ความพร้อมและจุดเน้น
                                                                                                                                   รวม 3 ปี ไม่
    รวมเวลาเรียนทั้งหมด                 ไม่ เกิน 1,000 ชั่วโมง/ปี                           ไม่ เกิน 1,200 ชั่วโมง/ปี                น้ อยกว่า
                                                                                                                                   3,600 ชั่วโมง
5

วิสัยทัศน์ พันธกิจ เปาหมายโรงเรียนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษก
                     ้

       ภายในปี 2558 เป็ นโรงเรี ยนดี มีมาตรฐานการศึกษาสู่ สากล ชุมชน ร่ วมพัฒนา
สร้างสรรค์ มุ่งมันสื บสานงานพระราชดาริ
                 ่

เปาหมาย
  ้

       ผลักดันให้โรงเรี ยนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษกผ่านการประเมินคุณภาพรอบที่ 3 และ
ยกระดับการจัดการศึกษาให้เป็ นไปตามเกณฑ์มาตรฐานสากล ขึ้นสู่ สถาบันการศึกษาที่มี
ตาแหน่ง 1 ใน 5 ของเขตพื้นที่การมัธยมศึกษาร้อยเอ็ด เขต27 (สพม. 27)

จุดเน้ น

         จัดการเรี ยนการสอนให้ผเู้ รี ยนเป็ นผูที่มีความรู้ ความสามารถ เป็ นคนดี
                                               ้
บุคลากรทุกคนของโรงเรี ยนตระหนัก และภาคภูมิใจในเกียรติภูมิการเป็ นลูก “จตุร -รัชดา” ร่ วมกัน
สร้างชื่อเสี ยงให้ลือเลื่องขจรขจาย
6

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

            ในการพัฒนาผูเ้ รี ยนตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งเน้นพัฒนาผูเ้ รี ยนให้
มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กาหนด ซึ่ งจะช่วยให้ผเู ้ รี ยนเกิดสมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ ดังนี้
            สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
               หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งให้ผเู ้ รี ยนเกิดสมรรถนะสาคัญ 5 ประการ
ดังนี้
                  1. ความสามารถในการสื่ อสาร เป็ นความสามารถในการรับและส่ งสาร
มีวฒนธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู ้ความเข้าใจ ความรู ้สึก และทัศนะของตนเอง
     ั
เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อนจะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม
                                                ั
รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปั ญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรื อไม่รับข้อมูล
ข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วธีการสื่ อสาร ที่มีประสิ ทธิ ภาพ
                                                                   ิ
โดยคานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม
                  2. ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิด
สังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวจารณญาณ และการคิดเป็ นระบบ เพื่อนาไปสู่
                                                   ิ
การสร้างองค์ความรู ้หรื อสารสนเทศเพื่อการตัดสิ นใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
                  3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็ นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ
เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ้ ประยุกต์
ความรู ้มาใช้ในการป้ องกันและแก้ไขปั ญหา และมีการตัดสิ นใจที่มีประสิ ทธิภาพโดยคานึงถึง
ผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคมและสิ่ งแวดล้อม
                  กระบวนการแก้ปัญหา การประเมินผลถูกออกแบบอย่างรอบคอบ ชนิดที่วาผลที่        ่
นักเรี ยนแสดงออกมา จะชี้บอกถึงระดับความสามารถของนักเรี ยนที่จะเผชิญหน้ากับปั ญหาและ
การแก้ปัญหาอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ โดยนักเรี ยนจะต้องแสดงออกว่ามีความสามารถที่จะ
                         1) เข้าใจปัญหา รวมทั้งการเข้าใจเรื่ องราวสาระจากข้อเขียน แผนผัง สู ตร
ตารางและสามารถอ้างอิง เชื่อมโยงสาระจากแหล่งต่าง ๆ แสดงออกว่าเข้าใจแนวคิดที่เกี่ยวข้องใช้
สาระจากพื้นฐานความรู ้เดิมของตน เพื่อทาความเข้าใจกับสาระเรื่ องราวที่กาหนดให้
7

                           2) บอกลักษณะปัญหา รวมทั้งการระบุบอกตัวแปรในปั ญหา และตั้ง
ข้อสังเกตถึงความเชื่อมโยงเกี่ยวข้องระหว่างตัวแปร ตัดสิ นใจว่าตัวแปรใดใช้ได้หรื อใช้ไม่ได้ สร้าง
สมมุติฐาน และค้นคืนสาระ จัดกระทา พิจารณาและประเมินสาระที่มีอยู่
                           3) แสดงการนาเสนอการแก้ปัญหา รวมทั้งการสร้างตาราง กราฟ
สัญลักษณ์ การพูด
                           4) ลงมือแก้ปัญหา รวมถึงการตัดสิ นใจ วิเคราะห์ระบบ หรื อออกแบบ
ระบบเพื่อนนาไปสู่ เป้ าหมายหรื อวิเคราะห์วนิจฉัยและเสนอวิธีการแก้ปัญหา
                                               ิ
                           5) สะท้อนการแก้ปัญหา รวมถึงการตรวจสอบการแก้ปัญหาและมองหา
สาระข้อมูลเพิมเติม หรื อเพิมคาอธิ บายให้ชดเจนยิงขึ้น ประเมินการแก้ปัญหาจากมุมมองต่าง ๆ หรื อ
              ่                 ่            ั     ่
หาวิธีแก้ปัญหาใหม่ และให้เป็ นที่ยอมรับมากขึ้น หรื อเพื่อให้สามารถอธิ บายได้
                           6) สื่ อสารการแก้ปัญหา รวมถึงการเลือกสื่ อและการนาเสนอที่เหมาะสม
เพื่อบอกกล่าวและสื่ อสารการแก้ปัญหาให้คนนอกได้รับรู ้
                      4. ความสามารถในการใช้ ทกษะชีวต เป็ นความสามารถในการนากระบวนการ
                                                 ั       ิ
ต่าง ๆ ไปใช้ในการดาเนินชีวตประจาวัน การเรี ยนรู ้ดวยตนเอง การเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่อง การทางาน
                                  ิ                    ้
และการอยูร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริ มความสัมพันธ์อนดีระหว่างบุคคล ดการปัญหาและ
           ่                                                 ั              การจั
ความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทนกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและ
                                                     ั
สภาพแวดล้อม และการรู ้จกหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผูอื่น
                              ั                                                            ้
                      5. ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีเป็ นความสามารถในการเลือก และใช้
เทคโนโลยี ด้านต่าง ๆ และมีทกษะกระบวนการทางเทคโนโลยี ่อการพัฒนาตนเองและสังคม
                                    ั                          เพื
ในด้านการเรี ยนรู ้ การสื่ อสาร การทางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม
และมีคุณธรรม

         คุณลักษณะอันพึงประสงค์
             หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ เพื่อให้สามารถอยูร่วมกับผูอ่ืนในสังคมได้อย่างมีความสุ ข ในฐานะเป็ นพลเมืองไทยและ
                         ่        ้
พลโลก ดังนี้
                1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ หมายถึง มีความภาคภูมิใจในความเป็ นไทย นิยมไทย
ปฏิบติตามคาสั่งสอนของศาสนา เคารพเทิดทูนศาสนา แสดงความจงรักภักดี เทิดทูนพระเกียรติ
    ั
และ พระราชกรณี ยกิจของพระมหากษัตริ ย ์
8

                   2. ซื่อสั ตย์ สุจริต หมายถึง การประพฤติปฏิบติอย่างเหมาะสม และตรงต่อความ
                                                                 ั
เป็ นจริ ง ประพฤติปฏิบติอย่างตรงไปตรงมา ทั้งกาย วาจา ใจ ต่อตนเองและผูอื่น รวมตลอดทั้งต่อ
                           ั                                                      ้
หน้าที่ การงานและคามันสัญญา ความประพฤติที่ตรงไปตรงมา และจริ งใจในสิ่ งที่ถูกที่ควร
                                 ่
ถูกต้องตามทานองคลองธรรม รวมไปถึงการไม่คิดคดทรยศ ไม่คดโกงและไม่หลอกลวง นอกจากนี้
แล้วความซื่อสัตย์สุจริ ตยังรวมไปถึง การรักษาคาพูดหรื อคามันสัญญา และการปฏิบติหน้าที่การงาน
                                                               ่                          ั
ของตนเองด้วยความรับผิดชอบ และด้วยความซื่ อสัตย์ไม่แสวงหาผลประโยชน์ให้แก่ตนเองและ
พวกพ้องด้วยการใช้ อานาจหน้าที่โดยมิชอบ ซึ่ งความซื่ อสัตย์สุจริ ตนี้จะดาเนินไปด้วยความตั้งใจ
จริ งเพื่อทาหน้าที่ของตนเองให้สาเร็ จลุล่วง ด้วยความระมัดระวัง และเกิดผลดีต่อตนเองและสังคม
                   3. มีวนัย หมายถึง การควบคุมความประพฤติให้ถูกต้องและเหมาะสมกับจรรยา
                             ิ
มารยาท ข้อบังคับ ข้อตกลง กฎหมาย และศีลธรรมการรู้จกควบคุมตนเองให้ประพฤติปฏิบติตาม
                                                            ั                                 ั
ข้อตกลง ข้อบังคับ ระเบียบแบบแผน และขนบธรรมเนียมประเพณี อนดีงาม ย่อมนามาซึ่ ง
                                                                         ั
ความสงบสุ ขในชีวตของตน ความเป็ นระเบียบเรี ยบร้อยของสังคมและประเทศชาติ
                     ิ
                   4. ใฝ่ เรียนรู้ หมายถึง การค้นคว้าหาความรู ้หรื อสิ่ งที่เป็ นประโยชน์
เพื่อพัฒนาตนเองอยูเ่ สมอ
                   5. อยู่อย่ างพอเพียง หมายถึง การมีความพอดีในการบริ โภค ใช้ทรัพยากรและ
เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์ คานึงถึงฐานะและเศรษฐกิจ คิดก่อนใช้จ่ายตามความเหมาะสม รู ้จก            ั
การเพิ่มพูนทรัพย์ ด้วยการเก็บและนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ดูแลรักษาบูรณทรัพย์ของตนเอง
มีการเก็บออมเงินไว้ตามสมควร
                   6. มุ่งมั่นในการทางาน หมายถึง การศึกษาเรี ยนรู้เพื่อหาข้อเท็จจริ ง ซึ่งอาจพัฒนา
ไปสู่ ความจริ ง ในสิ่ งที่ตองการเรี ยนรู ้ หรื อต้องการหาคาตอบ เพื่อนาคาตอบที่ได้น้ นมาใช้ประโยชน์
                               ้                                                        ั
ในด้านต่าง ๆ เช่น การยกระดับความรู ้ การนาไปประยุกต์ใช้ในชีวตประจาวัน ฯลฯหรื อนามาสรุ ป
                                                                    ิ
เป็ นความจริ งให้ได้
                   7. รักความเป็ นไทย หมายถึง เข้าใจ หวงแหนความเป็ นไทยซึ่งถือเป็ นต้นทุนทาง
สังคม ทาให้ทุกศาสนา สามารถอยูร่วมกันได้อย่างสันติโดยต้องมีการดาเนินชีวตโดยกายสุ จริ ต วจี
                                        ่                                           ิ
สุ จริ ต และมโนสุ จริ ตเป็ นคุณลักษณะที่เกี่ยวข้องกับการเข้าสังคมและการมีปฏิสมพันธ์กบผูอื่น เช่น
                                                                                      ั     ั ้
ความมีกิริยามารยาท การปรับตัว ความตรงต่อเวลา ความสุ ภาพ การมีสมมาคารวะ การพูดจา
                                                                             ั
ไพเราะ และความอ่อนน้อมถ่อมตน
                   8. มีจิตสาธารณะ หมายถึง คุณลักษณะทางจิตใจของบุคคลเกี่ยวกับการมองเห็น
คุณค่า หรื อการให้คุณค่าแก่การมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมและสิ่ งต่าง ๆ ที่เป็ นสิ่ งสาธารณะที่ไม่มีผใด ู้
9

ผูหนึ่งเป็ นเจ้าของ หรื อเป็ นสิ่ งที่คนในสังคมเป็ นเจ้าของร่ วมกัน เป็ นสิ่ งที่สามารถสังเกตได้จาก
   ้
ความรู้สึกนึกคิด หรื อการกระทาที่แสดงออกมา ได้แก่ การหลีกเลี่ยงการใช้หรื อการกระทาที่จะทา
ให้เกิดความชารุ ดเสี ยหายต่อส่ วนรวมที่ใช้ประโยชน์ร่วมกันของกลุ่ม การถือเป็ นหน้าที่ที่จะมีส่วน
ร่ วมในการดูแลรักษาของส่ วนรวมนวิสัยที่ตนสามารถทาได้ และการเคารพสิ ทธิในการใช้ของ
                                       ใ
ส่ วนรวมที่เป็ นประโยชน์ร่วมกันของกลุ่ม
10

                      โครงสร้ างหลักสู ตรโรงเรียนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษก พุทธศักราช 2553 ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช 2551
                                                                                                                                ้
                                                    ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้ น (มัธยมศึกษาปี ที่ 1 – 3) ปรับปรุ งครั้งที่ 1 พ.ศ.2555

                                           ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1                                                                                                                                      ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2                                                                                                                                         ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
                              ภาคเรี ยนที่ 1                    ภาคเรี ยนที่ 2                                                                                                             ภาคเรี ยนที่ 1                  ภาคเรี ยนที่ 2                                                                                                                ภาคเรี ยนที่ 1                    ภาคเรี ยนที่ 2
     กลุ่มสาระ       สาระการเรี ยนรู้/    กิจกรรม                                                     สาระการเรี ยนรู้/   กิจกรรม                                                  สาระการเรี ยนรู้/   กิจกรรม                                                     สาระการเรี ยนรู้/   กิจกรรม                                                  สาระการเรี ยนรู้/    กิจกรรม                                                      สาระการเรี ยนรู้/   กิจกรรม
     การเรี ยนรู ้      หน่วยกิต           พัฒนา                                                         หน่วยกิต          พัฒนา                                                       หน่วยกิต         พัฒนา                                                          หน่วยกิต         พัฒนา                                                      หน่วยกิต           พัฒนา                                                          หน่วยกิต          พัฒนา
                      พื้น       เพิ่ม                                                                 พื้น       เพิ่ม                                                            พื้น      เพิ่ม                                                                 พื้น      เพิ่ม                                                               พื้น       เพิ่ม                                                                  พื้น       เพิ่ม
                                           ผูเ้ รี ยน                                                                     ผูเ้ รี ยน                                                                    ผูเ้ รี ยน                                                                     ผูเ้ รี ยน                                                                     ผูเ้ รี ยน                                                                      ผูเ้ รี ยน
                      ฐาน        เติม                                                                  ฐาน        เติม                                                             ฐาน       เติม                                                                  ฐาน       เติม                                                                ฐาน        เติม                                                                   ฐาน        เติม
ภาษาไทย                1.5                                                                              1.5                                                                        1.5                                                                             1.5                                                                            1.5                                                                                  1.5




                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                       ----------------------60 ชัวโมง----------------------
                                           ----------------------60 ชัวโมง----------------------




                                                                                                                           ----------------------60 ชัวโมง----------------------




                                                                                                                                                                                                        ----------------------60 ชัวโมง----------------------




                                                                                                                                                                                                                                                                                        ----------------------60 ชัวโมง----------------------




                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                      ----------------------60 ชัวโมง----------------------
คณิ ตศาสตร์            1.5       1.0                                                                    1.5       1.0                                                              1.5        1.0                                                                  1.5        1.0                                                                 1.5       1.0                                                                        1.5    1.0
วิทยาศาสตร์            1.5       0.5                                                                    1.5       0.5                                                              1.5        0.5                                                                  1.5        0.5                                                                 1.5       0.5                                                                        1.5    0.5
สังคมศึกษาฯ            1.5       0.5                                                                    1.5       0.5                                                              1.5        0.5                                                                  1.5        0.5                                                                 2.0       0.5                                                                        2.0    0.5
สุขศึกษาฯ              1.0                                                                              1.0                                                                        1.0                                                                             1.0                                                                            1.0                                                                                  1.0




                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                  ่
ศิลปะ                  1.0                                                                              1.0                                                                        1.0                                                                             1.0                                                                            1.0                                                                                  1.0
                                                                      ่




                                                                                                                                                      ่




                                                                                                                                                                                                                                   ่




                                                                                                                                                                                                                                                                                                                   ่




                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                 ่
การงานอาชีพฯ           1.0       0.5                                                                    1.0       0.5                                                              1.0       0.5                                                                   1.0       0.5                                                                  1.0       1.0                                                                        1.0    1.0
ภาษาต่างประเทศ         1.5       0.5                                                                    1.5       0.5                                                              1.5       0.5                                                                   1.5       0.5                                                                  1.5                                                                                  1.5
รวมหน่วยกิต           10.5       3.0                                                                   10.5       3.0                                                              10.5      3.0                                                                   10.5      3.0                                                                 11.0       2.5                                                                       11.0    2.5
จานวนชัวโมง
         ่            420        120                                                                   420        120                                                              420       120                                                                   420       120                                                                 440        100                                                                       440     100
จานวน ชัวโมงรายภาค
             ่                     600                                                                              600                                                                        600                                                                             600                                                                            600                                                                              600
จานวนชัวโมงรายปี
           ่                                                                                       1,200                                                                                                                                                        1,200                                                                                                                                                         1,200
รวม 3 ปี                                                                                                                                                                                                                                                        3,600
11

วิสัยทัศน์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์

         ภายในปี พ.ศ. 2555 กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ มุ่งเน้นให้นกเรี ยนเป็ นคนดี
                                                                         ั
มีคุณธรรม มีทกษะ กระบวนการคิด การแก้ปัญหาอย่างเป็ นระบบ และสร้างองค์ความรู ้ได้อย่าง
             ั
เหมาะสม เต็มตามศักยภาพของผูเ้ รี ยน


หลักการ

             1. พัฒนาความรู้ ความสามารถทางคณิ ตศาสตร์ตามศักยภาพของผูเ้ รี ยน และสามารถนาไป
เป็ นเครื่ องมือในการเรี ยนรู ้สิ่งต่าง ๆ และเป็ นพื้นฐานlสาหรับการศึกษาต่อ
             2. จัดกิจกรรมกระบวนการเรี ยนรู ้อย่างหลากหลายต่อเนื่อง มีส่วนร่ วมในการจัด
กระบวนการเรี ยนรู ้อย่างมีความสุ ข
             3. จัดแผนการเรี ยนการสอนให้แก่ผเู ้ รี ยน เพื่อให้ผเู ้ รี ยนได้มีโอกาสเรี ยนรู ้วชาคณิ ตศาสตร์
                                                                                               ิ
ตามความถนัดและความสนใจ
             4. พัฒนาบุคลากรของกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ให้มีความรู ้และทักษะตลอดจน
นามวลประสบการณ์มาใช้ในการเรี ยนการสอนโดยเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ
             5. มีการนิเทศและติดตามอย่างเป็ นระบบในด้านการเรี ยนการสอนคณิ ตศาสตร์
              6. จัดการเรี ยนการสอนโดยการสอดแทรกคุณธรรม จริ ยธรรม ในทุกรายวิชาอย่างเป็ น
รู ปธรรม
              7. สนับสนุน ส่ งเสริ มให้ครู ผลิตสื่ อและนวัตกรรมประกอบการเรี ยนการสอน
ตามเนื้อหาการเรี ยนรู ้
              8. จัดกิจกรรมส่ งเสริ ม พัฒนาผูเ้ รี ยนที่มีความสามารถ และช่วยเหลือผูเ้ รี ยนที่มีปัญหา
ด้านการเรี ยนคณิ ตศาสตร์
              9. วัดผลและประเมินผลตามสภาพจริ ง ด้วยวิธีการที่หลากหลายให้ครอบคลุม
ทั้งทางด้านความรู ้ ทักษะ/กระบวนการ สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รี ยน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
12

จุดมุ่งหมาย

             ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้ น
              1. มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับจานวนจริ ง มีความเข้าใจเกี่ยวกับอัตราส่ วน สัดส่ วน
ร้อยละ เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็ นจานวนเต็ม รากที่สองและรากที่สามของจานวนจริ ง สามารถ
ดาเนินการเกี่ยวกับจานวนเต็ม เศษส่ วน ทศนิยม เลขยกกาลัง รากที่สองและรากที่สามของจานวนจริ ง
ใช้การประมาณค่าในการดาเนินการและแก้ปัญหา และนาความรู ้เกี่ยวกับจานวนไปใช้ในชีวตจริ งได้    ิ
                 2. มีความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นที่ผวของปริ ซึม ทรงกระบอก และปริ มาตรของ
                                                         ิ
ปริ ซึม ทรงกระบอก พีระมิด กรวย และทรงกลม เลือกใช้หน่วยการวัดในระบบต่าง ๆ เกี่ยวกับความ
ยาว พื้นที่ และปริ มาตรได้อย่างเหมาะสม พร้อมทั้งสามารถนาความรู ้เกี่ยวกับการวัดไปใช้ในชีวตจริ ง
                                                                                              ิ
ได้
                 3. สามารถสร้างและอธิ บายขั้นตอนการสร้างรู ปเรขาคณิ ตสองมิติโดยใช้วงเวียนและ
สันตรง อธิ บายลักษณะและสมบัติของรู ปเรขาคณิ ตสามมิติซ่ ึ งได้แก่ ปริ ซึม พีระมิด ทรงกระบอก
กรวย และทรงกลมได้
                 4. มีความเข้าใจเกี่ยวกับสมบัติของความเท่ากันทุกประการและความคล้ายของรู ป
สามเหลี่ยม เส้นขนาน ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับ และสามารถนาสมบัติเหล่านั้นไปใช้ในการ
ให้เหตุผลและแก้ปัญหาได้มีความเข้าใจเกี่ยวกับการแปลงทางเรขาคณิ ต (geometric transformation)ใน
เรื่ องการเลื่อนขนาน(translation) การสะท้อน (reflection) และการหมุน (rotation) และนาไปใช้ได้
 5                . สามารถนึกภาพและอธิบายลักษณะของรู ปเรขาคณิ ตสองมิติและสามมิติ
 6                . สามารถวิเคราะห์และอธิบายความสัมพันธ์ของแบบรู ป สถานการณ์หรื อปัญหา และ
สามารถใช้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
และกราฟในการแก้ปัญหาได้
 7                . สามารถกาหนดประเด็น เขียนข้อคาถามเกี่ยวกับปั ญหาหรื อสถานการณ์ กาหนด
วิธีการศึกษา เก็บรวบรวมข้อมูลและนาเสนอข้อมูลโดยใช้แผนภูมิรูปวงกลม หรื อรู ปแบบอื่นที่
เหมาะสมได้
 8                . เข้าใจค่ากลางของข้อมูลในเรื่ องค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต มัธยฐาน และฐานนิยมของข้อมูลที่
ยังไม่ได้แจกแจงความถี่ และเลือกใช้ได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งใช้ความรู ้ในการพิจารณาข้อมูล
ข่าวสารทางสถิติ
 9                . เข้าใจเกี่ยวกับการทดลองสุ่ ม เหตุการณ์ และความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ สามารถใช้
ความรู ้เกี่ยวกับความน่าจะเป็ นในการคาดการณ์และประกอบการตัดสิ นใจในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
13

 10                . ใช้วธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา ใช้ความรู ้ ทักษะและกระบวนการทางคณิ ตศาสตร์
                          ิ
และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ให้เหตุผลประกอบการ
ตัดสิ นใจ และสรุ ปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิ ตศาสตร์ ในการสื่ อสาร การ
สื่ อความหมาย และการนาเสนอ ได้อย่างถูกต้อง และชัดเจน เชื่อมโยงความรู ้
ต่าง ๆ ในคณิ ตศาสตร์ และนาความรู ้ หลักการ กระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์
อื่น ๆ และมีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์
               11. มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับระบบจานวนจริ ง ค่าสัมบูรณ์ของจานวนจริ ง
                   ่                                  ่
จานวนจริ งที่อยูในรู ปกรณฑ์ และจานวนจริ งที่อยูในรู ปเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็ น
                                                        ่
จานวนตรรกยะ หาค่าประมาณของจานวนจริ งที่อยูในรู ปกรณฑ์ และจานวนจริ งที่อยูในรู ป      ่
เลขยกกาลังโดยใช้วธีการคานวณที่เหมาะสมและสามารถนาสมบัติของจานวนจริ งไปใช้ได้
                        ิ
               12. นาความรู ้เรื่ องอัตราส่ วนตรี โกณมิติไปใช้คาดคะเนระยะทาง ความสู ง และแก้ปัญหา
เกี่ยวกับการวัดได้
                13. มีความคิดรวบยอดในเรื่ องเซต การดาเนินการของเซตและใช้ความรู ้เกี่ยวกับแผนภาพ
เวนน์-ออยเลอร์แสดงเซตไปใช้แก้ปัญหา และตรวจสอบความสมเหตุสมผลของการให้เหตุผล
                14. เข้าใจและสามารถใช้การให้เหตุผลแบบอุปนัยและนิรนัยได้
                15. มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับความสัมพันธ์และฟังก์ชน สามารถใช้ความสัมพันธ์และ
                                                                      ั
ฟังก์ชนแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
       ั
                16. เข้าใจความหมายของลาดับเลขคณิ ต ลาดับเรขาคณิ ต และสามารถหาพจน์ทวไปได้   ั่
เข้าใจความหมายของผลบวกของ n พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิ ต อนุกรมเรขาคณิ ต
และหาผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิ ต และอนุกรมเรขาคณิ ตโดยใช้สูตรและนาไปใช้ได้
               17. และเข้าใจการแก้สมการ และอสมการตัวแปรเดียวดีกรี ไม่เกินสอง รวมทั้งใช้กราฟ
ของสมการ อสมการ หรื อฟังก์ชนในการแก้ปัญหา
                                      ั
               18. เข้าใจวิธีการสารวจความคิดเห็นอย่างง่าย เลือกใช้ค่ากลางได้เหมาะสมกับข้อมูลและ
วัตถุประสงค์ สามารถหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต มัธยฐาน ฐานนิยม ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเปอร์ เซ็น
ไทล์ของข้อมูล วิเคราะห์ขอมูล และนาผลจากการวิเคราะห์ขอมูลไปช่วยในการตัดสิ นใจ
                               ้                                ้
                19. เข้าใจเกี่ยวกับการทดลองสุ่ ม เหตุการณ์ และความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ สามารถ
ใช้ความรู ้เกี่ยวกับความน่าจะเป็ นในการคาดการณ์ ประกอบการตัดสิ นใจ และแก้ปัญหาใน
สถานการณ์ต่าง ๆ ได้
14

              20. ใช้วธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา ใช้ความรู ้ ทักษะและกระบวนการทางคณิ ตศาสตร์
                      ิ
และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ให้เหตุผลประกอบการ
ตัดสิ นใจ และสรุ ปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิ ตศาสตร์
ในการสื่ อสาร การสื่ อความหมาย และการนาเสนอ ได้อย่างถูกต้อง และชัดเจน เชื่อมโยงความรู ้ต่าง
ๆ ในคณิ ตศาสตร์ และนาความรู้ หลักการ กระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ไปเชื่อมโยง
กับศาสตร์ อื่น ๆ และมีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์


สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
         สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
            มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช้จานวนในชีวต
                                                                                 ิ
จริ ง
            มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการของจานวนและความสัมพันธ์
ระหว่างการดาเนินการต่าง ๆ และสามารถใช้การดาเนินการในการแก้ปัญหา
            มาตรฐาน ค 1.3 ใช้การประมาณค่าในการ านวณและแก้ปัญหา
                                                   ค
            มาตรฐาน ค 1.4 เข้าใจระบบจานวนและนาสมบัติเกี่ยวกับจานวนไปใช้
         สาระที่ 2 การวัด
            มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่ งที่ตองการ   ้
วัด
            มาตรฐาน ค 2.2 แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด
         สาระที่ 3 เรขาคณิต
            มาตรฐาน ค 3.1 อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิ ตสองมิติและสามมิติ
            มาตรฐาน ค 3.2 ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริ ภูมิ (spatial
reasoning) และใช้แบบจาลองทางเรขาคณิ ต (geometric model) ในการแก้ปัญหา
         สาระที่ 4 พีชคณิต
            มาตรฐาน ค 4.1 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรู ป (pattern) ความสัมพันธ์ และฟังก์ชน     ั
            มาตรฐาน ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิ ตศาสตร์
(mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ   ตลอดจนแปลความหมาย และนาไปใช้แก้ปัญหา
15

สาระที่ 5 การวิเคราะห์ ข้อมูลและความน่ าจะเป็ น
              มาตรฐาน ค 5.1 เข้าใจและใช้วธีการทางสถิติในการวิเคราะห์ขอมูล
                                             ิ                            ้
              มาตรฐาน ค 5.2 ใช้วธีการทางสถิติและความรู ้เกี่ยวกับความน่าจะเป็ นในการคาดการณ์
                                  ิ
ได้อย่างสมเหตุสมผล
              มาตรฐาน ค 5.3 ใช้ความรู ้เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะเป็ นช่วยในการตัดสิ นใจและ
แก้ปัญหา
          สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
              มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่ อสาร การสื่ อ
ความหมายทางคณิ ตศาสตร์และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู ้ต่าง ๆ ทางคณิ ตศาสตร์ และ
                      ั
เชื่อมโยงคณิ ตศาสตร์ กบศาสตร์ อื่น ๆ และมีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์


ตัวชี้วดและสาระการเรียนรู้ แกนกลาง
       ั
สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช้จานวนในชีวตจริ ง
                                                                     ิ
   ชั้น                        ตัวชี้วด
                                      ั                             สาระการเรียนรู้ แกนกลาง
   ม.1       1. ระบุหรื อยกตัวอย่าง และเปรี ยบเทียบ          จานวนเต็มบวก จานวนเต็มลบ

                จานวนเต็มบวก จานวนเต็มลบ ศูนย์                 ศูนย์ เศษส่ วนและทศนิยม
                เศษส่ วนและทศนิยม                            การเปรี ยบเทียบจานวนเต็ม

                                                               เศษส่ วนและทศนิยม
             2. เข้าใจเกี่ยวกับเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลัง    เลขยกกาลังที่มีเลขชี้ กาลังเป็ น

                 เป็ นจานวนเต็ม และเขียนแสดงจานวน              จานวนเต็ม
                       ่
                 ให้อยูในรู ปสัญกรณ์วทยาศาสตร์
                                        ิ                    การเขียนแสดงจานวนในรู ปสัญ

                  (scientific notation)                        กรณ์วทยาศาสตร์ (A  10n
                                                                      ิ
                                                             เมื่อ 1  A  10 และ n เป็ น
                                                            จานวนเต็ม)
16

   ชั้น                           ตัวชี้วด
                                         ั                          สาระการเรียนรู้ แกนกลาง
   ม.2      1. เขียนเศษส่ วนในรู ปทศนิยมและเขียน                เศษส่ วนและทศนิยมซ้ า
               ทศนิยมซ้ าในรู ปเศษส่ วน
            2. จาแนกจานวนจริ งที่กาหนดให้ และ                   จานวนตรรกยะ และจานวน
                ยกตัวอย่างจานวนตรรกยะและจานวน                    อตรรกยะ
                อตรรกยะ
   ม.2      3. อธิบายและระบุรากที่สองและรากที่สาม               รากที่สองและรากที่สามของ
                ของจานวนจริ ง                                    จานวนจริ ง
            4. ใช้ความรู ้เกี่ยวกับอัตราส่ วน สัดส่ วน          อัตราส่ วน สัดส่ วน ร้อยละ และ
                และร้อยละในการแก้โจทย์ปัญหา                      การนาไปใช้
   ม.3                               –                                          –

สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการของจานวนและความสัมพันธ์ระหว่าง
               การดาเนินการต่าง ๆ และใช้การดาเนินการในการแก้ปัญหา
   ชั้น                    ตัวชี้วด
                                  ั                              สาระการเรี ยนรู้แกนกลาง
   ม.1     1. บวก ลบ คูณ หารจานวนเต็ม และ                   การบวก การลบ การคูณ และการหาร
              นาไปใช้แก้ปัญหา ตระหนักถึงความ                 จานวนเต็ม
              สมเหตุสมผลของคาตอบ อธิบายผลที่                โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับจานวนเต็ม
              เกิดขึ้นจากการบวก การลบ การคูณ
              การหาร และบอกความสัมพันธ์ของ
              การบวกกับการลบ การคูณกับการ
              หาร ของจานวนเต็ม
           2. บวก ลบ คูณ หารเศษส่ วนและ                     การบวก การลบ การคูณ และการ
               ทศนิยม และนาไปใช้แก้ปัญหา                     หาร เศษส่ วนและทศนิยม
              ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของ                   โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเศษส่ วนและ
              คาตอบ อธิ บายผลที่เกิดขึ้นจากการ               ทศนิยม
              บวก การลบ การคูณ การหาร และ
              บอกความสัมพันธ์ของการบวกกับ
17

   ชั้น                      ตัวชี้วด
                                    ั                       สาระการเรี ยนรู้แกนกลาง
              การลบ การคูณกับการหารของ
              เศษส่ วนและทศนิยม
           3. อธิ บายผลที่เกิดขึ้นจากการยกกาลัง       เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็ นจานวน
              ของจานวนเต็ม เศษส่ วนและทศนิยม           เต็ม
           4. คูณและหารเลขยกกาลังที่มีฐาน             การคูณและการหารเลขยกกาลังที่มี
              เดียวกัน และเลขชี้กาลังเป็ น             ฐานเดียวกัน และเลขชี้กาลังเป็ น
              จานวนเต็ม                                จานวนเต็ม

   ม.2     1. หารากที่สองและรากที่สามของจานวน         การหารากที่สองและรากที่สามของ
              เต็มโดยการแยกตัวประกอบและ                จานวนเต็มโดยการแยกตัวประกอบ
              นาไปใช้ในการแก้ปัญหาพร้อมทั้ง            และนาไปใช้
              ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของ
              คาตอบ
           2. อธิ บายผลที่เกิดขึ้นจากการหารากที่      รากที่สองและรากที่สามของจานวน
              สองและรากที่สามของจานวนเต็ม              จริ ง
              เศษส่ วน และทศนิยม บอก
              ความสัมพันธ์ของการยกกาลังกับการ
              หารากของจานวนจริ ง
   ม.3                           –                                     –


สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
มาตรฐาน ค 1.3 ใช้การประมาณค่าในการคานวณและแก้ปัญหา
   ชั้น                    ตัวชี้วด
                                  ั                        สาระการเรียนรู้ แกนกลาง
   ม.1     1.ใช้การประมาณค่าในสถานการณ์ต่าง ๆ         การประมาณค่าและการนาไปใช้
             ได้อย่างเหมาะสม รวมถึงใช้ในการ
              พิจารณาความสมเหตุสมผลของ
              คาตอบที่ได้จากการคานวณ
18


   ชั้น                    ตัวชี้วด
                                  ั                               สาระการเรียนรู้ แกนกลาง
   ม.2      1. หาค่าประมาณของรากที่สอง และราก              รากที่สองและรากที่สามของจานวน
              ที่สามของจานวนจริ ง และนาไปใช้ใน              จริ งและการนาไปใช้
               การแก้ปัญหา พร้อมทั้งตระหนักถึง
               ความสมเหตุสมผลของคาตอบ
   ม.3                        –                                                 –

สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
มาตรฐาน ค 1.4 เข้าใจระบบจานวนและนาสมบัติเกี่ยวกับจานวนไปใช้
   ชั้น                       ตัวชี้วด
                                     ั                                    สาระการเรียนรู้ แกนกลาง
   ม.1       1. นาความรู ้และสมบัติเกี่ยวกับจานวนเต็ม              ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจานวนนับ และ
                ไปใช้ในการแก้ปัญหา                                  การนาไปใช้
                                                                   การนาความรู ้และสมบัติเกี่ยวกับจานวน
                                                                    เต็มไปใช้
   ม.2       1. บอกความเกี่ยวข้องของจานวนจริ ง                     จานวนตรรกยะ และจานวนอตรรกยะ
                จานวนตรรกยะ และจานวนอตรรกยะ
   ม.3                           –                                                   –

สาระที่ 2 การวัด
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่ งที่ตองการวัด
                                                                        ้
   ชั้น                       ตัวชี้วด
                                     ั                                 สาระการเรียนรู้ แกนกลาง
   ม.1                           –                                                –
   ม.2       1. เปรี ยบเทียบหน่วยความยาว หน่วย                 การวัดความยาว พื้นที่ และการนาไปใช้
                พื้นที่ ในระบบเดียวกัน และต่างระบบ             การเลือกใช้หน่วยการวัดเกี่ยวกับความยาว
                และเลือกใช้หน่วยการวัดได้อย่าง                  และพื้นที่
                เหมาะสม
19

   ชั้น                       ตัวชี้วด
                                     ั                                 สาระการเรียนรู้ แกนกลาง
             2. คาดคะเนเวลา ระยะทาง พื้นที่                    การคาดคะเนเวลา ระยะทาง พื้นที่ปริ มาตร
                 ปริ มาตรและน้ าหนักได้อย่างใกล้เคียง           และน้ าหนัก และการนาไปใช้
                 และอธิบายวิธีการที่ใช้ในการคาดคะเน
             3. ใช้การคาดคะเนเกี่ยวกับการวัดใน
                 สถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
   ม.3       1. หาพื้นที่ผวของปริ ซึมและทรงกระบอก
                          ิ                                    พื้นที่ผวของปริ ซึม และทรงกระบอก
                                                                        ิ

             2. หาปริ มาตรของปริ ซึม ทรงกระบอก                 ปริ มาตรของปริ ซึม ทรงกระบอก พีระมิด
                 พีระมิด กรวย และทรงกลม                         กรวย และทรงกลม
             3. เปรี ยบเทียบหน่วยความจุ หรื อหน่วย             การเปรี ยบเทียบหน่วยความจุหรื อหน่วย
                 ปริ มาตรในระบบเดียวกันหรื อต่าง                ปริ มาตรในระบบเดียวกันหรื อต่างระบบ
                 ระบบ และเลือกใช้หน่วยการวัดได้                การเลือกใช้หน่วยการวัดเกี่ยวกับความจุ
                 อย่างเหมาะสม                                   หรื อปริ มาตร
             4. ใช้การคาดคะเนเกี่ยวกับการวัดใน                 การคาดคะเนเกี่ยวกับการวัด
                 สถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม

สาระที่ 2 การวัด
มาตรฐาน ค 2.2 แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด
   ชั้น                          ตัวชี้วด
                                        ั                               สาระการเรียนรู้ แกนกลาง
   ม.2       1. ใช้ความรู ้เกี่ยวกับความยาวและพื้นที่          การใช้ความรู ้เกี่ยวกับความยาว และพื้นที่
                แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ                       ในการแก้ปัญหา
   ม.3       1. ใช้ความรู ้เกี่ยวกับพื้นที่ พื้นที่ผว และ
                                                    ิ          การใช้ความรู ้เกี่ยวกับพื้นที่ พื้นที่ผว และ
                                                                                                       ิ
                ปริ มาตรในการแก้ปัญหาในสถานการณ์                ปริ มาตรในการแก้ปัญหา
                ต่าง ๆ
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น

Contenu connexe

Tendances

พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3New Nan
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3ทศพล พรหมภักดี
 
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วนWareerut Hunter
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6Napadon Yingyongsakul
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stadnangnut
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8Jirathorn Buenglee
 
ช่วงชั้นที่1
ช่วงชั้นที่1ช่วงชั้นที่1
ช่วงชั้นที่1Trai Traiphop
 
แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101atthaniyamai2519
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์คุณครูพี่อั๋น
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551คน ขี้เล่า
 
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้นโครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้นAopja
 
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
Is1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม2
Is1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม2Is1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม2
Is1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม2พัน พัน
 

Tendances (20)

พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
 
แผนเศรษฐกิจพอเพียง
แผนเศรษฐกิจพอเพียงแผนเศรษฐกิจพอเพียง
แผนเศรษฐกิจพอเพียง
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
 
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการนโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
 
ช่วงชั้นที่1
ช่วงชั้นที่1ช่วงชั้นที่1
ช่วงชั้นที่1
 
แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
 
ตัวอย่างแผนเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวอย่างแผนเศรษฐกิจพอเพียงตัวอย่างแผนเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวอย่างแผนเศรษฐกิจพอเพียง
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
 
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้นโครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
 
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
Is1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม2
Is1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม2Is1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม2
Is1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม2
 

Similaire à หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น

ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนNattayaporn Dokbua
 
บทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯบทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯsupanyasaengpet
 
3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น 3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น sasiton sangangam
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์supanyasaengpet
 
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่วิจัยบทที่
วิจัยบทที่Natmol Thedsanabun
 
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยpatcharee0501
 
การจัดกิจ..
การจัดกิจ..การจัดกิจ..
การจัดกิจ..patcharee0501
 
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์nang_phy29
 
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางguest6e231b
 
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางแนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางkruthai40
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1kruthailand
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...freelance
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนnang_phy29
 

Similaire à หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น (20)

ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
บทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯบทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯ
 
3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น 3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
 
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทย
 
หน่วยที่๘
หน่วยที่๘หน่วยที่๘
หน่วยที่๘
 
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
 
การจัดกิจ..
การจัดกิจ..การจัดกิจ..
การจัดกิจ..
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
 
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์
 
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางแนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 

Plus de Aon Narinchoti

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อAon Narinchoti
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์Aon Narinchoti
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธAon Narinchoti
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Aon Narinchoti
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติAon Narinchoti
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงAon Narinchoti
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาAon Narinchoti
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนAon Narinchoti
 

Plus de Aon Narinchoti (20)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Prob
ProbProb
Prob
 
Event
EventEvent
Event
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
 
His brob
His brobHis brob
His brob
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
 
Know5
Know5Know5
Know5
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Know4
Know4Know4
Know4
 
Know3
Know3Know3
Know3
 
Know2
Know2Know2
Know2
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
 

หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น

  • 1. วิสัยทัศน์ หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช 2551 ้ หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนทุกคน ซึ่ งเป็ นกาลังของชาติให้ เป็ นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่ างกาย ความรู ้ คุณธรรมมีจิตสานึกในความเป็ นพลเมืองไทยและ เป็ นพลโลก ยึดมันในการปกครองตามระบอบประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข ่ ์ มีความรู ้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จาเป็ นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษา ตลอดชีวต โดยมุ่งเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรี ยนรู ้และพัฒนา ิ ตนเองได้เต็มตามศักยภาพ หลักการ หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหลักการที่สาคัญ ดังนี้ 1. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาเพื่อความเป็ นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐาน การเรี ยนรู้เป็ นเป้ าหมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรม บนพื้นฐานของความเป็ นไทยควบคู่กบความเป็ นสากล ั 2. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษา อย่างเสมอภาคและมีคุณภาพ 3. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาที่สนองการกระจายอานาจ ให้สังคมมีส่วนร่ วมในการจัด การศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น ่ 4. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุนทั้งด้านสาระการเรี ยนรู ้ เวลาและการจัดการเรี ยนรู้ 5. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ 6. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้ าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรี ยนรู ้ และประสบการณ์ จุดหมาย หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนให้เป็ นคนดี มีปัญญา มีความสุ ข มีศกยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็ นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับ ั ผูเ้ รี ยน เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้
  • 2. 1. มีคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวนยและ ิ ั ปฏิบติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรื อศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของ ั เศรษฐกิจพอเพียง 2. มีความรู ้ ความสามารถในการสื่ อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทกษะชีวต ั ิ 3. มีสุขภาพกายและสุ ขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกาลังกาย 4. มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็ นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมันในวิถีชีวต ่ ิ และการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข ์ 5. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนา ั สิ่ งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทาประโยชน์และสร้างสิ่ งที่ดีงามในสังคม และอยูร่วมกันในสังคม ่ อย่างมีความสุ ข สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในการพัฒนาผูเ้ รี ยนตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งเน้นพัฒนาผูเ้ รี ยนให้ มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กาหนด ซึ่ งจะช่วยให้ผเู ้ รี ยนเกิดสมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ดังนี้ สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งให้ผเู ้ รี ยนเกิดสมรรถนะสาคัญ 5 ประการ ดังนี้ 1. ความสามารถในการสื่ อสาร เป็ นความสามารถในการรับและส่ งสาร มีวฒนธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู ้ความเข้าใจ ความรู ้สึก และทัศนะของตนเอง ั เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อนจะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม ั รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปั ญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรื อไม่รับข้อมูล ข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วธีการสื่ อสาร ที่มีประสิ ทธิ ภาพ ิ โดยคานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม 2. ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิด สังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวจารณญาณ และการคิดเป็ นระบบ เพื่อนาไปสู่ ิ การสร้างองค์ความรู ้หรื อสารสนเทศเพื่อการตัดสิ นใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็ นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรค ต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ้ ประยุกต์
  • 3. ความรู ้มาใช้ในการป้ องกันและแก้ไขปั ญหา และมีการตัดสิ นใจที่มีประสิ ทธิภาพโดยคานึงถึง ผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคมและสิ่ งแวดล้อม 4. ความสามารถในการใช้ ทกษะชีวต เป็ นความสามารถในการนากระบวนการ ั ิ ต่าง ๆ ไปใช้ในการดาเนินชีวตประจาวัน การเรี ยนรู ้ดวยตนเอง การเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่อง การทางาน ิ ้ และการอยูร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริ มความสัมพันธ์อนดีระหว่างบุคคล ดการปัญหาและ ่ ั การจั ความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทนกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและ ั สภาพแวดล้อม และการรู ้จกหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผูอื่น ั ้ 5. ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีเป็ นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีดานต่าง ๆ และมีทกษะกระบวนการทางเทคโนโลยี ่อการพัฒนาตนเองและสังคม ้ ั เพื ในด้านการเรี ยนรู ้ การสื่ อสาร การทางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ เพื่อให้สามารถอยูร่วมกับผูอ่ืนในสังคมได้อย่างมีความสุ ข ในฐานะเป็ นพลเมืองไทยและ ่ ้ พลโลก ดังนี้ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ 2. ซื่อสัตย์สุจริ ต 3. มีวนย ิ ั 4. ใฝ่ เรี ยนรู้ ่ 5. อยูอย่างพอเพียง 6. มุ่งมันในการทางาน ่ 7. รักความเป็ นไทย 8. มีจิตสาธารณะ
  • 4. โครงสร้ างเวลาเรียน (แนบท้ายคาสั่ง สพฐ. ที่ 683/2552 ลงวันที่ 13 พฤษภาคม 2552) หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กาหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรี ยน ดังนี้ เวลาเรียน ระดับ กลมสาระการเรียนร/ ุ่ ู้ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษา กิจกรรม ตอนปลาย ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4-6  กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ 120 120 120 240 ภาษาไทย 200 200 200 160 160 160 (3 นก.) (3 นก.) (3 นก.) (6 นก.) 120 120 120 240 คณิตศาสตร์ 200 200 200 160 160 160 (3 นก.) (3 นก.) (3 นก.) (6 นก.) 120 120 120 240 วิทยาศาสตร์ 80 80 80 80 80 80 (3นก.) (3นก.) (3นก.) (6 นก.) สังคมศึกษา ศาสนา และ 120 120 120 120 120 120 160 160 160 320 วัฒนธรรม (4 นก.) (4 นก.) (4 นก.) (8 นก.) ◦ ประวัติศาสตร์ 40 40 40 40 40 40 40 40 40 80 (1 นก.) (1 นก.) (1 นก.) (2 นก.) ◦ ศาสนา ศีลธรรมจริ ยธรรม ◦ หน้าที่พลเมืองวัฒนธรรม 120 120 120 240 80 80 80 80 80 80 และการดาเนินชีวิตในสังคม (3นก.) (3นก.) (3นก.) (6 นก.) ◦ เศรษฐศาสตร์ ◦ ภูมิศาสตร์ 80 80 80 120 สุ ขศึกษาและพลศึกษา 80 80 80 80 80 80 (2 นก.) (2 นก.) (2 นก.) (3 นก.) 80 80 80 120 ศิลปะ 80 80 80 80 80 80 (2 นก.) (2 นก.) (2 นก.) (3 นก.) 80 80 80 120 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 40 40 40 80 80 80 (2 นก.) (2 นก.) (2 นก.) (3 นก.) 120 120 120 240 ภาษาต่ างประเทศ 40 40 40 80 80 80 (3 นก.) (3 นก.) (3 นก.) (6 นก.) 880 (22 880 880 1,640 รวมเวลาเรี ยน (พื้นฐาน) 840 840 840 840 840 840 นก.) (22 นก.) (22 นก.) (41 นก.)  กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน 120 120 120 120 120 120 120 120 120 360  รายวิชา/กิจกรรมที่ ไม่นอยกว่า ้ สถานศึกษาจัดเพิ่มเติมตาม ปี ละไม่เกิน 40 ชัวโมง ่ ปี ละไม่เกิน 200 ชัวโมง ่ 1,600 ชัวโมง ่ ความพร้อมและจุดเน้น รวม 3 ปี ไม่ รวมเวลาเรียนทั้งหมด ไม่ เกิน 1,000 ชั่วโมง/ปี ไม่ เกิน 1,200 ชั่วโมง/ปี น้ อยกว่า 3,600 ชั่วโมง
  • 5. 5 วิสัยทัศน์ พันธกิจ เปาหมายโรงเรียนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษก ้ ภายในปี 2558 เป็ นโรงเรี ยนดี มีมาตรฐานการศึกษาสู่ สากล ชุมชน ร่ วมพัฒนา สร้างสรรค์ มุ่งมันสื บสานงานพระราชดาริ ่ เปาหมาย ้ ผลักดันให้โรงเรี ยนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษกผ่านการประเมินคุณภาพรอบที่ 3 และ ยกระดับการจัดการศึกษาให้เป็ นไปตามเกณฑ์มาตรฐานสากล ขึ้นสู่ สถาบันการศึกษาที่มี ตาแหน่ง 1 ใน 5 ของเขตพื้นที่การมัธยมศึกษาร้อยเอ็ด เขต27 (สพม. 27) จุดเน้ น จัดการเรี ยนการสอนให้ผเู้ รี ยนเป็ นผูที่มีความรู้ ความสามารถ เป็ นคนดี ้ บุคลากรทุกคนของโรงเรี ยนตระหนัก และภาคภูมิใจในเกียรติภูมิการเป็ นลูก “จตุร -รัชดา” ร่ วมกัน สร้างชื่อเสี ยงให้ลือเลื่องขจรขจาย
  • 6. 6 สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในการพัฒนาผูเ้ รี ยนตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งเน้นพัฒนาผูเ้ รี ยนให้ มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กาหนด ซึ่ งจะช่วยให้ผเู ้ รี ยนเกิดสมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ดังนี้ สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งให้ผเู ้ รี ยนเกิดสมรรถนะสาคัญ 5 ประการ ดังนี้ 1. ความสามารถในการสื่ อสาร เป็ นความสามารถในการรับและส่ งสาร มีวฒนธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู ้ความเข้าใจ ความรู ้สึก และทัศนะของตนเอง ั เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อนจะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม ั รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปั ญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรื อไม่รับข้อมูล ข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วธีการสื่ อสาร ที่มีประสิ ทธิ ภาพ ิ โดยคานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม 2. ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิด สังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวจารณญาณ และการคิดเป็ นระบบ เพื่อนาไปสู่ ิ การสร้างองค์ความรู ้หรื อสารสนเทศเพื่อการตัดสิ นใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็ นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรค ต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ้ ประยุกต์ ความรู ้มาใช้ในการป้ องกันและแก้ไขปั ญหา และมีการตัดสิ นใจที่มีประสิ ทธิภาพโดยคานึงถึง ผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคมและสิ่ งแวดล้อม กระบวนการแก้ปัญหา การประเมินผลถูกออกแบบอย่างรอบคอบ ชนิดที่วาผลที่ ่ นักเรี ยนแสดงออกมา จะชี้บอกถึงระดับความสามารถของนักเรี ยนที่จะเผชิญหน้ากับปั ญหาและ การแก้ปัญหาอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ โดยนักเรี ยนจะต้องแสดงออกว่ามีความสามารถที่จะ 1) เข้าใจปัญหา รวมทั้งการเข้าใจเรื่ องราวสาระจากข้อเขียน แผนผัง สู ตร ตารางและสามารถอ้างอิง เชื่อมโยงสาระจากแหล่งต่าง ๆ แสดงออกว่าเข้าใจแนวคิดที่เกี่ยวข้องใช้ สาระจากพื้นฐานความรู ้เดิมของตน เพื่อทาความเข้าใจกับสาระเรื่ องราวที่กาหนดให้
  • 7. 7 2) บอกลักษณะปัญหา รวมทั้งการระบุบอกตัวแปรในปั ญหา และตั้ง ข้อสังเกตถึงความเชื่อมโยงเกี่ยวข้องระหว่างตัวแปร ตัดสิ นใจว่าตัวแปรใดใช้ได้หรื อใช้ไม่ได้ สร้าง สมมุติฐาน และค้นคืนสาระ จัดกระทา พิจารณาและประเมินสาระที่มีอยู่ 3) แสดงการนาเสนอการแก้ปัญหา รวมทั้งการสร้างตาราง กราฟ สัญลักษณ์ การพูด 4) ลงมือแก้ปัญหา รวมถึงการตัดสิ นใจ วิเคราะห์ระบบ หรื อออกแบบ ระบบเพื่อนนาไปสู่ เป้ าหมายหรื อวิเคราะห์วนิจฉัยและเสนอวิธีการแก้ปัญหา ิ 5) สะท้อนการแก้ปัญหา รวมถึงการตรวจสอบการแก้ปัญหาและมองหา สาระข้อมูลเพิมเติม หรื อเพิมคาอธิ บายให้ชดเจนยิงขึ้น ประเมินการแก้ปัญหาจากมุมมองต่าง ๆ หรื อ ่ ่ ั ่ หาวิธีแก้ปัญหาใหม่ และให้เป็ นที่ยอมรับมากขึ้น หรื อเพื่อให้สามารถอธิ บายได้ 6) สื่ อสารการแก้ปัญหา รวมถึงการเลือกสื่ อและการนาเสนอที่เหมาะสม เพื่อบอกกล่าวและสื่ อสารการแก้ปัญหาให้คนนอกได้รับรู ้ 4. ความสามารถในการใช้ ทกษะชีวต เป็ นความสามารถในการนากระบวนการ ั ิ ต่าง ๆ ไปใช้ในการดาเนินชีวตประจาวัน การเรี ยนรู ้ดวยตนเอง การเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่อง การทางาน ิ ้ และการอยูร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริ มความสัมพันธ์อนดีระหว่างบุคคล ดการปัญหาและ ่ ั การจั ความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทนกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและ ั สภาพแวดล้อม และการรู ้จกหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผูอื่น ั ้ 5. ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีเป็ นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยี ด้านต่าง ๆ และมีทกษะกระบวนการทางเทคโนโลยี ่อการพัฒนาตนเองและสังคม ั เพื ในด้านการเรี ยนรู ้ การสื่ อสาร การทางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ เพื่อให้สามารถอยูร่วมกับผูอ่ืนในสังคมได้อย่างมีความสุ ข ในฐานะเป็ นพลเมืองไทยและ ่ ้ พลโลก ดังนี้ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ หมายถึง มีความภาคภูมิใจในความเป็ นไทย นิยมไทย ปฏิบติตามคาสั่งสอนของศาสนา เคารพเทิดทูนศาสนา แสดงความจงรักภักดี เทิดทูนพระเกียรติ ั และ พระราชกรณี ยกิจของพระมหากษัตริ ย ์
  • 8. 8 2. ซื่อสั ตย์ สุจริต หมายถึง การประพฤติปฏิบติอย่างเหมาะสม และตรงต่อความ ั เป็ นจริ ง ประพฤติปฏิบติอย่างตรงไปตรงมา ทั้งกาย วาจา ใจ ต่อตนเองและผูอื่น รวมตลอดทั้งต่อ ั ้ หน้าที่ การงานและคามันสัญญา ความประพฤติที่ตรงไปตรงมา และจริ งใจในสิ่ งที่ถูกที่ควร ่ ถูกต้องตามทานองคลองธรรม รวมไปถึงการไม่คิดคดทรยศ ไม่คดโกงและไม่หลอกลวง นอกจากนี้ แล้วความซื่อสัตย์สุจริ ตยังรวมไปถึง การรักษาคาพูดหรื อคามันสัญญา และการปฏิบติหน้าที่การงาน ่ ั ของตนเองด้วยความรับผิดชอบ และด้วยความซื่ อสัตย์ไม่แสวงหาผลประโยชน์ให้แก่ตนเองและ พวกพ้องด้วยการใช้ อานาจหน้าที่โดยมิชอบ ซึ่ งความซื่ อสัตย์สุจริ ตนี้จะดาเนินไปด้วยความตั้งใจ จริ งเพื่อทาหน้าที่ของตนเองให้สาเร็ จลุล่วง ด้วยความระมัดระวัง และเกิดผลดีต่อตนเองและสังคม 3. มีวนัย หมายถึง การควบคุมความประพฤติให้ถูกต้องและเหมาะสมกับจรรยา ิ มารยาท ข้อบังคับ ข้อตกลง กฎหมาย และศีลธรรมการรู้จกควบคุมตนเองให้ประพฤติปฏิบติตาม ั ั ข้อตกลง ข้อบังคับ ระเบียบแบบแผน และขนบธรรมเนียมประเพณี อนดีงาม ย่อมนามาซึ่ ง ั ความสงบสุ ขในชีวตของตน ความเป็ นระเบียบเรี ยบร้อยของสังคมและประเทศชาติ ิ 4. ใฝ่ เรียนรู้ หมายถึง การค้นคว้าหาความรู ้หรื อสิ่ งที่เป็ นประโยชน์ เพื่อพัฒนาตนเองอยูเ่ สมอ 5. อยู่อย่ างพอเพียง หมายถึง การมีความพอดีในการบริ โภค ใช้ทรัพยากรและ เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์ คานึงถึงฐานะและเศรษฐกิจ คิดก่อนใช้จ่ายตามความเหมาะสม รู ้จก ั การเพิ่มพูนทรัพย์ ด้วยการเก็บและนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ดูแลรักษาบูรณทรัพย์ของตนเอง มีการเก็บออมเงินไว้ตามสมควร 6. มุ่งมั่นในการทางาน หมายถึง การศึกษาเรี ยนรู้เพื่อหาข้อเท็จจริ ง ซึ่งอาจพัฒนา ไปสู่ ความจริ ง ในสิ่ งที่ตองการเรี ยนรู ้ หรื อต้องการหาคาตอบ เพื่อนาคาตอบที่ได้น้ นมาใช้ประโยชน์ ้ ั ในด้านต่าง ๆ เช่น การยกระดับความรู ้ การนาไปประยุกต์ใช้ในชีวตประจาวัน ฯลฯหรื อนามาสรุ ป ิ เป็ นความจริ งให้ได้ 7. รักความเป็ นไทย หมายถึง เข้าใจ หวงแหนความเป็ นไทยซึ่งถือเป็ นต้นทุนทาง สังคม ทาให้ทุกศาสนา สามารถอยูร่วมกันได้อย่างสันติโดยต้องมีการดาเนินชีวตโดยกายสุ จริ ต วจี ่ ิ สุ จริ ต และมโนสุ จริ ตเป็ นคุณลักษณะที่เกี่ยวข้องกับการเข้าสังคมและการมีปฏิสมพันธ์กบผูอื่น เช่น ั ั ้ ความมีกิริยามารยาท การปรับตัว ความตรงต่อเวลา ความสุ ภาพ การมีสมมาคารวะ การพูดจา ั ไพเราะ และความอ่อนน้อมถ่อมตน 8. มีจิตสาธารณะ หมายถึง คุณลักษณะทางจิตใจของบุคคลเกี่ยวกับการมองเห็น คุณค่า หรื อการให้คุณค่าแก่การมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมและสิ่ งต่าง ๆ ที่เป็ นสิ่ งสาธารณะที่ไม่มีผใด ู้
  • 9. 9 ผูหนึ่งเป็ นเจ้าของ หรื อเป็ นสิ่ งที่คนในสังคมเป็ นเจ้าของร่ วมกัน เป็ นสิ่ งที่สามารถสังเกตได้จาก ้ ความรู้สึกนึกคิด หรื อการกระทาที่แสดงออกมา ได้แก่ การหลีกเลี่ยงการใช้หรื อการกระทาที่จะทา ให้เกิดความชารุ ดเสี ยหายต่อส่ วนรวมที่ใช้ประโยชน์ร่วมกันของกลุ่ม การถือเป็ นหน้าที่ที่จะมีส่วน ร่ วมในการดูแลรักษาของส่ วนรวมนวิสัยที่ตนสามารถทาได้ และการเคารพสิ ทธิในการใช้ของ ใ ส่ วนรวมที่เป็ นประโยชน์ร่วมกันของกลุ่ม
  • 10. 10 โครงสร้ างหลักสู ตรโรงเรียนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษก พุทธศักราช 2553 ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช 2551 ้ ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้ น (มัธยมศึกษาปี ที่ 1 – 3) ปรับปรุ งครั้งที่ 1 พ.ศ.2555 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรี ยนที่ 1 ภาคเรี ยนที่ 2 ภาคเรี ยนที่ 1 ภาคเรี ยนที่ 2 ภาคเรี ยนที่ 1 ภาคเรี ยนที่ 2 กลุ่มสาระ สาระการเรี ยนรู้/ กิจกรรม สาระการเรี ยนรู้/ กิจกรรม สาระการเรี ยนรู้/ กิจกรรม สาระการเรี ยนรู้/ กิจกรรม สาระการเรี ยนรู้/ กิจกรรม สาระการเรี ยนรู้/ กิจกรรม การเรี ยนรู ้ หน่วยกิต พัฒนา หน่วยกิต พัฒนา หน่วยกิต พัฒนา หน่วยกิต พัฒนา หน่วยกิต พัฒนา หน่วยกิต พัฒนา พื้น เพิ่ม พื้น เพิ่ม พื้น เพิ่ม พื้น เพิ่ม พื้น เพิ่ม พื้น เพิ่ม ผูเ้ รี ยน ผูเ้ รี ยน ผูเ้ รี ยน ผูเ้ รี ยน ผูเ้ รี ยน ผูเ้ รี ยน ฐาน เติม ฐาน เติม ฐาน เติม ฐาน เติม ฐาน เติม ฐาน เติม ภาษาไทย 1.5 1.5 1.5 1.5 1.5 1.5 ----------------------60 ชัวโมง---------------------- ----------------------60 ชัวโมง---------------------- ----------------------60 ชัวโมง---------------------- ----------------------60 ชัวโมง---------------------- ----------------------60 ชัวโมง---------------------- ----------------------60 ชัวโมง---------------------- คณิ ตศาสตร์ 1.5 1.0 1.5 1.0 1.5 1.0 1.5 1.0 1.5 1.0 1.5 1.0 วิทยาศาสตร์ 1.5 0.5 1.5 0.5 1.5 0.5 1.5 0.5 1.5 0.5 1.5 0.5 สังคมศึกษาฯ 1.5 0.5 1.5 0.5 1.5 0.5 1.5 0.5 2.0 0.5 2.0 0.5 สุขศึกษาฯ 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 ่ ศิลปะ 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 ่ ่ ่ ่ ่ การงานอาชีพฯ 1.0 0.5 1.0 0.5 1.0 0.5 1.0 0.5 1.0 1.0 1.0 1.0 ภาษาต่างประเทศ 1.5 0.5 1.5 0.5 1.5 0.5 1.5 0.5 1.5 1.5 รวมหน่วยกิต 10.5 3.0 10.5 3.0 10.5 3.0 10.5 3.0 11.0 2.5 11.0 2.5 จานวนชัวโมง ่ 420 120 420 120 420 120 420 120 440 100 440 100 จานวน ชัวโมงรายภาค ่ 600 600 600 600 600 600 จานวนชัวโมงรายปี ่ 1,200 1,200 1,200 รวม 3 ปี 3,600
  • 11. 11 วิสัยทัศน์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ภายในปี พ.ศ. 2555 กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ มุ่งเน้นให้นกเรี ยนเป็ นคนดี ั มีคุณธรรม มีทกษะ กระบวนการคิด การแก้ปัญหาอย่างเป็ นระบบ และสร้างองค์ความรู ้ได้อย่าง ั เหมาะสม เต็มตามศักยภาพของผูเ้ รี ยน หลักการ 1. พัฒนาความรู้ ความสามารถทางคณิ ตศาสตร์ตามศักยภาพของผูเ้ รี ยน และสามารถนาไป เป็ นเครื่ องมือในการเรี ยนรู ้สิ่งต่าง ๆ และเป็ นพื้นฐานlสาหรับการศึกษาต่อ 2. จัดกิจกรรมกระบวนการเรี ยนรู ้อย่างหลากหลายต่อเนื่อง มีส่วนร่ วมในการจัด กระบวนการเรี ยนรู ้อย่างมีความสุ ข 3. จัดแผนการเรี ยนการสอนให้แก่ผเู ้ รี ยน เพื่อให้ผเู ้ รี ยนได้มีโอกาสเรี ยนรู ้วชาคณิ ตศาสตร์ ิ ตามความถนัดและความสนใจ 4. พัฒนาบุคลากรของกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ให้มีความรู ้และทักษะตลอดจน นามวลประสบการณ์มาใช้ในการเรี ยนการสอนโดยเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ 5. มีการนิเทศและติดตามอย่างเป็ นระบบในด้านการเรี ยนการสอนคณิ ตศาสตร์ 6. จัดการเรี ยนการสอนโดยการสอดแทรกคุณธรรม จริ ยธรรม ในทุกรายวิชาอย่างเป็ น รู ปธรรม 7. สนับสนุน ส่ งเสริ มให้ครู ผลิตสื่ อและนวัตกรรมประกอบการเรี ยนการสอน ตามเนื้อหาการเรี ยนรู ้ 8. จัดกิจกรรมส่ งเสริ ม พัฒนาผูเ้ รี ยนที่มีความสามารถ และช่วยเหลือผูเ้ รี ยนที่มีปัญหา ด้านการเรี ยนคณิ ตศาสตร์ 9. วัดผลและประเมินผลตามสภาพจริ ง ด้วยวิธีการที่หลากหลายให้ครอบคลุม ทั้งทางด้านความรู ้ ทักษะ/กระบวนการ สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รี ยน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
  • 12. 12 จุดมุ่งหมาย ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้ น 1. มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับจานวนจริ ง มีความเข้าใจเกี่ยวกับอัตราส่ วน สัดส่ วน ร้อยละ เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็ นจานวนเต็ม รากที่สองและรากที่สามของจานวนจริ ง สามารถ ดาเนินการเกี่ยวกับจานวนเต็ม เศษส่ วน ทศนิยม เลขยกกาลัง รากที่สองและรากที่สามของจานวนจริ ง ใช้การประมาณค่าในการดาเนินการและแก้ปัญหา และนาความรู ้เกี่ยวกับจานวนไปใช้ในชีวตจริ งได้ ิ 2. มีความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นที่ผวของปริ ซึม ทรงกระบอก และปริ มาตรของ ิ ปริ ซึม ทรงกระบอก พีระมิด กรวย และทรงกลม เลือกใช้หน่วยการวัดในระบบต่าง ๆ เกี่ยวกับความ ยาว พื้นที่ และปริ มาตรได้อย่างเหมาะสม พร้อมทั้งสามารถนาความรู ้เกี่ยวกับการวัดไปใช้ในชีวตจริ ง ิ ได้ 3. สามารถสร้างและอธิ บายขั้นตอนการสร้างรู ปเรขาคณิ ตสองมิติโดยใช้วงเวียนและ สันตรง อธิ บายลักษณะและสมบัติของรู ปเรขาคณิ ตสามมิติซ่ ึ งได้แก่ ปริ ซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวย และทรงกลมได้ 4. มีความเข้าใจเกี่ยวกับสมบัติของความเท่ากันทุกประการและความคล้ายของรู ป สามเหลี่ยม เส้นขนาน ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับ และสามารถนาสมบัติเหล่านั้นไปใช้ในการ ให้เหตุผลและแก้ปัญหาได้มีความเข้าใจเกี่ยวกับการแปลงทางเรขาคณิ ต (geometric transformation)ใน เรื่ องการเลื่อนขนาน(translation) การสะท้อน (reflection) และการหมุน (rotation) และนาไปใช้ได้ 5 . สามารถนึกภาพและอธิบายลักษณะของรู ปเรขาคณิ ตสองมิติและสามมิติ 6 . สามารถวิเคราะห์และอธิบายความสัมพันธ์ของแบบรู ป สถานการณ์หรื อปัญหา และ สามารถใช้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว และกราฟในการแก้ปัญหาได้ 7 . สามารถกาหนดประเด็น เขียนข้อคาถามเกี่ยวกับปั ญหาหรื อสถานการณ์ กาหนด วิธีการศึกษา เก็บรวบรวมข้อมูลและนาเสนอข้อมูลโดยใช้แผนภูมิรูปวงกลม หรื อรู ปแบบอื่นที่ เหมาะสมได้ 8 . เข้าใจค่ากลางของข้อมูลในเรื่ องค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต มัธยฐาน และฐานนิยมของข้อมูลที่ ยังไม่ได้แจกแจงความถี่ และเลือกใช้ได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งใช้ความรู ้ในการพิจารณาข้อมูล ข่าวสารทางสถิติ 9 . เข้าใจเกี่ยวกับการทดลองสุ่ ม เหตุการณ์ และความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ สามารถใช้ ความรู ้เกี่ยวกับความน่าจะเป็ นในการคาดการณ์และประกอบการตัดสิ นใจในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
  • 13. 13 10 . ใช้วธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา ใช้ความรู ้ ทักษะและกระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ ิ และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ให้เหตุผลประกอบการ ตัดสิ นใจ และสรุ ปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิ ตศาสตร์ ในการสื่ อสาร การ สื่ อความหมาย และการนาเสนอ ได้อย่างถูกต้อง และชัดเจน เชื่อมโยงความรู ้ ต่าง ๆ ในคณิ ตศาสตร์ และนาความรู ้ หลักการ กระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์ อื่น ๆ และมีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ 11. มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับระบบจานวนจริ ง ค่าสัมบูรณ์ของจานวนจริ ง ่ ่ จานวนจริ งที่อยูในรู ปกรณฑ์ และจานวนจริ งที่อยูในรู ปเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็ น ่ จานวนตรรกยะ หาค่าประมาณของจานวนจริ งที่อยูในรู ปกรณฑ์ และจานวนจริ งที่อยูในรู ป ่ เลขยกกาลังโดยใช้วธีการคานวณที่เหมาะสมและสามารถนาสมบัติของจานวนจริ งไปใช้ได้ ิ 12. นาความรู ้เรื่ องอัตราส่ วนตรี โกณมิติไปใช้คาดคะเนระยะทาง ความสู ง และแก้ปัญหา เกี่ยวกับการวัดได้ 13. มีความคิดรวบยอดในเรื่ องเซต การดาเนินการของเซตและใช้ความรู ้เกี่ยวกับแผนภาพ เวนน์-ออยเลอร์แสดงเซตไปใช้แก้ปัญหา และตรวจสอบความสมเหตุสมผลของการให้เหตุผล 14. เข้าใจและสามารถใช้การให้เหตุผลแบบอุปนัยและนิรนัยได้ 15. มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับความสัมพันธ์และฟังก์ชน สามารถใช้ความสัมพันธ์และ ั ฟังก์ชนแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ ั 16. เข้าใจความหมายของลาดับเลขคณิ ต ลาดับเรขาคณิ ต และสามารถหาพจน์ทวไปได้ ั่ เข้าใจความหมายของผลบวกของ n พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิ ต อนุกรมเรขาคณิ ต และหาผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิ ต และอนุกรมเรขาคณิ ตโดยใช้สูตรและนาไปใช้ได้ 17. และเข้าใจการแก้สมการ และอสมการตัวแปรเดียวดีกรี ไม่เกินสอง รวมทั้งใช้กราฟ ของสมการ อสมการ หรื อฟังก์ชนในการแก้ปัญหา ั 18. เข้าใจวิธีการสารวจความคิดเห็นอย่างง่าย เลือกใช้ค่ากลางได้เหมาะสมกับข้อมูลและ วัตถุประสงค์ สามารถหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต มัธยฐาน ฐานนิยม ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเปอร์ เซ็น ไทล์ของข้อมูล วิเคราะห์ขอมูล และนาผลจากการวิเคราะห์ขอมูลไปช่วยในการตัดสิ นใจ ้ ้ 19. เข้าใจเกี่ยวกับการทดลองสุ่ ม เหตุการณ์ และความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ สามารถ ใช้ความรู ้เกี่ยวกับความน่าจะเป็ นในการคาดการณ์ ประกอบการตัดสิ นใจ และแก้ปัญหาใน สถานการณ์ต่าง ๆ ได้
  • 14. 14 20. ใช้วธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา ใช้ความรู ้ ทักษะและกระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ ิ และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ให้เหตุผลประกอบการ ตัดสิ นใจ และสรุ ปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิ ตศาสตร์ ในการสื่ อสาร การสื่ อความหมาย และการนาเสนอ ได้อย่างถูกต้อง และชัดเจน เชื่อมโยงความรู ้ต่าง ๆ ในคณิ ตศาสตร์ และนาความรู้ หลักการ กระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ไปเชื่อมโยง กับศาสตร์ อื่น ๆ และมีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช้จานวนในชีวต ิ จริ ง มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการของจานวนและความสัมพันธ์ ระหว่างการดาเนินการต่าง ๆ และสามารถใช้การดาเนินการในการแก้ปัญหา มาตรฐาน ค 1.3 ใช้การประมาณค่าในการ านวณและแก้ปัญหา ค มาตรฐาน ค 1.4 เข้าใจระบบจานวนและนาสมบัติเกี่ยวกับจานวนไปใช้ สาระที่ 2 การวัด มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่ งที่ตองการ ้ วัด มาตรฐาน ค 2.2 แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด สาระที่ 3 เรขาคณิต มาตรฐาน ค 3.1 อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิ ตสองมิติและสามมิติ มาตรฐาน ค 3.2 ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริ ภูมิ (spatial reasoning) และใช้แบบจาลองทางเรขาคณิ ต (geometric model) ในการแก้ปัญหา สาระที่ 4 พีชคณิต มาตรฐาน ค 4.1 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรู ป (pattern) ความสัมพันธ์ และฟังก์ชน ั มาตรฐาน ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิ ตศาสตร์ (mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมาย และนาไปใช้แก้ปัญหา
  • 15. 15 สาระที่ 5 การวิเคราะห์ ข้อมูลและความน่ าจะเป็ น มาตรฐาน ค 5.1 เข้าใจและใช้วธีการทางสถิติในการวิเคราะห์ขอมูล ิ ้ มาตรฐาน ค 5.2 ใช้วธีการทางสถิติและความรู ้เกี่ยวกับความน่าจะเป็ นในการคาดการณ์ ิ ได้อย่างสมเหตุสมผล มาตรฐาน ค 5.3 ใช้ความรู ้เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะเป็ นช่วยในการตัดสิ นใจและ แก้ปัญหา สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่ อสาร การสื่ อ ความหมายทางคณิ ตศาสตร์และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู ้ต่าง ๆ ทางคณิ ตศาสตร์ และ ั เชื่อมโยงคณิ ตศาสตร์ กบศาสตร์ อื่น ๆ และมีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ ตัวชี้วดและสาระการเรียนรู้ แกนกลาง ั สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใช้จานวนในชีวตจริ ง ิ ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรียนรู้ แกนกลาง ม.1 1. ระบุหรื อยกตัวอย่าง และเปรี ยบเทียบ  จานวนเต็มบวก จานวนเต็มลบ จานวนเต็มบวก จานวนเต็มลบ ศูนย์ ศูนย์ เศษส่ วนและทศนิยม เศษส่ วนและทศนิยม  การเปรี ยบเทียบจานวนเต็ม เศษส่ วนและทศนิยม 2. เข้าใจเกี่ยวกับเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลัง  เลขยกกาลังที่มีเลขชี้ กาลังเป็ น เป็ นจานวนเต็ม และเขียนแสดงจานวน จานวนเต็ม ่ ให้อยูในรู ปสัญกรณ์วทยาศาสตร์ ิ  การเขียนแสดงจานวนในรู ปสัญ (scientific notation) กรณ์วทยาศาสตร์ (A  10n ิ เมื่อ 1  A  10 และ n เป็ น จานวนเต็ม)
  • 16. 16 ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรียนรู้ แกนกลาง ม.2 1. เขียนเศษส่ วนในรู ปทศนิยมและเขียน  เศษส่ วนและทศนิยมซ้ า ทศนิยมซ้ าในรู ปเศษส่ วน 2. จาแนกจานวนจริ งที่กาหนดให้ และ  จานวนตรรกยะ และจานวน ยกตัวอย่างจานวนตรรกยะและจานวน อตรรกยะ อตรรกยะ ม.2 3. อธิบายและระบุรากที่สองและรากที่สาม  รากที่สองและรากที่สามของ ของจานวนจริ ง จานวนจริ ง 4. ใช้ความรู ้เกี่ยวกับอัตราส่ วน สัดส่ วน  อัตราส่ วน สัดส่ วน ร้อยละ และ และร้อยละในการแก้โจทย์ปัญหา การนาไปใช้ ม.3 – – สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการของจานวนและความสัมพันธ์ระหว่าง การดาเนินการต่าง ๆ และใช้การดาเนินการในการแก้ปัญหา ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้แกนกลาง ม.1 1. บวก ลบ คูณ หารจานวนเต็ม และ  การบวก การลบ การคูณ และการหาร นาไปใช้แก้ปัญหา ตระหนักถึงความ จานวนเต็ม สมเหตุสมผลของคาตอบ อธิบายผลที่  โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับจานวนเต็ม เกิดขึ้นจากการบวก การลบ การคูณ การหาร และบอกความสัมพันธ์ของ การบวกกับการลบ การคูณกับการ หาร ของจานวนเต็ม 2. บวก ลบ คูณ หารเศษส่ วนและ  การบวก การลบ การคูณ และการ ทศนิยม และนาไปใช้แก้ปัญหา หาร เศษส่ วนและทศนิยม ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของ  โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเศษส่ วนและ คาตอบ อธิ บายผลที่เกิดขึ้นจากการ ทศนิยม บวก การลบ การคูณ การหาร และ บอกความสัมพันธ์ของการบวกกับ
  • 17. 17 ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้แกนกลาง การลบ การคูณกับการหารของ เศษส่ วนและทศนิยม 3. อธิ บายผลที่เกิดขึ้นจากการยกกาลัง  เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็ นจานวน ของจานวนเต็ม เศษส่ วนและทศนิยม เต็ม 4. คูณและหารเลขยกกาลังที่มีฐาน  การคูณและการหารเลขยกกาลังที่มี เดียวกัน และเลขชี้กาลังเป็ น ฐานเดียวกัน และเลขชี้กาลังเป็ น จานวนเต็ม จานวนเต็ม ม.2 1. หารากที่สองและรากที่สามของจานวน  การหารากที่สองและรากที่สามของ เต็มโดยการแยกตัวประกอบและ จานวนเต็มโดยการแยกตัวประกอบ นาไปใช้ในการแก้ปัญหาพร้อมทั้ง และนาไปใช้ ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของ คาตอบ 2. อธิ บายผลที่เกิดขึ้นจากการหารากที่  รากที่สองและรากที่สามของจานวน สองและรากที่สามของจานวนเต็ม จริ ง เศษส่ วน และทศนิยม บอก ความสัมพันธ์ของการยกกาลังกับการ หารากของจานวนจริ ง ม.3 – – สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ มาตรฐาน ค 1.3 ใช้การประมาณค่าในการคานวณและแก้ปัญหา ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรียนรู้ แกนกลาง ม.1 1.ใช้การประมาณค่าในสถานการณ์ต่าง ๆ  การประมาณค่าและการนาไปใช้ ได้อย่างเหมาะสม รวมถึงใช้ในการ พิจารณาความสมเหตุสมผลของ คาตอบที่ได้จากการคานวณ
  • 18. 18 ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรียนรู้ แกนกลาง ม.2 1. หาค่าประมาณของรากที่สอง และราก  รากที่สองและรากที่สามของจานวน ที่สามของจานวนจริ ง และนาไปใช้ใน จริ งและการนาไปใช้ การแก้ปัญหา พร้อมทั้งตระหนักถึง ความสมเหตุสมผลของคาตอบ ม.3 – – สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ มาตรฐาน ค 1.4 เข้าใจระบบจานวนและนาสมบัติเกี่ยวกับจานวนไปใช้ ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรียนรู้ แกนกลาง ม.1 1. นาความรู ้และสมบัติเกี่ยวกับจานวนเต็ม  ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจานวนนับ และ ไปใช้ในการแก้ปัญหา การนาไปใช้  การนาความรู ้และสมบัติเกี่ยวกับจานวน เต็มไปใช้ ม.2 1. บอกความเกี่ยวข้องของจานวนจริ ง  จานวนตรรกยะ และจานวนอตรรกยะ จานวนตรรกยะ และจานวนอตรรกยะ ม.3 – – สาระที่ 2 การวัด มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่ งที่ตองการวัด ้ ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรียนรู้ แกนกลาง ม.1 – – ม.2 1. เปรี ยบเทียบหน่วยความยาว หน่วย  การวัดความยาว พื้นที่ และการนาไปใช้ พื้นที่ ในระบบเดียวกัน และต่างระบบ  การเลือกใช้หน่วยการวัดเกี่ยวกับความยาว และเลือกใช้หน่วยการวัดได้อย่าง และพื้นที่ เหมาะสม
  • 19. 19 ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรียนรู้ แกนกลาง 2. คาดคะเนเวลา ระยะทาง พื้นที่  การคาดคะเนเวลา ระยะทาง พื้นที่ปริ มาตร ปริ มาตรและน้ าหนักได้อย่างใกล้เคียง และน้ าหนัก และการนาไปใช้ และอธิบายวิธีการที่ใช้ในการคาดคะเน 3. ใช้การคาดคะเนเกี่ยวกับการวัดใน สถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ม.3 1. หาพื้นที่ผวของปริ ซึมและทรงกระบอก ิ  พื้นที่ผวของปริ ซึม และทรงกระบอก ิ 2. หาปริ มาตรของปริ ซึม ทรงกระบอก  ปริ มาตรของปริ ซึม ทรงกระบอก พีระมิด พีระมิด กรวย และทรงกลม กรวย และทรงกลม 3. เปรี ยบเทียบหน่วยความจุ หรื อหน่วย  การเปรี ยบเทียบหน่วยความจุหรื อหน่วย ปริ มาตรในระบบเดียวกันหรื อต่าง ปริ มาตรในระบบเดียวกันหรื อต่างระบบ ระบบ และเลือกใช้หน่วยการวัดได้  การเลือกใช้หน่วยการวัดเกี่ยวกับความจุ อย่างเหมาะสม หรื อปริ มาตร 4. ใช้การคาดคะเนเกี่ยวกับการวัดใน  การคาดคะเนเกี่ยวกับการวัด สถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม สาระที่ 2 การวัด มาตรฐาน ค 2.2 แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรียนรู้ แกนกลาง ม.2 1. ใช้ความรู ้เกี่ยวกับความยาวและพื้นที่  การใช้ความรู ้เกี่ยวกับความยาว และพื้นที่ แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ในการแก้ปัญหา ม.3 1. ใช้ความรู ้เกี่ยวกับพื้นที่ พื้นที่ผว และ ิ  การใช้ความรู ้เกี่ยวกับพื้นที่ พื้นที่ผว และ ิ ปริ มาตรในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ ปริ มาตรในการแก้ปัญหา ต่าง ๆ