SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  5
Télécharger pour lire hors ligne
๑
การนาเสนอ “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนและทักษะในศตวรรษที่ 21”
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ชื่อผลงาน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรม ด้วย สังคมเครือข่ายออนไลน์
ชื่อผู้เสนอผลงาน นางอรุณรัสมิ์ บารุงจิตร ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ
โรงเรียน บ้านหมากแข้ง
สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 จังหวัดอุดรธานี
โทรศัพท์ 042-244294 โทรสาร 042-212367
โทรศัพท์มือถือ 081-5456658 e-mail a_run_r@hotmail.com
1. ความสาคัญ
1.1 ความเป็นมาและสภาพปัญหา
การพัฒนาคนไทยยุคใหม่ จาเป็นต้องสร้างและเตรียมเยาวชนของชาติเข้าสู่โลกในยุคศตวรรษ
ที่ 21 ความตระหนักนี้จะเห็นได้จากการที่กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อเป็นกรอบทิศทางในการพัฒนาเยาวชนของชาติเข้าสู่โลกยุคศตวรรษที่
21 อย่างไรก็ตาม ผลการติดตามการใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 พบว่า
กระบวนการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนส่วนใหญ่ ยังไม่สามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามเจตนารมณ์ของ
หลักสูตร
นอกจากกรอบข้างต้นแล้ว กระทรวงศึกษาธิการได้กาหนดคุณลักษณะของเด็กไทยสู่อาเซียน
ได้แก่ มีความรู้เกี่ยวกับประเทศอาเซียนในด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม สื่อสารได้อย่าง
น้อย 2 ภาษา (ภาษาอังกฤษ และภาษาประเทศเพื่อนบ้านอีก อย่างน้อย 1 ภาษา) มีทักษะในการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างสร้างสรรค์ ทักษะการเรียนรู้และพัฒนาตน ความสามารถในการคิดวิเคราะห์
อย่างมีเหตุผล มีความภูมิใจในความเป็นไทยและความเป็นอาเซียน ร่วมกันรับผิดชอบต่อประชาคมอาเซียน
มีความตระหนักในความเป็นอาเซียน ยอมรับในความแตกต่างทางวัฒนธรรมแต่สามารถอยู่รวมกันได้
การพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณสมบัติดังกล่าวเป็นไปตามแนวคิดการเชื่อมโยงนิยม (Connectivism) ซึ่งเป็น
แนวคิดการเรียนรู้ในยุคดิจิตัล และเป็นแนวคิดที่รองรับความรู้ที่มีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
ในทุกๆ วัน ทาให้ความรู้ที่มีอยู่มีอายุการใช้งานสั้นลง ความรู้ที่ทันสมัยในปัจจุบันกลายเป็นความรู้ที่ล้าสมัย
ในเวลาอันรวดเร็ว องค์ความรู้มีการวิวัฒนาการอยู่ตลอด จากข้อมูลข่าวสารที่มีจานวนมหาศาล ทาให้ไม่
สามารถจะเรียนรู้ได้หมดในห้องเรียนแบบเดิมๆ มนุษย์ควรปรับตัวให้มีความรู้ทันกาลเวลาและยุคสมัยอยู่
เสมอ
โรงเรียนบ้านหมากแข้ง เป็นโรงเรียนดีใกล้บ้าน ผ่านการประเมินเมื่อปี พ.ศ. 2554 ซึ่งเป้าหมาย
ต่อไปของโรงเรียนในฝันทุกรุ่น คือการพัฒนาให้เป็นโรงเรียนมาตรฐานสากล จัดการเรียนการสอนเพื่อ
ส่งเสริมผู้เรียนให้เป็นพลโลกและเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายหลักของสานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน คือ ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนแบบใหม่ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองมากขึ้น
เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมเยาวชนในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
๒
เนื่องจากสังคมในปัจจุบันมีความเปลี่ยนแปลง มีพลวัตไปจากเดิมมาก ด้วยมีปรากฏการณ์ข้าม
พรมแดน ข้ามวัฒนธรรม มีแนวคิดแบบใหม่ๆ มีกระแสของโลกาภิวัตน์และอื่นๆ อีกมากมาย ตลอดจน
นโยบายการพัฒนาของประเทศ ก็มีความมุ่งหวังที่ต้องการก้าวย่างนาพาตนเองไปสู่“ความเป็นประชาคม
อาเซียน” (ASEAN Communities) ซึ่งเป็นเหตุที่จะทาให้เราไม่สามารถจากัดขอบเขตเวที ชีวิต วัฒนธรรม
ในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งเพียงลาพังได้อีกต่อไป และการเตรียมความพร้อม ของคนไทยโดยเฉพาะการใช้
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร โดยเฉพาะการสื่อสารระหว่างผู้ส่งสารกับผู้รับสารที่มีความแตกต่างกัน
ทางวัฒนธรรม
1.2 แนวทางการแก้ปัญหาและพัฒนา
จากการสังเกตพฤติกรรมการใช้คอมพิวเตอร์ และอินเตอร์เน็ตในหมู่นักเรียนมีการพัฒนาและ
เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ตามกระแสเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นทุกวัน Facebook เป็น Social Network ที่เป็น
ที่รู้จัก และใช้กันอย่างแพร่หลาย สามารถเข้าถึงการบริการ เพื่อพูดคุย สื่อสาร กับเพื่อนหรือคนรู้จักได้
ตลอดเวลา และเป็นที่นิยมแพร่หลายทั่วโลก ดังนั้น การเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพจะต้องปรับตัวตาม
เทคโนโลยี และพฤติกรรมของนักเรียน การใช้ Social Network โดยเฉพาะ Facebook ซึ่งถือว่าเป็น
cloud computing อันเป็นบริการที่ได้ลงทุนด้านทรัพยากร บุคลากร โดยผู้ใช้บริการเพียงแค่เข้าถึงบริการ
อินเตอร์เน็ต ก็สามารถใช้บริการของ Facebook ได้ ผู้รายงานจึงนาสิ่งที่ให้บริการบน Facebook มาปรับ
เพื่อใช้กับการเรียนการสอนเพื่อพัฒนานักเรียนในการใช้ภาษาอังกฤษ ตลอดจนเพื่อนครูผู้ร่วมโครงการ อีก
ทั้งได้ร่วมกันพัฒนากับเครือข่ายโรงเรียนจากต่างประเทศ
จากความสาคัญและสภาพปัญหาดังกล่าวข้างต้น ผู้รายงานจึงได้มีแนวคิดในการที่จะพัฒนา
รูปแบบการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่าง ครูและนักเรียนโรงเรียนบ้านหมากแข้ง และครูและนักเรียน
ในโรงเรียนในกลุ่มประชาคมประเทศอาเซียน โดยสื่อที่ใช้เสริม คือ Mini Book “Bahasa Thai to
Indonesia” และ “Bahasa Indonesia to Thai” ทั้งนี้เพื่อนาผลที่ได้จากการพัฒนาไปประยุกต์ใช้และ
พัฒนาการเรียนการสอนในโรงเรียนโดยใช้เว็บไซต์สังคมเครือข่าย และเรียนรู้ร่วมกันกับโรงเรียนต่าง ๆ ที่
เป็นเครือข่าย อันจะนามาซึ่งความเข้าใจอันดีต่อกัน
2. จุดประสงค์ / เป้าหมาย
2.1 จุดประสงค์
1. เพื่อพัฒนาการใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร ระหว่าง นักเรียนโรงเรียนบ้านหมากแข้ง และ
นักเรียนในโรงเรียน SMP N2 Semarang ประเทศอินโดนีเซีย ผ่านสังคมเครือข่าย
2. เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
2.2 เป้าหมาย
1. ครูโรงเรียนบ้านหมากแข้ง จานวน 30 คน
2. ครูโรงเรียนประเทศอินโดนีเซีย จานวน 8 คน
3. นักเรียนระดับมัธยมศึกษาโรงเรียนบ้านหมากแข้ง และนักเรียนระดับมัธยมศึกษา โรงเรียน
SMP N2 Semarang ประเทศอินโดนีเซีย
3. การพัฒนา
3.1 ผู้รายงานได้พัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 3 ขั้นตอน คือ
๓
3.2 ขั้นตอนการพัฒนาตามรูปแบบ
1. แสวงหาเครือข่าย (Acquiring Network) หาเครือข่ายร่วมพัฒนาต่างประเทศ
ผู้รายงานได้สมัครใช้เว็บไซต์สังคมเครือข่าย facebook และได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกกลุ่มบน
เฟสบุ๊ค ชื่อกลุ่ม Global Teacher Forum ซึ่งสมาชิกส่วนมากเป็นครูในกลุ่มประเทศอาเซียน จนกระทั่งได้
ประสานงานกับ เพื่อนสมาชิกในกลุ่ม ชื่อ Kusmawarnni warni จากโรงเรียน SMP Negeri 2 Semarang
ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งเป็นโรงเรียนมัธยมได้ติดต่อพูดคุยกันบนเว็บไซต์สังคมเครือข่าย facebook และได้
นัดหมายตกลงทา MOU ร่วมกัน
2. สืบสานสายสัมพันธ์ (Keep in Touch) การลงนามทา MOU
ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหมากแข้ง ได้มอบหมายให้ผู้รายงาน เป็นผู้ประสานงานเครือข่าย
ต่างประเทศ จึงได้จัดทาโครงการศึกษาดูงานที่ประเทศอินโดนีเซียขึ้น ระหว่างวันที่ 24- 28 ตุลาคม
2555 ซึ่งในการไปศึกษาดูงานครั้งนี้ โรงเรียนบ้านหมากแข้ง โดยคณะครู 22 คน และโรงเรียน SMP N2
Semarang ได้ร่วมลงนามใน MOU เพื่อกระชับความสัมพันธ์และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่าง 2
โรงเรียน ซึ่งงบประมาณในการดาเนินการครั้งนี้ ได้จากคณะครูผู้ไปศึกษาดูงาน
3. เรียนรู้ร่วมกันบนเครือข่าย (Collaborative Learning Network) ขอพื้นที่ทาโครงการ
International School Award (ISA) ของ British Council
หลังจากที่ได้ตกลงทา MOU ร่วมพัฒนากันระหว่าง 2 โรงเรียน ผู้รายงานได้สมัครเป็นสมาชิก
เว็บไซต์ http://schoolsonline.britishcouncil.org/ ซึ่งเป็นเว็บไซต์ของ British Council เว็บไซต์
ดังกล่าวได้สนับสนุนให้โรงเรียนที่มีคู่ร่วมพัฒนาได้จัดทาโครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน (ถ้าไม่มีคู่ร่วม
พัฒนา จะไม่สามารถขออนุมัติโครงการได้) ผู้รายงานได้ขออนุมัติเพื่อทากิจกรรมร่วมกันกับโรงเรียน SMP
N2 Semarang ชื่อโครงการ We Are ASEAN ปัจจุบันมีสมาชิกผู้ร่วมในโครงการ 118 คน จากหลาย
ประเทศ นอกเหนือจากการดาเนินกิจกรรมตามโครงการในเว็บไซต์ของ British Council แล้ว ผู้รายงานได้
จัดทากลุ่มบนเฟสบุ๊ค ชื่อ กลุ่ม ISA: We Are ASEAN เพื่อให้ครู และนักเรียนของโรงเรียนบ้านหมากแข้ง
๔
และครูและนักเรียน โรงเรียน SMP N2 Semarang ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้วัฒนธรรมซึ่งกันและกันผ่าน
ภาพถ่าย วีดิโอ เพลง และกิจกรรมต่าง ๆ ของ ครูและนักเรียนทั้ง 2 ประเทศ ซึ่งผู้รายงานได้วางแผนการจัด
กิจกรรม (Action Plan) และจัดส่งฉบับภาษาอังกฤษไปให้โรงเรียน SMP N2 Semarang ซึ่งนักเรียนทุกคน
ที่ร่วมทากิจกรรมกลุ่มครั้งนี้จะได้รับเกียรติบัตร และสาหรับ 10 ลาดับแรกที่ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้บ่อยครั้ง
ที่สุดทั้งของประเทศไทย และประเทศอินโดนีเซีย จะได้รับของรางวัลจากผู้อานวยการโรงเรียนทั้ง 2
ประเทศ ซึ่งเป็นจูงใจให้นักเรียนร่วมกิจกรรมด้วยความกระตือรือร้น
ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ร่วมกันบนเครือข่าย
ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ผ่านสังคมเครือข่ายทั้ง 2 ประเทศ ผู้รายงานได้ดาเนินการ ดังนี้
1. จัดทาโครงการประสานกับโรงเรียน SMP Negeri 2 Semarang
2. จัดส่ง Mini Book จานวน 2 เล่ม ได้แก่ “Bahasa Thai to Indonesia” และ
“Bahasa Indonesia to Thai” เพื่อให้นักเรียนไทยและอินโดนีเซียได้เรียนรู้ภาษาเพื่อจะได้แลกเปลี่ยนกัน
3. จัดทา Action Plan เพื่อเรียนรู้ร่วมกันบนเครือข่ายระหว่าง 2 ประเทศ
4. กาหนดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านสังคมเครือข่ายออนไลน์ เช่น กิจกรรมนาเสนอเกี่ยวกับ
ประเทศไทย /อินโดนีเซีย และ กิจกรรมร่วมสนทนา
5 . ประเมินผลระหว่างเรียนและการประเมินผลเมื่อสิ้นสุดการเรียน โดยตรวจสอบจาก
ผลงานการนาเสนอบนสังคมเครือข่ายออนไลน์ และการทดสอบการใช้ภาษาอังกฤษ
3.3 ประสิทธิภาพของรูปแบบการพัฒนา
ผลการพัฒนากิจกรรมตามรูปแบบการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทาให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้น
รูปแบบที่พัฒนาขึ้น นาไปสู่การแสวงหาเครือข่ายที่เป็นรูปธรรม สามารถนาเว็บไซต์สังคมเครือข่ายที่นักเรียน
ชื่นชอบมาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้ ทาให้นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่นและเรียนรู้ที่จะ
ยอมรับในวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน และนักเรียนที่ร่วมโครงการมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษดีขึ้น
4. ผลการดาเนินงาน / ประโยชน์ที่ได้รับ
4.1 ผลการปฏิบัติกิจกรรม รูปแบบการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 3 ขั้นตอน และจากการเรียนภาษาจาก
Mini Book ที่พัฒนาขึ้นส่งเสริมกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่าง ครูและนักเรียนโรงเรียน
บ้านหมากแข้ง และครูและนักเรียนในโรงเรียน SMP N2 Semarang ประเทศอินโดนีเซีย โดยใช้
ภาษาอังกฤษในการสื่อสารและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนสูงขึ้น
4.2 ผลสัมฤทธิ์ของรูปแบบการพัฒนา ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นที่จะทางานแลกเปลี่ยนร่วมกับ
เพื่อนจากต่างชาติ สามารถใช้ภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารได้ดีขึ้น มีความเข้าใจในวัฒนธรรมที่ต่างกัน
4.3 ประโยชน์ที่ได้รับ
1. ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นที่จะทางานแลกเปลี่ยนร่วมกับเพื่อนจากต่างชาติ สามารถใช้
ภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารได้ดีขึ้น มีความเข้าใจในวัฒนธรรมที่ต่างกัน และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สูงขึ้น
2. ครูสามารถใช้ภาษาอังกฤษในการจัดการเรียนรู้ได้ดียิ่งขึ้น
3. ผู้ปกครองมีความภูมิใจและสนับสนุนการนานักเรียนไปแลกเปลี่ยนต่างประเทศ
๕
4. ผลที่เกิดกับโรงเรียน โรงเรียนมีเครือข่ายต่างประเทศในอาเซียนที่สามารถจัดการเรียนรู้
ร่วมกันผ่านสังคมเครือข่ายได้เป็นอย่างดี เป็นการสร้างความเข้าใจที่ดีต่อกันระหว่าง 2 ประเทศ
5. เป็นแบบอย่างการสร้างเครือข่ายต่างประเทศ ของ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
อุดรธานี เขต 1 เป็นสถานที่ศึกษาดูงานการจัดการเรียนรู้อาเซียนและการสร้างเครือข่ายให้กับโรงเรียน
5. ปัจจัยสู่ความสาเร็จ
1. ในขั้นตอนการแสวงหาเครือข่าย ได้รับความเห็นชอบจากผู้บริหารโรงเรียนเป็นอย่างดียิ่ง
ตลอดจนการติดต่อประสานงานกับเพื่อนครูจากต่างประเทศ และเพื่อนครูในประเทศให้คาแนะนาและ
ช่วยเหลือจนประสบความสาเร็จ
2. ในขั้นตอนสืบสานสายสัมพันธ์ ได้รับความร่วมมือจากผู้บริหารและครูในโรงเรียนโดยสนับสนุน
งบประมาณเดินทางไปทาบันทึกตกลงความเข้าใจในการพัฒนาร่วมกันที่ประเทศอินโดนีเซีย ตลอดจนการ
อานวยความสะดวกและการอนุมัติโครงการจาก สพฐ. และ สพป.อด.1 และในการทา Mini Book ได้รับ
ความอนุเคราะห์จากครูในโรงเรียน SMP N2 Semarang ช่วยตรวจสอบภาษาอินโดนีเซีย
3. ขั้นเรียนรู้ร่วมกันบนเครือข่าย ได้รับความร่วมมือจากคณะครูผู้รับผิดชอบที่ได้รับการแต่งตั้งเป็น
คณะทางาน ปฏิบัติกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านสังคมเครือข่ายออนไลน์ โดยในการดาเนินงานได้
ประสานงานกับผู้ปกครองนักเรียนและครูผู้สอนภาษาอังกฤษชาวต่างประเทศ เพื่อให้ความช่วยเหลือโดย
เป็นผู้ฝึกสอนภาษาอังกฤษอย่างเข้มข้น
6. บทเรียนที่ได้รับ
6.1 สรุปผลการพัฒนา
รูปแบบการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน สามารถพัฒนาและส่งเสริมความเข้าใจในวัฒนธรรมที่ต่างกัน
ระหว่างประเทศไทย และประเทศอินโดนีเซีย ของนักเรียนโรงเรียนบ้านหมากแข้งและนักเรียนโรงเรียน
SMP N2 Semarang ที่เป็นสมาชิกของกลุ่ม ISA: We Are ASEAN บน facebook และเว็บไซต์
http://schoolsonline.britishcouncil.org/ ดีขึ้นและสามารถใช้ภาษาอังกฤษได้ดีขึ้น นอกจากนี้ยังมี
พฤติกรรมในการสืบค้นข้อมูลที่มีประโยชน์มากขึ้น
6.2 ข้อเสนอแนะ ควรมีครูผู้สอนภาษาอังกฤษร่วมดูแลและให้คาแนะนาการใช้ภาษาอังกฤษ และ
ครูผู้สอนคอมพิวเตอร์ให้คาแนะนาการใช้คอมพิวเตอร์และการสืบค้นข้อมูล
6.3 แนวทางการพัฒนาเพิ่มเติม ประชาสัมพันธ์ให้สมาชิกทุกโรงเรียนใน สพป.อด.1 ได้รับทราบ
แนวทาง เพื่อขยายเครือข่ายเพิ่มขึ้น
7. การเผยแพร่ เผยแพร่ในศูนย์อาเซียนเครือข่ายระดับกลุ่ม ของสพป.อด. 1, มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย
มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี และ www.facebook.com/arunratb
การยอมรับ เป็นวิทยากรอบรมครูชานาญการพิเศษ สพป.อด.1, สพป.นพ.1, สพป.เลย 1
เป็นวิทยากรอบรมการสร้างเครือข่ายต่างประเทศ ของ สพป.อด.1
เป็นวิทยากรอบรมเตรียมความพร้อม “คณิตศาสตร์สู่อาเซียน” มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย
รางวัลของนักเรียน รางวัลเหรียญเงิน งานศิลปหัตถกรรม ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งที่ 62
การแข่งขันพูดภาษาอังกฤษ Inpromtu Speech

Contenu connexe

Plus de arunrat bamrungchit

เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอกเค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
arunrat bamrungchit
 

Plus de arunrat bamrungchit (20)

Math-Eng grade 2 addition
Math-Eng grade 2 additionMath-Eng grade 2 addition
Math-Eng grade 2 addition
 
Math-Eng grade 1
Math-Eng grade 1Math-Eng grade 1
Math-Eng grade 1
 
freebie
freebiefreebie
freebie
 
Measurement grade 2
Measurement grade 2Measurement grade 2
Measurement grade 2
 
ว7, PA
ว7, PAว7, PA
ว7, PA
 
STEM catapult challenge
STEM catapult challengeSTEM catapult challenge
STEM catapult challenge
 
เตรียมรับมือประเมินภายนอกรอบ 4
เตรียมรับมือประเมินภายนอกรอบ 4เตรียมรับมือประเมินภายนอกรอบ 4
เตรียมรับมือประเมินภายนอกรอบ 4
 
Arunrat full text article for ISEEC 2014
Arunrat full text article for ISEEC 2014Arunrat full text article for ISEEC 2014
Arunrat full text article for ISEEC 2014
 
LMS for ISEEC 2014 Presentation
LMS for ISEEC 2014 PresentationLMS for ISEEC 2014 Presentation
LMS for ISEEC 2014 Presentation
 
My fulltext article for iseec 2014: The LMS to enhance 21st century skills
My fulltext article for iseec 2014: The LMS to enhance 21st century skillsMy fulltext article for iseec 2014: The LMS to enhance 21st century skills
My fulltext article for iseec 2014: The LMS to enhance 21st century skills
 
สรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียน
สรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียนสรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียน
สรุปผลการดำเนินงานผู้อำนวยการโรงเรียน
 
Arunrat social network (my study)
Arunrat social network (my study)Arunrat social network (my study)
Arunrat social network (my study)
 
Phd. Learning Management Strategy
Phd. Learning Management StrategyPhd. Learning Management Strategy
Phd. Learning Management Strategy
 
Eis science lesson plan grade 1
Eis science lesson plan grade 1Eis science lesson plan grade 1
Eis science lesson plan grade 1
 
EIS: The lesson plan of science of grade 4
EIS: The lesson plan of science of grade 4EIS: The lesson plan of science of grade 4
EIS: The lesson plan of science of grade 4
 
รายงานการเดินทางไปประเทศสิงคโปร์
รายงานการเดินทางไปประเทศสิงคโปร์รายงานการเดินทางไปประเทศสิงคโปร์
รายงานการเดินทางไปประเทศสิงคโปร์
 
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอกเค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
 
Time and important day
Time and important dayTime and important day
Time and important day
 
At the restaurant
At the restaurantAt the restaurant
At the restaurant
 
At the airport
At the airportAt the airport
At the airport
 

Best Practice อรุณรัสมิ์ บำรุงจิตร

  • 1. ๑ การนาเสนอ “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนและทักษะในศตวรรษที่ 21” สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชื่อผลงาน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรม ด้วย สังคมเครือข่ายออนไลน์ ชื่อผู้เสนอผลงาน นางอรุณรัสมิ์ บารุงจิตร ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียน บ้านหมากแข้ง สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 จังหวัดอุดรธานี โทรศัพท์ 042-244294 โทรสาร 042-212367 โทรศัพท์มือถือ 081-5456658 e-mail a_run_r@hotmail.com 1. ความสาคัญ 1.1 ความเป็นมาและสภาพปัญหา การพัฒนาคนไทยยุคใหม่ จาเป็นต้องสร้างและเตรียมเยาวชนของชาติเข้าสู่โลกในยุคศตวรรษ ที่ 21 ความตระหนักนี้จะเห็นได้จากการที่กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อเป็นกรอบทิศทางในการพัฒนาเยาวชนของชาติเข้าสู่โลกยุคศตวรรษที่ 21 อย่างไรก็ตาม ผลการติดตามการใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 พบว่า กระบวนการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนส่วนใหญ่ ยังไม่สามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามเจตนารมณ์ของ หลักสูตร นอกจากกรอบข้างต้นแล้ว กระทรวงศึกษาธิการได้กาหนดคุณลักษณะของเด็กไทยสู่อาเซียน ได้แก่ มีความรู้เกี่ยวกับประเทศอาเซียนในด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม สื่อสารได้อย่าง น้อย 2 ภาษา (ภาษาอังกฤษ และภาษาประเทศเพื่อนบ้านอีก อย่างน้อย 1 ภาษา) มีทักษะในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างสร้างสรรค์ ทักษะการเรียนรู้และพัฒนาตน ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ อย่างมีเหตุผล มีความภูมิใจในความเป็นไทยและความเป็นอาเซียน ร่วมกันรับผิดชอบต่อประชาคมอาเซียน มีความตระหนักในความเป็นอาเซียน ยอมรับในความแตกต่างทางวัฒนธรรมแต่สามารถอยู่รวมกันได้ การพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณสมบัติดังกล่าวเป็นไปตามแนวคิดการเชื่อมโยงนิยม (Connectivism) ซึ่งเป็น แนวคิดการเรียนรู้ในยุคดิจิตัล และเป็นแนวคิดที่รองรับความรู้ที่มีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ในทุกๆ วัน ทาให้ความรู้ที่มีอยู่มีอายุการใช้งานสั้นลง ความรู้ที่ทันสมัยในปัจจุบันกลายเป็นความรู้ที่ล้าสมัย ในเวลาอันรวดเร็ว องค์ความรู้มีการวิวัฒนาการอยู่ตลอด จากข้อมูลข่าวสารที่มีจานวนมหาศาล ทาให้ไม่ สามารถจะเรียนรู้ได้หมดในห้องเรียนแบบเดิมๆ มนุษย์ควรปรับตัวให้มีความรู้ทันกาลเวลาและยุคสมัยอยู่ เสมอ โรงเรียนบ้านหมากแข้ง เป็นโรงเรียนดีใกล้บ้าน ผ่านการประเมินเมื่อปี พ.ศ. 2554 ซึ่งเป้าหมาย ต่อไปของโรงเรียนในฝันทุกรุ่น คือการพัฒนาให้เป็นโรงเรียนมาตรฐานสากล จัดการเรียนการสอนเพื่อ ส่งเสริมผู้เรียนให้เป็นพลโลกและเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายหลักของสานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน คือ ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนแบบใหม่ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองมากขึ้น เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมเยาวชนในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
  • 2. ๒ เนื่องจากสังคมในปัจจุบันมีความเปลี่ยนแปลง มีพลวัตไปจากเดิมมาก ด้วยมีปรากฏการณ์ข้าม พรมแดน ข้ามวัฒนธรรม มีแนวคิดแบบใหม่ๆ มีกระแสของโลกาภิวัตน์และอื่นๆ อีกมากมาย ตลอดจน นโยบายการพัฒนาของประเทศ ก็มีความมุ่งหวังที่ต้องการก้าวย่างนาพาตนเองไปสู่“ความเป็นประชาคม อาเซียน” (ASEAN Communities) ซึ่งเป็นเหตุที่จะทาให้เราไม่สามารถจากัดขอบเขตเวที ชีวิต วัฒนธรรม ในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งเพียงลาพังได้อีกต่อไป และการเตรียมความพร้อม ของคนไทยโดยเฉพาะการใช้ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร โดยเฉพาะการสื่อสารระหว่างผู้ส่งสารกับผู้รับสารที่มีความแตกต่างกัน ทางวัฒนธรรม 1.2 แนวทางการแก้ปัญหาและพัฒนา จากการสังเกตพฤติกรรมการใช้คอมพิวเตอร์ และอินเตอร์เน็ตในหมู่นักเรียนมีการพัฒนาและ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ตามกระแสเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นทุกวัน Facebook เป็น Social Network ที่เป็น ที่รู้จัก และใช้กันอย่างแพร่หลาย สามารถเข้าถึงการบริการ เพื่อพูดคุย สื่อสาร กับเพื่อนหรือคนรู้จักได้ ตลอดเวลา และเป็นที่นิยมแพร่หลายทั่วโลก ดังนั้น การเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพจะต้องปรับตัวตาม เทคโนโลยี และพฤติกรรมของนักเรียน การใช้ Social Network โดยเฉพาะ Facebook ซึ่งถือว่าเป็น cloud computing อันเป็นบริการที่ได้ลงทุนด้านทรัพยากร บุคลากร โดยผู้ใช้บริการเพียงแค่เข้าถึงบริการ อินเตอร์เน็ต ก็สามารถใช้บริการของ Facebook ได้ ผู้รายงานจึงนาสิ่งที่ให้บริการบน Facebook มาปรับ เพื่อใช้กับการเรียนการสอนเพื่อพัฒนานักเรียนในการใช้ภาษาอังกฤษ ตลอดจนเพื่อนครูผู้ร่วมโครงการ อีก ทั้งได้ร่วมกันพัฒนากับเครือข่ายโรงเรียนจากต่างประเทศ จากความสาคัญและสภาพปัญหาดังกล่าวข้างต้น ผู้รายงานจึงได้มีแนวคิดในการที่จะพัฒนา รูปแบบการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่าง ครูและนักเรียนโรงเรียนบ้านหมากแข้ง และครูและนักเรียน ในโรงเรียนในกลุ่มประชาคมประเทศอาเซียน โดยสื่อที่ใช้เสริม คือ Mini Book “Bahasa Thai to Indonesia” และ “Bahasa Indonesia to Thai” ทั้งนี้เพื่อนาผลที่ได้จากการพัฒนาไปประยุกต์ใช้และ พัฒนาการเรียนการสอนในโรงเรียนโดยใช้เว็บไซต์สังคมเครือข่าย และเรียนรู้ร่วมกันกับโรงเรียนต่าง ๆ ที่ เป็นเครือข่าย อันจะนามาซึ่งความเข้าใจอันดีต่อกัน 2. จุดประสงค์ / เป้าหมาย 2.1 จุดประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาการใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร ระหว่าง นักเรียนโรงเรียนบ้านหมากแข้ง และ นักเรียนในโรงเรียน SMP N2 Semarang ประเทศอินโดนีเซีย ผ่านสังคมเครือข่าย 2. เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 2.2 เป้าหมาย 1. ครูโรงเรียนบ้านหมากแข้ง จานวน 30 คน 2. ครูโรงเรียนประเทศอินโดนีเซีย จานวน 8 คน 3. นักเรียนระดับมัธยมศึกษาโรงเรียนบ้านหมากแข้ง และนักเรียนระดับมัธยมศึกษา โรงเรียน SMP N2 Semarang ประเทศอินโดนีเซีย 3. การพัฒนา 3.1 ผู้รายงานได้พัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 3 ขั้นตอน คือ
  • 3. ๓ 3.2 ขั้นตอนการพัฒนาตามรูปแบบ 1. แสวงหาเครือข่าย (Acquiring Network) หาเครือข่ายร่วมพัฒนาต่างประเทศ ผู้รายงานได้สมัครใช้เว็บไซต์สังคมเครือข่าย facebook และได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกกลุ่มบน เฟสบุ๊ค ชื่อกลุ่ม Global Teacher Forum ซึ่งสมาชิกส่วนมากเป็นครูในกลุ่มประเทศอาเซียน จนกระทั่งได้ ประสานงานกับ เพื่อนสมาชิกในกลุ่ม ชื่อ Kusmawarnni warni จากโรงเรียน SMP Negeri 2 Semarang ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งเป็นโรงเรียนมัธยมได้ติดต่อพูดคุยกันบนเว็บไซต์สังคมเครือข่าย facebook และได้ นัดหมายตกลงทา MOU ร่วมกัน 2. สืบสานสายสัมพันธ์ (Keep in Touch) การลงนามทา MOU ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหมากแข้ง ได้มอบหมายให้ผู้รายงาน เป็นผู้ประสานงานเครือข่าย ต่างประเทศ จึงได้จัดทาโครงการศึกษาดูงานที่ประเทศอินโดนีเซียขึ้น ระหว่างวันที่ 24- 28 ตุลาคม 2555 ซึ่งในการไปศึกษาดูงานครั้งนี้ โรงเรียนบ้านหมากแข้ง โดยคณะครู 22 คน และโรงเรียน SMP N2 Semarang ได้ร่วมลงนามใน MOU เพื่อกระชับความสัมพันธ์และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่าง 2 โรงเรียน ซึ่งงบประมาณในการดาเนินการครั้งนี้ ได้จากคณะครูผู้ไปศึกษาดูงาน 3. เรียนรู้ร่วมกันบนเครือข่าย (Collaborative Learning Network) ขอพื้นที่ทาโครงการ International School Award (ISA) ของ British Council หลังจากที่ได้ตกลงทา MOU ร่วมพัฒนากันระหว่าง 2 โรงเรียน ผู้รายงานได้สมัครเป็นสมาชิก เว็บไซต์ http://schoolsonline.britishcouncil.org/ ซึ่งเป็นเว็บไซต์ของ British Council เว็บไซต์ ดังกล่าวได้สนับสนุนให้โรงเรียนที่มีคู่ร่วมพัฒนาได้จัดทาโครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน (ถ้าไม่มีคู่ร่วม พัฒนา จะไม่สามารถขออนุมัติโครงการได้) ผู้รายงานได้ขออนุมัติเพื่อทากิจกรรมร่วมกันกับโรงเรียน SMP N2 Semarang ชื่อโครงการ We Are ASEAN ปัจจุบันมีสมาชิกผู้ร่วมในโครงการ 118 คน จากหลาย ประเทศ นอกเหนือจากการดาเนินกิจกรรมตามโครงการในเว็บไซต์ของ British Council แล้ว ผู้รายงานได้ จัดทากลุ่มบนเฟสบุ๊ค ชื่อ กลุ่ม ISA: We Are ASEAN เพื่อให้ครู และนักเรียนของโรงเรียนบ้านหมากแข้ง
  • 4. ๔ และครูและนักเรียน โรงเรียน SMP N2 Semarang ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้วัฒนธรรมซึ่งกันและกันผ่าน ภาพถ่าย วีดิโอ เพลง และกิจกรรมต่าง ๆ ของ ครูและนักเรียนทั้ง 2 ประเทศ ซึ่งผู้รายงานได้วางแผนการจัด กิจกรรม (Action Plan) และจัดส่งฉบับภาษาอังกฤษไปให้โรงเรียน SMP N2 Semarang ซึ่งนักเรียนทุกคน ที่ร่วมทากิจกรรมกลุ่มครั้งนี้จะได้รับเกียรติบัตร และสาหรับ 10 ลาดับแรกที่ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้บ่อยครั้ง ที่สุดทั้งของประเทศไทย และประเทศอินโดนีเซีย จะได้รับของรางวัลจากผู้อานวยการโรงเรียนทั้ง 2 ประเทศ ซึ่งเป็นจูงใจให้นักเรียนร่วมกิจกรรมด้วยความกระตือรือร้น ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ร่วมกันบนเครือข่าย ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ผ่านสังคมเครือข่ายทั้ง 2 ประเทศ ผู้รายงานได้ดาเนินการ ดังนี้ 1. จัดทาโครงการประสานกับโรงเรียน SMP Negeri 2 Semarang 2. จัดส่ง Mini Book จานวน 2 เล่ม ได้แก่ “Bahasa Thai to Indonesia” และ “Bahasa Indonesia to Thai” เพื่อให้นักเรียนไทยและอินโดนีเซียได้เรียนรู้ภาษาเพื่อจะได้แลกเปลี่ยนกัน 3. จัดทา Action Plan เพื่อเรียนรู้ร่วมกันบนเครือข่ายระหว่าง 2 ประเทศ 4. กาหนดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านสังคมเครือข่ายออนไลน์ เช่น กิจกรรมนาเสนอเกี่ยวกับ ประเทศไทย /อินโดนีเซีย และ กิจกรรมร่วมสนทนา 5 . ประเมินผลระหว่างเรียนและการประเมินผลเมื่อสิ้นสุดการเรียน โดยตรวจสอบจาก ผลงานการนาเสนอบนสังคมเครือข่ายออนไลน์ และการทดสอบการใช้ภาษาอังกฤษ 3.3 ประสิทธิภาพของรูปแบบการพัฒนา ผลการพัฒนากิจกรรมตามรูปแบบการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทาให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้น รูปแบบที่พัฒนาขึ้น นาไปสู่การแสวงหาเครือข่ายที่เป็นรูปธรรม สามารถนาเว็บไซต์สังคมเครือข่ายที่นักเรียน ชื่นชอบมาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้ ทาให้นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่นและเรียนรู้ที่จะ ยอมรับในวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน และนักเรียนที่ร่วมโครงการมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษดีขึ้น 4. ผลการดาเนินงาน / ประโยชน์ที่ได้รับ 4.1 ผลการปฏิบัติกิจกรรม รูปแบบการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 3 ขั้นตอน และจากการเรียนภาษาจาก Mini Book ที่พัฒนาขึ้นส่งเสริมกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่าง ครูและนักเรียนโรงเรียน บ้านหมากแข้ง และครูและนักเรียนในโรงเรียน SMP N2 Semarang ประเทศอินโดนีเซีย โดยใช้ ภาษาอังกฤษในการสื่อสารและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนสูงขึ้น 4.2 ผลสัมฤทธิ์ของรูปแบบการพัฒนา ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นที่จะทางานแลกเปลี่ยนร่วมกับ เพื่อนจากต่างชาติ สามารถใช้ภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารได้ดีขึ้น มีความเข้าใจในวัฒนธรรมที่ต่างกัน 4.3 ประโยชน์ที่ได้รับ 1. ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นที่จะทางานแลกเปลี่ยนร่วมกับเพื่อนจากต่างชาติ สามารถใช้ ภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารได้ดีขึ้น มีความเข้าใจในวัฒนธรรมที่ต่างกัน และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สูงขึ้น 2. ครูสามารถใช้ภาษาอังกฤษในการจัดการเรียนรู้ได้ดียิ่งขึ้น 3. ผู้ปกครองมีความภูมิใจและสนับสนุนการนานักเรียนไปแลกเปลี่ยนต่างประเทศ
  • 5. ๕ 4. ผลที่เกิดกับโรงเรียน โรงเรียนมีเครือข่ายต่างประเทศในอาเซียนที่สามารถจัดการเรียนรู้ ร่วมกันผ่านสังคมเครือข่ายได้เป็นอย่างดี เป็นการสร้างความเข้าใจที่ดีต่อกันระหว่าง 2 ประเทศ 5. เป็นแบบอย่างการสร้างเครือข่ายต่างประเทศ ของ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา อุดรธานี เขต 1 เป็นสถานที่ศึกษาดูงานการจัดการเรียนรู้อาเซียนและการสร้างเครือข่ายให้กับโรงเรียน 5. ปัจจัยสู่ความสาเร็จ 1. ในขั้นตอนการแสวงหาเครือข่าย ได้รับความเห็นชอบจากผู้บริหารโรงเรียนเป็นอย่างดียิ่ง ตลอดจนการติดต่อประสานงานกับเพื่อนครูจากต่างประเทศ และเพื่อนครูในประเทศให้คาแนะนาและ ช่วยเหลือจนประสบความสาเร็จ 2. ในขั้นตอนสืบสานสายสัมพันธ์ ได้รับความร่วมมือจากผู้บริหารและครูในโรงเรียนโดยสนับสนุน งบประมาณเดินทางไปทาบันทึกตกลงความเข้าใจในการพัฒนาร่วมกันที่ประเทศอินโดนีเซีย ตลอดจนการ อานวยความสะดวกและการอนุมัติโครงการจาก สพฐ. และ สพป.อด.1 และในการทา Mini Book ได้รับ ความอนุเคราะห์จากครูในโรงเรียน SMP N2 Semarang ช่วยตรวจสอบภาษาอินโดนีเซีย 3. ขั้นเรียนรู้ร่วมกันบนเครือข่าย ได้รับความร่วมมือจากคณะครูผู้รับผิดชอบที่ได้รับการแต่งตั้งเป็น คณะทางาน ปฏิบัติกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านสังคมเครือข่ายออนไลน์ โดยในการดาเนินงานได้ ประสานงานกับผู้ปกครองนักเรียนและครูผู้สอนภาษาอังกฤษชาวต่างประเทศ เพื่อให้ความช่วยเหลือโดย เป็นผู้ฝึกสอนภาษาอังกฤษอย่างเข้มข้น 6. บทเรียนที่ได้รับ 6.1 สรุปผลการพัฒนา รูปแบบการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน สามารถพัฒนาและส่งเสริมความเข้าใจในวัฒนธรรมที่ต่างกัน ระหว่างประเทศไทย และประเทศอินโดนีเซีย ของนักเรียนโรงเรียนบ้านหมากแข้งและนักเรียนโรงเรียน SMP N2 Semarang ที่เป็นสมาชิกของกลุ่ม ISA: We Are ASEAN บน facebook และเว็บไซต์ http://schoolsonline.britishcouncil.org/ ดีขึ้นและสามารถใช้ภาษาอังกฤษได้ดีขึ้น นอกจากนี้ยังมี พฤติกรรมในการสืบค้นข้อมูลที่มีประโยชน์มากขึ้น 6.2 ข้อเสนอแนะ ควรมีครูผู้สอนภาษาอังกฤษร่วมดูแลและให้คาแนะนาการใช้ภาษาอังกฤษ และ ครูผู้สอนคอมพิวเตอร์ให้คาแนะนาการใช้คอมพิวเตอร์และการสืบค้นข้อมูล 6.3 แนวทางการพัฒนาเพิ่มเติม ประชาสัมพันธ์ให้สมาชิกทุกโรงเรียนใน สพป.อด.1 ได้รับทราบ แนวทาง เพื่อขยายเครือข่ายเพิ่มขึ้น 7. การเผยแพร่ เผยแพร่ในศูนย์อาเซียนเครือข่ายระดับกลุ่ม ของสพป.อด. 1, มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี และ www.facebook.com/arunratb การยอมรับ เป็นวิทยากรอบรมครูชานาญการพิเศษ สพป.อด.1, สพป.นพ.1, สพป.เลย 1 เป็นวิทยากรอบรมการสร้างเครือข่ายต่างประเทศ ของ สพป.อด.1 เป็นวิทยากรอบรมเตรียมความพร้อม “คณิตศาสตร์สู่อาเซียน” มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย รางวัลของนักเรียน รางวัลเหรียญเงิน งานศิลปหัตถกรรม ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครั้งที่ 62 การแข่งขันพูดภาษาอังกฤษ Inpromtu Speech