SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  7
Télécharger pour lire hors ligne
ใบความรู้ที่ 22
เรื่อง ค่าสัมบูรณ์ของจานวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจานวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของ a เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ | a | หมายถึง ระยะห่างระหว่างจุดแทน 0
กับจุดแทน a บนเส้นจานวน
บทนิยาม กำหนดให้ a เป็นจำนวนจริงใด ๆ
| a | =










0a้้ำ
0a้้ำ
0a้้ำ
ถ
ถ
ถ
a-
0
a
เช่น | 3 | = 3
| -3 | = -(-3) = 3
| 10 | = 10
| 0 | = 0
| -5 | = -(-5) = 5
ตัวอย่างที่ 1 จงหาค่าของ
1. | -9 |
2. | -10 + 2 |
3. | 8 - 20 |
4. | 5 | + | -3 |
วิธีทา 1. | -9 | = -(-9) = 9
2. | -10 + 2 | = | -8 | = -(-8) = 8
3. | 8 - 20 | = | -12 | = -(-12) = 12
4. | 5 | + | -3 | = 5 + [ -(-3) ]
= 5 + 3
= 8
โดยทั่วไป ถ้า a เป็นจานวนบวกใด ๆ
1. | x | < a มีความหมายเช่นเดียวกันกับ -a < x < a
และ | x |  a มีความหมายเช่นเดียวกันกับ -a  x  a
เช่น | x | < 3 หมายความว่า ระยะจากจุด x ไปยัง 0 บนเส้นจานวนน้อยกว่า 3
หน่วย เขียนแสดงบนเส้นจานวนได้ดังนี้
-3 -2 -1 0 1 2 3 4
จากรูป จะเห็นว่า | x | < 3 มีความหมายเช่นเดียวกัน -3 < x < 3
| x |  3 เขียนแสดงค่า x บนเส้นจานวนได้ดังนี้
-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4
2. | x | > a มีความหมายเช่นเดียวกันกับ x < -a หรือ x > a
และ | x |  a มีความหมายเช่นเดียวกันกับ x  a หรือ x  a
เช่น | x | > 2 เขียนแสดงค่า x บนเส้นจานวนได้ดังนี้
-2 -1 0 1 2 3
จากรูป จะเห็นว่า | x | > 2 มีความหมายเช่นเดียวกับ x < -2 หรือ x > 2
| x |  2 เขียนแสดงค่า x บนเส้นจานวนได้ดังนี้
-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4
ตัวอย่างที่ 2 จงแสดงค่าของ x บนเส้นจานวน เมื่อกาหนดให้
1. | x | > 6
2. | x |  5
วิธีทา 1. | x | > 6 มีความหมายเช่นเดียวกับ x < -6 หรือ x > 6
เขียนแสดงค่าของ x บนเส้นจานวนได้ดังนี้
-6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6
2. | x |  5 มีความหมายเช่นเดียวกับ x  -5 หรือ x  5
-5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5
ค่าสัมบูรณ์ในสมการ
ต่อไปนี้จะแสดงการหาคาตอบหรือผลเฉลยที่เกี่ยวข้องกับค่าสัมบูรณ์
ตัวอย่างที่ 3 จงแก้สมการ |x - 5| = 8
วิธีทา วิธีที่ 1
ในทางเรขาคณิต |x - 5| = 8 คือระยะระหว่าง x และ 5 เท่ากับ 8
ดังนั้น x = 5  8
x = 13หรือx = -3
วิธีที่ 2
จากบทนิยาม
ถ้า x - 5 ณ 0 ถ้า x - 5< 0
จะได้ x - 5 = 8 จะได้ x - 5 = -8
x = 8 + 5 x = -8 + 5
= 13 = -3
ดังนั้น x = 13หรือ x = -3
ตรวจสอบ
เมื่อ x = 13 จะได้ เมื่อ x = -3 จะได้
|13 - 5| = 8 |-3 -5| = 8
|8| = 8 เป็นจริง |-8| = 8 เป็นจริง
ตอบ เซตคาตอบ คือ {13, -3}
แบบฝึกทักษะที่ 22
เรื่อง ค่าสัมบูรณ์ของจานวนจริง
คาชี้แจง
1. ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์
1. | -7 | = ……………………………………………………………………….
2. | 8 -13 | = ……………………………………………………………………….
3. | 12 | + | -5 | - | 20 | = ……………………………………………………..…..
4. | -25 | - | -3 | = ……………………………………………………...…………
5.
|5-|
10
= …………………………………………………………….....………
6. | 10 -7 | + | 20 - 30 | = ……………………………………………..………….
7. | 8  102
| + | 5  102
| = ………………………………………………
8. | 10 + 2 | + | 20 - 3 | - | 10 - 18 | = ………………………………………………
2. จงแก้สมการและตรวจสอบคาตอบ
1) |x - 8| = 12
2) |2x - 5| = 17
เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 22
เรื่อง ค่าสัมบูรณ์ของจานวนจริง
1. ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์
1. | -7 | = ……………………………………7………………………………….
2. | 8 -13 | = ……………………………………5………………………………….
3. | 12 | + | -5 | - | 20 | = ……………………-3……………………………..…..
4. | -25 | - | -3 | = ……………………………22………………………...…………
5.
|5-|
10
= …………………………………-2………………………….....………
6. | 10 -7 | + | 20 - 30 | = ……………………13………………………..………….
7. | 8  102
| + | 5  102
| = …………1300……………………………………
8. | 10 + 2 | + | 20 - 3 | - | 10 - 18 | = …………37……………………………………
2. จงแก้สมการและตรวจสอบคาตอบ
1) |x - 8| = 12
วิธีทา จากบทนิยาม
ถ้า x - 8  0 ถ้า x - 8< 0
จะได้ x - 8 =12 จะได้ x - 8 = -12
x =12 + 8 x = -12 + 8
= 20 = -4
ดังนั้น x = 20 หรือ x = -4
ตรวจสอบ
เมื่อ X = 20 จะได้ เมื่อX = -4 จะได้
|20 - 8| = 12 เป็นจริง |-4 - 8| = 12 เป็นจริง
ตอบ เซตคำตอบ คือ {20, -4}
2) |2x - 5| = 17
วิธีทา จากบทนิยาม
ถ้า 2x - 5 0 ถ้า 2x - 5 < 0
จะได้ 2x – 5 = 17 จะได้ 2x - 5 = -17
2x = 17 + 5 2x = -17 + 5
=22 = -12
x = 11 x = -6
ตรวจสอบ
เมื่อ x = 11 จะได้ เมื่อ x = -6 จะได้
|22 - 5| = 17 |-12 - 5| = 17
|17| = 17 เป็นจริง |-17| = 17 เป็นจริง
ตอบ เซตคำตอบ คือ {11, -6}

Contenu connexe

Tendances

แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นInmylove Nupad
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นY'Yuyee Raksaya
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามการแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามPiyanouch Suwong
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมkrookay2012
 
ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)
ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)
ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)CC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณAui Ounjai
 
การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซตAon Narinchoti
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สองSathuta luamsai
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟJiraprapa Suwannajak
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการAon Narinchoti
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติkanjana2536
 
เศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามเศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามRitthinarongron School
 
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายเฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายkrurutsamee
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตAon Narinchoti
 

Tendances (20)

แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 
กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึมสูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้น
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามการแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรม
 
ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)
ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)
ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function)
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
 
การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซต
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการ
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
 
เศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามเศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนาม
 
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายเฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
โจทย์การหารที่มีเศษป. 1 2
โจทย์การหารที่มีเศษป. 1   2โจทย์การหารที่มีเศษป. 1   2
โจทย์การหารที่มีเศษป. 1 2
 

Similaire à ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง

การเท่ากัน
การเท่ากันการเท่ากัน
การเท่ากันAon Narinchoti
 
E0b882e0b989e0b8ade0b8aae0b8ade0b89ae0b881e0b8a5e0b8b2e0b887e0b8a0e0b8b2e0b88...
E0b882e0b989e0b8ade0b8aae0b8ade0b89ae0b881e0b8a5e0b8b2e0b887e0b8a0e0b8b2e0b88...E0b882e0b989e0b8ade0b8aae0b8ade0b89ae0b881e0b8a5e0b8b2e0b887e0b8a0e0b8b2e0b88...
E0b882e0b989e0b8ade0b8aae0b8ade0b89ae0b881e0b8a5e0b8b2e0b887e0b8a0e0b8b2e0b88...sirapraphachoothai1
 
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมบทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมภัชรณันติ์ ศรีประเสริฐ
 
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมบทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมภัชรณันติ์ ศรีประเสริฐ
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4ทับทิม เจริญตา
 
ใบงานสมการ
ใบงานสมการใบงานสมการ
ใบงานสมการkanjana2536
 
สมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากันสมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากันAon Narinchoti
 
ลำดับเลขคณิต 2
ลำดับเลขคณิต 2ลำดับเลขคณิต 2
ลำดับเลขคณิต 2aoynattaya
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟKanchanid Kanmungmee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1Jirathorn Buenglee
 

Similaire à ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง (20)

การเท่ากัน
การเท่ากันการเท่ากัน
การเท่ากัน
 
60 vector 3 d-full
60 vector 3 d-full60 vector 3 d-full
60 vector 3 d-full
 
59 matrix-171059
59 matrix-17105959 matrix-171059
59 matrix-171059
 
E0b882e0b989e0b8ade0b8aae0b8ade0b89ae0b881e0b8a5e0b8b2e0b887e0b8a0e0b8b2e0b88...
E0b882e0b989e0b8ade0b8aae0b8ade0b89ae0b881e0b8a5e0b8b2e0b887e0b8a0e0b8b2e0b88...E0b882e0b989e0b8ade0b8aae0b8ade0b89ae0b881e0b8a5e0b8b2e0b887e0b8a0e0b8b2e0b88...
E0b882e0b989e0b8ade0b8aae0b8ade0b89ae0b881e0b8a5e0b8b2e0b887e0b8a0e0b8b2e0b88...
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
ผลต่าง
ผลต่างผลต่าง
ผลต่าง
 
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมบทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
 
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมบทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4
 
ใบงานสมการ
ใบงานสมการใบงานสมการ
ใบงานสมการ
 
ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5
 
สมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากันสมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากัน
 
ลำดับเลขคณิต 2
ลำดับเลขคณิต 2ลำดับเลขคณิต 2
ลำดับเลขคณิต 2
 
สรุป matrices
สรุป matricesสรุป matrices
สรุป matrices
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟ
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
 
E-book
E-bookE-book
E-book
 
60 matrix-021060
60 matrix-02106060 matrix-021060
60 matrix-021060
 
60 matrix-081060
60 matrix-08106060 matrix-081060
60 matrix-081060
 

Plus de Aon Narinchoti

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อAon Narinchoti
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์Aon Narinchoti
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธAon Narinchoti
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Aon Narinchoti
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติAon Narinchoti
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงAon Narinchoti
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาAon Narinchoti
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนAon Narinchoti
 

Plus de Aon Narinchoti (20)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Prob
ProbProb
Prob
 
Event
EventEvent
Event
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
 
His brob
His brobHis brob
His brob
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
 
Know5
Know5Know5
Know5
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Know4
Know4Know4
Know4
 
Know3
Know3Know3
Know3
 
Know2
Know2Know2
Know2
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
 

ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง

  • 1. ใบความรู้ที่ 22 เรื่อง ค่าสัมบูรณ์ของจานวนจริง ค่าสัมบูรณ์ของจานวนจริง ค่าสัมบูรณ์ของ a เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ | a | หมายถึง ระยะห่างระหว่างจุดแทน 0 กับจุดแทน a บนเส้นจานวน บทนิยาม กำหนดให้ a เป็นจำนวนจริงใด ๆ | a | =           0a้้ำ 0a้้ำ 0a้้ำ ถ ถ ถ a- 0 a เช่น | 3 | = 3 | -3 | = -(-3) = 3 | 10 | = 10 | 0 | = 0 | -5 | = -(-5) = 5 ตัวอย่างที่ 1 จงหาค่าของ 1. | -9 | 2. | -10 + 2 | 3. | 8 - 20 | 4. | 5 | + | -3 | วิธีทา 1. | -9 | = -(-9) = 9 2. | -10 + 2 | = | -8 | = -(-8) = 8 3. | 8 - 20 | = | -12 | = -(-12) = 12 4. | 5 | + | -3 | = 5 + [ -(-3) ] = 5 + 3 = 8
  • 2. โดยทั่วไป ถ้า a เป็นจานวนบวกใด ๆ 1. | x | < a มีความหมายเช่นเดียวกันกับ -a < x < a และ | x |  a มีความหมายเช่นเดียวกันกับ -a  x  a เช่น | x | < 3 หมายความว่า ระยะจากจุด x ไปยัง 0 บนเส้นจานวนน้อยกว่า 3 หน่วย เขียนแสดงบนเส้นจานวนได้ดังนี้ -3 -2 -1 0 1 2 3 4 จากรูป จะเห็นว่า | x | < 3 มีความหมายเช่นเดียวกัน -3 < x < 3 | x |  3 เขียนแสดงค่า x บนเส้นจานวนได้ดังนี้ -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 2. | x | > a มีความหมายเช่นเดียวกันกับ x < -a หรือ x > a และ | x |  a มีความหมายเช่นเดียวกันกับ x  a หรือ x  a เช่น | x | > 2 เขียนแสดงค่า x บนเส้นจานวนได้ดังนี้ -2 -1 0 1 2 3 จากรูป จะเห็นว่า | x | > 2 มีความหมายเช่นเดียวกับ x < -2 หรือ x > 2 | x |  2 เขียนแสดงค่า x บนเส้นจานวนได้ดังนี้ -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4
  • 3. ตัวอย่างที่ 2 จงแสดงค่าของ x บนเส้นจานวน เมื่อกาหนดให้ 1. | x | > 6 2. | x |  5 วิธีทา 1. | x | > 6 มีความหมายเช่นเดียวกับ x < -6 หรือ x > 6 เขียนแสดงค่าของ x บนเส้นจานวนได้ดังนี้ -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 2. | x |  5 มีความหมายเช่นเดียวกับ x  -5 หรือ x  5 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 ค่าสัมบูรณ์ในสมการ ต่อไปนี้จะแสดงการหาคาตอบหรือผลเฉลยที่เกี่ยวข้องกับค่าสัมบูรณ์ ตัวอย่างที่ 3 จงแก้สมการ |x - 5| = 8 วิธีทา วิธีที่ 1 ในทางเรขาคณิต |x - 5| = 8 คือระยะระหว่าง x และ 5 เท่ากับ 8 ดังนั้น x = 5  8 x = 13หรือx = -3 วิธีที่ 2 จากบทนิยาม ถ้า x - 5 ณ 0 ถ้า x - 5< 0 จะได้ x - 5 = 8 จะได้ x - 5 = -8 x = 8 + 5 x = -8 + 5 = 13 = -3 ดังนั้น x = 13หรือ x = -3
  • 4. ตรวจสอบ เมื่อ x = 13 จะได้ เมื่อ x = -3 จะได้ |13 - 5| = 8 |-3 -5| = 8 |8| = 8 เป็นจริง |-8| = 8 เป็นจริง ตอบ เซตคาตอบ คือ {13, -3}
  • 5. แบบฝึกทักษะที่ 22 เรื่อง ค่าสัมบูรณ์ของจานวนจริง คาชี้แจง 1. ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์ 1. | -7 | = ………………………………………………………………………. 2. | 8 -13 | = ………………………………………………………………………. 3. | 12 | + | -5 | - | 20 | = ……………………………………………………..….. 4. | -25 | - | -3 | = ……………………………………………………...………… 5. |5-| 10 = …………………………………………………………….....……… 6. | 10 -7 | + | 20 - 30 | = ……………………………………………..…………. 7. | 8  102 | + | 5  102 | = ……………………………………………… 8. | 10 + 2 | + | 20 - 3 | - | 10 - 18 | = ……………………………………………… 2. จงแก้สมการและตรวจสอบคาตอบ 1) |x - 8| = 12 2) |2x - 5| = 17
  • 6. เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 22 เรื่อง ค่าสัมบูรณ์ของจานวนจริง 1. ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์ 1. | -7 | = ……………………………………7…………………………………. 2. | 8 -13 | = ……………………………………5…………………………………. 3. | 12 | + | -5 | - | 20 | = ……………………-3……………………………..….. 4. | -25 | - | -3 | = ……………………………22………………………...………… 5. |5-| 10 = …………………………………-2………………………….....……… 6. | 10 -7 | + | 20 - 30 | = ……………………13………………………..…………. 7. | 8  102 | + | 5  102 | = …………1300…………………………………… 8. | 10 + 2 | + | 20 - 3 | - | 10 - 18 | = …………37…………………………………… 2. จงแก้สมการและตรวจสอบคาตอบ 1) |x - 8| = 12 วิธีทา จากบทนิยาม ถ้า x - 8  0 ถ้า x - 8< 0 จะได้ x - 8 =12 จะได้ x - 8 = -12 x =12 + 8 x = -12 + 8 = 20 = -4 ดังนั้น x = 20 หรือ x = -4 ตรวจสอบ เมื่อ X = 20 จะได้ เมื่อX = -4 จะได้ |20 - 8| = 12 เป็นจริง |-4 - 8| = 12 เป็นจริง ตอบ เซตคำตอบ คือ {20, -4}
  • 7. 2) |2x - 5| = 17 วิธีทา จากบทนิยาม ถ้า 2x - 5 0 ถ้า 2x - 5 < 0 จะได้ 2x – 5 = 17 จะได้ 2x - 5 = -17 2x = 17 + 5 2x = -17 + 5 =22 = -12 x = 11 x = -6 ตรวจสอบ เมื่อ x = 11 จะได้ เมื่อ x = -6 จะได้ |22 - 5| = 17 |-12 - 5| = 17 |17| = 17 เป็นจริง |-17| = 17 เป็นจริง ตอบ เซตคำตอบ คือ {11, -6}