SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  193
Télécharger pour lire hors ligne
Gene and Chromosome


    Aj.
    Aj. Angsana Sanyear
      Biology : Genetics
                           1
ยีนและโครโมโซม
การถ่ายทอดยีนและโครโมโซม
การค้นพบสารพันธุกรรม
โครโมโซม
องค์ประกอบทางเคมีของ DNA
โครงสร้างของ DNA
สมบัติของสารพันธุกรรม
การกลายพันธุ์ (mutation)    2
การถ่ายทอดยีนและโครโมโซม

Q : ยีนของพ่อแม่ถ่ายทอดสู่ลูกได้อย่างไร
A : ยีนซึ่งเป็นหน่วยควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม
จากพ่อแม่
สามารถ่ายทอดไปยังลูกได้ โดยผ่านทางโครโมโซมใน
เซลล์สืบพันธุ์ของพ่อแม่

                                               3
หลักฐาน
(ที่แสดงว่ายีนถ่ายทอดผ่านทางโครโมโซม)
พ.ศ.2423 : พบวิธีการย้อมสีโครโมโซม
พ.ศ.2445 : ทฤษฎีโครโมโซมในการถ่ายทอดลักษณะทาง
พันธุกรรม




                                                4
การย้อมสีโครโมโซม




                    5
ทฤษฎีโครโมโซมในการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

               Walter Sutton (2445) : chromosome theory
                                         of inheritance

               เสนอว่า : gene (factor) น่าจะอยู่บน
                           โครโมโซม เนื่องจาก
                  1. ยีนและโครโมโซม มี 2 ชุด เหมือนกัน
                  2. ยีนและโครโมโซมสามารถถ่ายทอดไปสู่ลูก
                  หลายได้
                                                      6
3. ขณะที่มีการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส โครโมโซมที่มการเข้าคู่กัน
                                               ี
   และแยกออกจากกันไปยังเซลล์ลูกคนละเซลล์ ซึ่งเหตุการณ์
   ดังกล่าวก็เกิดขึ้นในยีน โดยมีการแยกตัวของแอลลีนทั้งสองไปยัง
   เซลล์สืบพันธุ์

4 การแยกตัวของโครโมโซมที่อยู่เป็นคู่กนไปยังขั้วของเซลล์ขณะที่มี
                                        ั
   การแบ่งเซลล์ แต่ละคู่นั้นเกิดขึ้นอย่างอิสระ เช่นเดียวกับการ
   แยกตัวของแอลลีนไปยังเซลล์สืบพันธุ์
5 ขณะเกิดการสืบพันธุ์ การรวมตัวของเซลล์ไข่ และสเปิร์ม เกิดเป็น
   ไซโกตเป็นไปอย่างสุ่ม ทาให้เกิดการรวมกันระหว่างชุดโครโมโซม
   จากเซลล์ไข่ และสเปิร์ม เป็นไปอย่างสุ่ม ซึ่งเหมือนกับการที่ชุด
   ของแอลลีนที่เกิดขึ้นในเซลล์สืบพันธุ์ของพ่อกลับมารวมกันอีกครั้ง
   กับแอลลีนในเซลล์สืบพันธุ์ของแม่ เมื่อมีการสืบพันธุ์ก็เป็นไป
   อย่างสุ่มเช่นเดียวกัน

6 ทุกเซลล์ทพัฒนามาจากไซโกตจะมีโครโมโซมครึ่งหนึ่งจากแม่และ
            ี่
   อีกครึ่งหนึ่งจากพ่อ ซึ่งยีนครึ่งหนึ่งมาจากแม่และอีกครึ่งหนึ่งมา
   จากพ่อ ทาให้ลูกที่เกิดมาจึงมีลักษณะแปรผันไปจากพ่อและแม่

                                                                 8
การค้นพบของ F. Miescher
พ.ศ. 2412 โยฮันน์ ฟรีดริช
มีเซอร์ (F. Miescher) นักชีวเคมี
(แพทย์) ชาวสวีเดนได้ศึกษา
ส่วนประกอบในนิวเคลียสของเซลล์
เม็ดเลือดขาวที่ติดมากับผ้าพันแผล


                              9
โดยนาเซลล์เม็ดเลือดขาวมาย่อยเอาโปรตีนออกด้วย เอนไซม์เพป
 ซิน พบว่าเอนไซม์นี้ไม่สามารถย่อยสลายสารชนิดหนึ่งที่อยู่ภายใน
 นิวเคลียสได้

เมื่อนาสารนี้มาวิเคราะห์ทางเคมี : พบว่ามีธาตุไนโตรเจนและ
ฟอสฟอรัสเป็นองค์ประกอบ จึงเรียกสารที่สกัดได้จากนิวเคลียสว่า
นิวคลีอิน (nuclein) ต่อมาอีก 20 ปี ได้มีการเปลี่ยนชื่อใหม่ว่า กรด
นิวคลีอก เนื่องจากมีผู้ค้นพบว่าสารนี้มีสมบัติเป็นกรด
       ิ


                                                               10
การค้นพบของ R. Feulgen

พ.ศ. 2457 โดย อาร์ ฟอยล์แกน
(R. Feulgen) นักเคมีชาวเยอรมัน
เป็นผู้พัฒนาสีฟุคซิน (fuchsin)
ซึ่งสีย้อมนี้ย้อมติด DNA ให้สีแดง
และเมื่อนาไปย้อมเซลล์ พบว่าติด
ที่นวเคลียสและรวมตัวหนาแน่นที่
    ิ
โครโมโซม จึงสรุปว่า DNA อยู่ที่
โครโมโซม

                                          11
การค้ น พบว่ า DNA                   อยู่ ที่ โ ครโมโซม ท าให้
นักวิทยาศาสตร์ เชื่อว่า DNA เป็นสารพันธุกรรมของ
สิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ แต่ก็มีนักวิทยาศาสตร์จานวนมาก
ในสมั ย นั้ น เชื่ อ ว่ า สารพั น ธุ ก รรมน่ า จะเป็ น โปรตี น
เนื่ อ งจากโปรตี น เป็ น สารชี ว โมเลกุ ล ขนาดใหญ่
ประกอบด้วยกรดอะมิโน 20 ชนิด จึงน่าจะมีโปรตีน
ชนิดต่างๆ มากพอที่จะควบคุมลักษณะของสิ่งมีชีวิต
ได้อย่างครบถ้วน


                                                                 12
การค้นพบของ F. Griffith
พ.ศ. 2471 เอฟ กริฟฟิท (F. Griffith) แพทย์ชาวอังกฤษทา
การทดลองโดยฉีด แบคทีเรีย (Streptococcus pneumoniae) ที่
ทาให้เกิดโรคปอดบวมเข้าไปในหนู แบคทีเรียที่ฉีดเข้าไปนี้มี 2
สายพันธุ์ คือ สายพันธุ์ที่มผวหยาบ เพราะไม่มีสารห่อหุมเซลล์
                           ี ิ                          ้
หรือ แคปซูล(capsule) ไม่ทาให้เกิดโรคปอดบวม เรียกว่าสาย
พันธุ์ R (rough) และสายพันธุ์ที่มีผวเรียบ มีสารห่อหุ้มเซลล์ทา
                                   ิ
ให้เกิดโรคปอดบวมรุนแรงถึงตาย เรียกว่าสายพันธุ์ S
(smooth)
                                                           13
Streptococcus pneumoniae
พวกที่ไม่ก่อโรครุนแรง (avirulent)    ไม่มีแคบซูลหุ้ม ( R )
พวกที่ก่อโรคอย่างรุนแรง (virulent)   มีแคบซูลหุ้ม ( S )      15
Q : เหตุใดเมือนาแบคทีเรียสายพันธุ์ S ที่ทาให้ตายด้วยความ
             ่
ร้อน ไปผสมกับสายพันธุ์ R ที่มีชีวิตแล้วฉีดให้หนูจึงทาให้หนูตาย

A : กริฟฟิท ได้รายงานว่ามีสารบางอย่างจากแบคทีเรียสายพันธุ์
S ที่ทาให้ตายด้วยความร้อนเข้าไปยังสายพันธุ์ R บางเซลล์และ
สามารถทาให้แบคทีเรียสายพันธุ์ R เปลี่ยนแปลงสายพันธุ์เป็น
สายพันธุ์ S ที่มีชีวิต สายพันธุ์ S เหล่านียังสามารถถ่ายทอด
                                          ้
ลักษณะไปสู่รุ่นลูกหลาน อย่างไรก็ตาม กริฟฟิท ก็ไม่สามารถ
พิสูจน์ได้ว่าสารนั้นคืออะไร
การทดลองของ O.T. Avery และคณะ

พ.ศ. 2487 นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกัน 3 คน คือ โอ ที แอเวอ
รี่ (O.T. Avery) ซี แมคลอยด์ ( C. MacLeod) และ เอ็ม แมคคาร์ที
(M. McCarty) ทาการทดลองต่อจาก กริฟฟิท




                                                            17
18
จากผลการทดลองของเอเวอรี่และคณะ ปรากฏว่า

ส่วนผสมของแบคทีเรียสายพันธุ์ R กับสารสกัดจากสายพันธุ์ S ที่
ทาให้ตายด้วยความร้อน ในภาวะที่มีเอนไซม์ DNase จะไม่พบ
แบคทีเรียสายพันธุ์ S ที่เกิดขึ้นใหม่

ส่วนผสมของแบคทีเรียสายพันธุ์ R กับสารสกัดสายพันธุ์ S ใน
ภาวะที่มีเอนไซม์ RNase และภาวะที่มีเอนไซม์ โปรตีเอส จะพบ
สายพันธุ์ S เกิดขึ้น

                                                           19
การทดลองนี้จึงแสดงให้เห็นว่า DNA คือสารที่เปลี่ยน
พันธุกรรมของแบคทีเรียจากสายพันธุ์ R ให้เป็นสาย
พันธุ์ S แอเวอรี่จึงสรุปว่า กรดนิวคลีอิกชนิด DNA เป็น
สารพันธุกรรมไม่ใช่โปรตีนดังที่เคยเชื่อกันมาก่อนหน้านี้




                                                    20
สรุป

ผลการทดลองของกริฟฟิท แอเวอรี่และคณะ เป็นจุดเริ่มต้นที่
นาไปสู่ข้อสรุปที่สาคัญเป็นอย่างมากก็คือ ยีนหรือสารพันธุกรรมซึ่ง
ทาหน้าที่ถ่ายทอดลักษณะของสิ่งมีชีวิตไปสูรุ่นต่อๆไปนั้น เป็น
                                           ่
สารชีวโมเลกุลขนาดใหญ่มีชื่อว่า DNA และจากการศึกษาของ
นักวิทยาศาสตร์ในระยะต่อมาพบว่า DNA มีส่วนทีควบคุม
                                                ่
ลักษณะทางพันธุกรรมและส่วนที่ไม่ได้ควบคุมลักษณะทาง
พันธุกรรม DNA ส่วนทีควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม เรียกว่า
                       ่
ยีน ดังนั้นหน่วยพันธุกรรมที่เมนเดลเรียกว่าแฟกเตอร์ ก็คือยีนซึ่ง
อยู่ที่โครโมโซมนั้นเอง
                                                             21
Chromosome

Q : ยีนกับโครโมโซมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
A : ยีนมีตาแหน่งอยู่บนโครโมโซม
     (DNA เป็นองค์ประกอบของโครโมโซม และยีนก็เป็นส่วนหนึ่ง
     ของ DNA ที่ทาหน้าที่กาหนดลักษณะทางพันธุกรรมที่อยู่บน
     โครโมโซม)



                                                            22
23
24
รูปร่าง ลักษณะ และจานวนโครโมโซม

โดยทั่วไปโครโมโซมมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างได้ตามระยะต่าง ๆ
ในวัฏจักรของเซลล์ (cell cycle) โดยโครโมโซมในระยะ
อินเตอร์เฟสจะมีลักษณะยืดยาว และเมื่อเซลล์เข้าสู่ระยะการ
แบ่งตัว โครโมโซมจะหดตัวสั้นเข้าและหดตัวมากที่สุดในระยะเม
ตาเฟส ซึ่งเป็นระยะที่มองเห็นชัดเจนที่สุด เรียกโครโมโซมระยะ
นี้ว่า โครโมโซมเมตาเฟส



                                                         25
รูปร่างของโครโมโซม




                     26
ชนิดของโครโมโซม

1.   Metacentric chromosome
2.   Submetacentric chromosome
3.   Acrocentric chromosome
4.   Telocentric chromosome




                                   27
Metacentric chromosome
โครโมโซมทีมีเซนโทรเมียร์
          ่
อยูตรงตาแหน่งกึงกลางพอดี
   ่           ่
ทาให้แขน (arm) ทังสองข้าง
                 ้
ของโครโมโซมมีความยาว
เท่ากัน




                                   28
Submetacentric chromosome

โครโมโซมที่มีเซนโทรเมียร์
อยู่ใกล้กลางแท่งโครโมโซม
ทาให้แขนทั้งสองข้างของ
โครโมโซมมีความยาวไม่
เท่ากัน จึงมีแขนเป็นแขนข้าง
สั้นและแขนข้างยาว



                                    29
Acrocentric chromosome

โครโมโซมที่มีเซนโทรเมียร์
 อยู่เกือบปลายสุดจึงทาให้
 แขนข้างสั้นมีความสั้นมากจน
 แทบไม่ปรากฏ




                                    30
Telocentric chromosome

โครโมโซมที่มีเซนโทรเมียร์ อยู่
ตอนปลายสุดของโครโมโซม มี
ผลทาให้โครโมโซมมีแขนเพียง
ข้างเดียว




                                     31
32
โครโมโซมของสิ่งมีชีวิต
โครโมโซม แบ่งเป็น 2 ชนิด
1. Autosome :
   เป็น chromosome ที่ควบคุมลักษณะต่างๆของร่างกาย
2. Sex – chromosome :
   ควบคุม ,กาหนดเพศ
   chromosome X , chromosome Y
   หญิง XX ชาย XY
เซลล์ร่างกายของสิ่งมีชีวิตมีรูปร่างลักษณะที่เหมือนกันเป็นคู่ๆ
โครโมโซม 2 ชุด เรียกว่า ดิพลอยด์ โครโมโซมแต่ละคู่เรียกว่า
Homologous chromosome เช่น คน โครโมโซมชุดหนึ่งได้รับมา
จากพ่อ อีกชุดหนึ่งได้รับมาจากแม่ (เมื่อมีการแบ่งเซลล์แบบไม
โอซิส)
เมื่อเสร็จสิ้นการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส โครโมโซมในเซลล์ลูกที่
เกิดขึ้นจะลดลงครึ่งหนึ่งเรียกว่า แฮพลอยด์




                                                                34
จานวนโครโมโซม
 สิงมีชวต
   ่ ีิ     จานวนchromosome     สิงมีชวต
                                  ่ ีิ     จานวนchromosome
มนุษย์            46          สน                 24
ลิงชิมแพน         48          กะหล่าปลี          18
ซี
ม้า               64          ถัวลันเตา
                                ่                14
แมว               38          ฝ้าย               52
หนู               40          มะเขือเทศ          24
ไก่               78          ยาสูบ              48
กบ                26          ข้าว               24
ผึง
  ้               32          กล้วย              22
                                                             35
Q : สิ่งมีชีวิตที่มีจานวนโครโมโซมเท่ากัน
  จะมีรูปร่างเหมือนกันหรือไม่อย่างไร
A : ไม่จาเป็น




                                           36
Q : จานวนโครโมโซมมีความสัมพันธ์กับระดับความซับซ้อนของ
     สิ่งมีชีวิตหรือไม่
A : จากตารางจะเห็นได้ว่า ไก่มีจานวนโครโมโซมมากกว่าคน แต่
    โครงสร้างของคนมีความซับซ้อนมากกว่าไก่ ส่วนแมลงวัน
    แมลงหวี่ ยุงก้นปล่องและผึ้ง เป็นแมลงเหมือนกันจะมีความ
    ซับซ้อนของโครงสร้างใกล้เคียงกัน แต่มีจานวนโครโมโซม
    แตกต่างกัน ดังนั้นจานวนโครโมโซมจึงไม่น่าจะมีความสัมพันธ์
    กับระดับความซับซ้อนของสิ่งมีชีวิต
ส่วนประกอบของโครโมโซม

Q : DNA อยู่ที่ส่วนใดของโครโมโซม และที่โครโมโซมนอกจากมี
    DNA แล้วยังมีสารอื่นอีกหรือไม่อย่างไร
41
42
43
โครโมโซมของยูคาริโอต ประกอบด้วย DNA 1 ใน 3 และอีก 2 ใน
 3 เป็นโปรตีน โดยส่วนที่เป็นโปรตีนจะเป็น ฮิสโตน (histone)
 และนอนฮิสโตน (non-histone) อย่างละประมาณเท่าๆกัน
ในปี พ.ศ. 2427 นักวิทยาศาสตร์พบว่าฮิสโตนเป็นโปรตีนที่มี
 องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นกรดอะมิโนที่มีประจุบวก(basic amino
 acid) เช่น ไลซีน และอาร์จินีน ทาให้มีสมบัติในการเกาะจับกับ
 สาย DNA ซึ่งมีประจุลบได้เป็นอย่างดี และทาให้เกิดการสร้าง
 สมดุลของประจุ (neutralize) ของโครมาทินด้วยสาย DNA พัน
 รอบกลุ่มโปรตีนฮิสโตนคล้ายเม็ดลูกปัด เรียกโครงสร้างนี้ว่า
 นิวคลีโอโซม(nucleosome) โดยจะมีฮิสโตนบางชนิดเชื่อมต่อ
 ระหว่างเม็ดลูกปัดแต่ละเม็ด
ส่วนของโปรตีนนอนฮิสโตนนั้นมีมากมายหลายชนิด อาจเป็นร้อย
หรือพันชนิด ขึ้นอยู่กับชนิดของสิ่งมีชีวิต โดยโปรตีนเหล่านี้จะมี
หน้าที่แตกต่างกันไป บางชนิดมีหน้าที่ช่วยในการขดตัวของ DNA
หรือบางชนิดก็เกี่ยวข้องกับ กระบวนการจาลองตัวเองของ
DNA (DNA replication) หรือการแสดงออกของยีนเป็นต้น
สาหรับในโพรคาริโอต เช่น แบคทีเรีย E. coli มีจานวนโครโมโซม
ชุดเดียว เป็นรูปวงแหวนอยู่ในไซโตพลาสซึม ประกอบด้วย DNA
1 โมเลกุล และไม่มีฮิสโตนเป็นองค์ประกอบ
สารพันธุกรรมทั้งหมดของสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งๆ เรียกว่า จีโนม
(genome) จากการศึกษาพบว่าสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีขนาดของ
จีโนมและจานวนยีนแตกต่างกัน
องค์ประกอบทางเคมีของ DNA

1. DNA และ RNA มีโครงสร้างและส่วนประกอบอย่างไร
2. DNA ควบคุม ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตได้อย่างไร
DNA เป็นกรดนิวคลีอิคชนิดหนึ่ง ซึ่งเป็นพอลิเมอร์(polymer) สาย
ยาวประกอบด้วยหน่วยย่อย หรือ มอนอเมอร์(monomer) ที่
เรียกว่านิวคลีโอไทด์ (nucleotide)
แต่ละนิวคลีโอไทด์ประกอบด้วย
1. น้าตาลเพนโทส
2. ไนโตรจีนัสเบส(nitrogenous base)
        2.1 เบสพิวรีน (purine)
        2.2 เบสไพริมิดีน(pyrimidine)
3. หมู่ฟอสเฟต
น้าตาลเพนโทส
    น้าตาลที่มี C 5 อะตอม ( C5H10 O5 ) มี 2 กลุ่ม คือ
   1.ribose = ribonucleic acid = RNA
   2.deoxyribose = deoxyribonucleic acid (DNA)
ไนโตรจีนัสเบส(nitrogenous base)
     1. เบสพิวรีน (purine) ประกอบด้วยวงแหวน 2 วง
         มี 2 ชนิด
             1.1 อะดีนีน (adenine หรือ A)
             1.2 กวานีน (guanine หรือ G)
     2.เบสไพริมีดีน (Pyrimidine) ประกอบด้วย วงแหวน 1 วง
        มี 3 ชนิด
             2.1 ไทมีน (thymine หรือ T)
             2.2 ไซโทซีน (cytosine C )
             2.3 ยูราซีล (uracile หรือ U )
หมู่ฟอสเฟต
       ( PO4)
Nucleotide

การประกอบขึ้นเป็นนิวคลีโอไทด์นั้น ทั้งสามส่วนจะประกอบกัน
โดยมีน้าตาลเป็นแกนหลัก มีไนโตรจีนัสเบส อยู่ที่คาร์บอน
ตาแหน่งที่ 1 และหมู่ฟอสเฟตอยู่ที่คาร์บอนตาแหน่งที่ 5 ดังนั้นจึง
สามารถจาแนกนิวคลีโอไทด์ใน DNA ได้ 4 ชนิด ซึ่งจะแตกต่าง
กันตามองค์ประกอบที่เป็นเบส ได้แก่ A T C และ G
nucleotide
nucleotide
Polynucleotide

•  เกิดจากการสร้างพันธะโคเวเลนส์ ระหว่างหมู่ฟอสเฟตของนิ
 วคลีโอไทด์หนึ่งกับหมู่ไฮดรอกซิลที่อยู่ที่คาร์บอนตาแหน่งที่ 3
 ของน้าตาลในอีกนิวคลีโอไทด์หนึ่ง
• เมื่อหลายๆนิวคลีโอไทด์มาเชื่อมต่อกันเกิดเป็นสายพอลินิวคลี
 โอไทด์
Covalence bone




Covalence bone
• ปลายสายด้านหนึ่งจะมีหมู่ฟอสเฟตเชื่อมอยู่กับน้าตาลดีออกซีไร
  โบสที่คาร์บอนตาแหน่งที่ 5 เรียกปลายด้านนี้ว่าเป็นปลาย 5/
  (อ่านว่า 5 ไพร์ม)
• ปลายด้านหนึ่งจะมีหมู่ไฮดรอกซิลที่คาร์บอนตาแหน่งที่ 3 ที่เป็น
  อิสระ เรียกปลายด้านนี้ของสาย DNA ว่าปลาย 3/ ( อ่านว่า 3
  ไพร์ม)
ต่อมานักเคมีในประเทศอังกฤษ พบว่าพอลินิวคลีโอไทด์แต่ละ
สายจะแตกต่างกันที่จานวนของนิวคลีโอไทด์ และลาดับของนิวคลี
ไทด์
กฎของชาร์กาฟฟ์ (Chargaff’s rules)
ชาร์กาฟฟ์ ได้ศึกษาหาปริมาณของเบสทั้ง 4 ใน DNA ที่ทาให้บริสุทธิ์
จากเนื้อเยื่อที่ต่างกัน และจากสิ่งที่มีชีวิตต่างกันพบว่า :
     ในโมเลกุลของ DNA เบสอะดีนีน (A) มีปริมาณเท่ากับเบสไธมีน
(T) หรือ A=T
     เบสไซโตซีน (C) มีปริมาณเท่ากับเบสกวานีน (G) หรือ C = G
จากการศึกษานี้แสดงว่าปริมาณทั้งหมดของเบสเพียวรีน
(A+G) เท่ากับปริมาณทั้งหมดของเบสไพริมิดีน (T+C)
      องค์ประกอบเบสใน DNA จากสิ่งที่มีชีวิตชนิดหนึ่งจะเป็น
คุณสมบัติของสิ่งที่มีชีวิตชนิดนั้นๆ ซึ่งไม่ขึ้นกับชนิดของ
เนื้อเยื่อที่แยก DNA ออกมา และไม่ขึ้นกับอายุ อาหารและ
สภาวะแวดล้อม
      องค์ประกอบเบสใน DNA จะเปลี่ยนแปลงไประหว่างสิ่งที่
มีชีวิตที่ต่างกัน
โครงสร้างของ DNA

Q : โมเลกุลของ DNA มีโครงสร้างเป็นอย่างไร
การค้นพบของ โรซาลินด์ แฟรงคลิน



                 โรซาลินด์ แฟรงคลิน
                 (Rosalind Franklin)
ปี พ.ศ. 2493-2494 เอ็ม เอช เอฟ วิลคินส์ (M. H.F. Wilkins) และ
โรซาลินด์ แฟรงคลิน (Rosalind Franklin) นักฟิสกส์ชาวอังกฤษ
                                               ิ
ได้ศึกษาโครงสร้างของ DNA ในสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ โดยใช้
เทคนิคเอกซ์เรย์ดิฟแฟรกชัน (X-ray diffraction) โดยการฉายรังสี
เอกซ์ผ่านผลึก DNA การหักเหของรังสีเอกซ์ทาให้เกิดภาพบน
แผ่นฟิล์ม
จากภาพถ่ายนี้นักฟิสิกส์แปลผลได้ว่าโครงสร้างของ DNA จาก
สิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ มีลักษณะที่คล้ายกันมาก คือประกอบด้วยพอ
ลินิวคลีโอไทด์มากกว่า 1 สาย มีลักษณะเป็นเกลียว เกลียวแต่ละ
รอบมีระยะห่างเท่าๆกัน จากผลการศึกษาทาให้เข้าใจโครงสร้าง
ทางกายภาพของ DNA
การค้นพบของ วัตสัน ~ คลิก




Dr. James Watson           Dr. Francis Crick
แบบจาลองโครงสร้างของ DNA
J.D. Watson นักชีววิทยาอเมริกัน & F.H.C. Crick นักฟิสิกส์
อังกฤษ เสนอโครงสร้างของ DNA ได้รับ Nobel Prize ตีพิมพ์
ผลงานใน Nature ฉบับวันที่ 25 เดือนเมษายน ค.ศ. 1953

1. ประกอบด้วย 2 polynucleotides ยึดกันโดยการจับคู่กันของ
   เบส โดย H-bond
2. ทั้ง 2 สายขนานกันและมีติดทางตรงข้าม (antiparallel)
3. การจับคู่กันของเบสระหว่าง A - T (2 H-bonds), C - G (3 H-
    bonds) = complementary basepairs (เบสที่เป็นเบสคู่สมกัน
   คือ A จับคูกับ T ด้วยพันธะไฮโดรเจน 2 พันธะ และGจับคู่กับ
              ่
   C ด้วยพันธะไฮโดรเจน 3 พันธะ)
4. ทั้ง 2 สายจะพันกันเป็นเกลียวเวียนขวา (right handed double
    strand helix)
5. แต่ละคูเบสห่างกัน 3.4 อังสตรอม (.34 nm) เอียงทามุม 36
           ่
   องศา 1 รอบ = 10 คู่เบส = 34 อังสตรอม
   เส้นผ่าศูนย์กลาง 20 อังสตรอม
แม้ว่า DNA จะมีนิวคลีโอไทด์เพียง 4 ชนิด แต่โมเลกุลของ DNA
มีความแตกต่างกันได้หลายชนิด แต่ละโมเลกุลอาจประกอบด้วย
นิวคลีโอไทด์หลายพันคู่จนถึงแสนคู่ ตัวอย่างเช่นถ้า DNA
ประกอบด้วยนิวคลีโอไทด์ 2 โมเลกุลเรียงกัน จะสามารถจัดเรียง
ให้แตกต่างกันได้ 16 แบบ (42) ดังนั้นถ้าโมเลกุล DNA
ประกอบด้วยนิวคลีไทด์จานวนมาก การเรียงลาดับของเบสก็จะ
แตกต่างกันมากด้วยเช่นเดียวกัน
ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งๆ มีหลายลักษณะ
และลาดับเบสของ DNA ซึ่งเกิดจากเบสชนิดต่างๆ กันนั้นมี
หลายรูปแบบก็น่าจะมากพอที่จะทาหน้าที่ควบคุมหรือกาหนด
ลักษณะพันธุกรรมต่างๆได้
สมบัติของสารพันธุกรรม

เมื่อวัตสันและคลิก ได้คิดแบบจาลองโครงสร้างทางเคมีของ DNA ขึ้น
มาแล้ว เขาทั้งคู่ต้องพิสูจน์ว่า DNA มีคุณสมบัติที่เหมาะสมที่เป็นสาร
พันธุกรรมได้หรือไม่ ตามคุณสมบัติสาคัญ ดังนี้
1. สารพันธุกรรมต้องจาลองตัวเองได้ แล้วยังมีลักษณะเหมือนเดิม เพื่อจะ
     ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม จากรุ่นพ่อ-แม่ ไปยังรุ่นลูกได้ ซึ่งเกิด
     โดยกระบวนการสังเคราะห์ DNA (DNA -replication)
2. สามารถควบคุมการสังเคราะห์สารต่างๆ ของเซลล์เพื่อจะได้แสดง
   ลักษณะทางพันธุกรรม ต่างๆให้ปรากฏ โดยรหัสพันธุกรรมใน DNA ถูก
   ถ่ายทอดผ่าน RNA ในรูปของลาดับเบส แล้วแปล (translation) ออกมา
   เป็นลาดับของกรดอะมิโนในในกระบวนการสังเคราะห์โปรตีน
3. อาจมีการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางพันธุกรรมที่ต่างไปจากเดิม เนื่องจาก
   เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ลาดับเบสใน DNA ทาให้ผิดปกติไป และถ่ายทอด
   ลักษณะที่ผิดปกติไปยังลูกหลาน ทาให้เกิดสิ่งมีชีวิตที่ผิดปกติขึ้นได้ ใน
   ระยะเวลา 10 ปีต่อมา หลังจากที่วัตสันและคลิกได้คิดแบบจาลอง
   โครงสร้างของ DNA ขึ้น จึงสามารถพิสูจน์ได้ว่า DNA มีคุณสมบัติที่เป็น
   สารพันธุกรรมได้
สิบปีหลังจากวัตสันและคลิกเสนอแบบโครงสร้าง DNA จึง
สามารถพิสูจน์ได้ว่า DNA มีสมบัติเป็นสารพันธุกรรม ทาให้วัต
สันและคลิกได้รับรางวัลโนเบลในปีพ.ศ.2505
    DNA มีสมบัติของสารพันธุกรรมครบทั้ง 3 ประการ ดังนี้
            การสังเคราะห์ DNA (DNA -replication)
            การควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม
            การสังเคราะห์โปรตีน
การสังเคราะห์ DNA

• DNA replication
• ในปี พ.ศ. 2496 วอตสันและคลิกได้พิมพ์บทความพยากรณ์การ
  จาลองตัวเองของ DNA
• แต่เป็นเพียงสมมติฐาน
• มีใจความว่า
ในการจาลองตัวเองของ DNA พอลินิวคลีโอไทด์ 2 สาย
แยกออกจากกันเหมือนการรูดซิป
     โดยการสลายพันธะไฮโดรเจนระหว่างเบส A กับ T และเบส
C กับ G ทีละคู่
     พอลินิวคลีโอไทด์แต่ละสายทาหน้าที่เป็นแม่พิมพ์สาหรับการ
สร้างสายใหม่
มีการนานิวคลีโอไทด์อิสระที่อยู่ในเซลล์เข้ามาจับกับพอลินิวคลีโอ
ไทด์สายเดิม โดย
     เบส A จับกับ T และเบส C จับกับ G
     หมู่ฟอสเฟตของนิวคลีโอไทด์อิสระจับกับน้าตาลดีออกซีไร
    โบสของนิวคลีโอไทด์ที่อยู่ถัดไป
ทาให้ DNA ที่สังเคราะห์ใหม่เหมือนกับ DNA โมเลกุลเดิม
ทุกประการ
      การสังเคราะห์ DNA หรือการจาลองตัวเองของ DNA โดย
วิธีการนี้เรียกว่า DNA เรพลิเคชัน (DNA replication) ทาให้มีการ
เพิ่มโมเลกุลของ DNA จาก 1 โมเลกุลเป็น 2 โมเลกุล
      DNA แต่ละโมเลกุลมีพอลินิวคลีโอไทด์ สายเดิม 1 สาย และ
สายใหม่ 1 สาย จึงเรียกวิธีการจาลองแบบนี้ว่าเป็น แบบกึ่ง
อนุรักษ์ (semiconservative)
ในปี พ.ศ. 2499 อาร์เธอร์ คอร์นเบิร์ก (Arther Kornberg)
นักชีวเคมีชาวอเมริกันเป็นคนแรกที่สามารถสังเคราะห์ DNA ใน
หลอดทดลองได้สาเร็จโดย : นาเอาเอนไซม์ DNA พอลิเมอเรส
(DNA polymerase) ซึ่งสกัดจากแบคทีเรีย E. coli
เอนไซม์ DNA พอลิเมอเรส ทาหน้าที่เชื่อมนิวคลีโอไทด์ให้ต่อกัน
เป็นสายยาว โดยมีทิศทางการสังเคราะห์สาย DNA สายใหม่ จาก
ปลาย 5/ ไปยังปลาย 3 /
     ใส่ในหลอดทดลองที่มีสารสังเคราะห์สมบูรณ์ ซึ่ง
ประกอบด้วย
DNA แม่พิมพ์
    นิวคลีโอไทด์ 4 ชนิด ที่มีเบส A T C และเบส G
    เอนไซม์ DNA พอลิเมอเรส

    ปัญหา : จะพิสูจน์อย่างไรว่า DNA ที่สังเคราะห์ได้นั้น
เหมือนกับ DNA แม่พิมพ์ที่ใส่ในหลอดทดลอง
ปริมาณใน DNA ที่ได้       อัตราส่วน                     อัตาส่วน
 สิ่งมีชีวิตที่นา DNA มาเป็น
                                                              ของ                ในDNAที่   ของ              ใน DNA ที่
            แม่พมพ์
                  ิ             A        T      C         G   สังเคราะห์ได้                 เป็นแม่พมพ์
                                                                                                     ิ

แบคทีเรีย Micrococcus
                               0.15 0.15 0.35 0.35                        0.41                        0.39
lysodelikicus

แบคทีเรีย Aerobacter
                               0.22 0.22 0.28 0.28                        0.80                        0.82
aerogenes


แบคทีเรีย Escherichai coli     0.25 0.25 0.25 0.28                        1.00                        0.97




วัว (เซลล์จากต่อมไทมัส)        0.29 0.28 0.21 0.22                        1.32                        1.35




ไวรัส (phageT)                 0.32 0.32 0.18 0.18                        1.78                        1.84
• ข้อสรุป เนื่องจาก จากผลการทดลองพบว่า DNA ที่สังเคราะห์
  ได้ในหลอดทดลอง มีอัตราส่วนของเบส A+T ต่อ C+G เท่ากัน
ขั้นตอนการสังเคราะห์ DNA

• การสังเคราะห์ DNA ทั้งภายในและภายนอกเซลล์
• เริ่มต้นจากการที่สายพอลินิวคลีโอไทด์ 2 สาย ของ DNA ต้นแบบ
  แยกห่างออกจากกัน โดยเริ่มจากเอนไซม์ DNA ไจเรส (DNA
  gyrase) หรือโทโปไอโซเมอเรส (topoisomerase) คลายปมเหนือ
  จุดทีDNAสายเดี่ยวแยกตัวออกจากกัน (replication fork)
        ่
• เอนไซม์เฮลิเคส (Helicase) ทาหน้าที่สลายพันธะไฮโดรเจนเพื่อ
  ทาให้ดีเอ็นเอเกลียวคู่แยกเป็นสายเดี่ยว
• โปรตีน SSB จะเข้ามาจับเพื่อป้องกันไม่ให้สายดีเอ็นเอมาจับกัน
  อีก บริเวณที่มีการคลายเกลียวนี้เป็นจุดเริ่มต้นของการสังเคราะห์
  DNA
• การสร้าง DNA สายใหม่ มี 2 ลักษณะ
1. เมื่อสองสายคลายเกลียวแยกออกจากกัน DNA polymeras จะ
   สังเคราะห์ leading strand เป็นสายยาว โดยมีทิศทางจากปลาย
   5’ ไปยัง 3’

2. DNA polymeras สังเคราะห์ DNA สายใหม่เป็นสายสั้นๆ
   Okazaki fragment โดยมีทิศทาง 5’ ไปยัง 3’ จากนั้น DNA
   ligaseจะเชื่อมต่อ DNA สายสั้นๆให้เป็น DNA สายยาว
   เรียกสายนี้ว่า lagging strand
การสังเคราะห์โปรตีน

กลับสู่ความรู้พื้นฐาน
• สิ่งมีชีวิตพวกยูคาริโอตมี DNA อยู่ภายในนิวเคลียส แต่การ
   สังเคราะห์โปรตีนเกิดในไซโทพลาสซึม โดยเฉพาะบริเวณที่มี
   RER
• เป็นไปได้หรือไม่ว่า DNA ส่งตัวแทนออกมายังไซโทพลาสซึม
   เพื่อทาหน้าที่ควบคุมการสังเคราะห์โปรตีน ถ้าเป็นเช่นนั้นจริงสาร
   ที่เป็นตัวแทนของ DNA คืออะไร .....
• นักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศส 2 คน คือ ฟรองซัว จาค็อป
  (Franeois Jacop) และจาค โมนอด (Jacques Monod) มีข้อเสนอ
  ว่า RNA เป็นตัวกลางดังกล่าว
• เจราร์ด เฮอร์วิทซ์ (Jerard Hurwitz) และ เจ เจ เฟอร์ธ (J.J. Furth)
  เสนอว่า RNA ที่เป็นตัวกลางเรียกว่า mRNA (messenger RNA)
  และพยากรณ์ว่า mRNA จะเป็นตัวนาข้อมูลทางพันธุกรรมจาก
  DNA ไปยังไรโบโซม ซึ่งเป็นแหล่งสังเคราะห์โปรตีนทีอยู่ในไซ
                                                      ่
  โทพลาสซึม
ความรู้พื้นฐาน (ในปัจจุบัน)
• Nucleic acid (สารเคมีพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต) มี 2 ประเภท
   – DNA

   – RNA
       • mRNA
       • rRNA
       • tRNA
RNA

• นิวคลีโอไทด์ของ RNA เรียกว่า ไรโบนิวคลีโอไทด์
• ความแตกต่างระหว่าง DNA กับ RNA มี 3 ประการ
   – น้าตาลในนิวคลีโอไทด์ของ RNA เป็นน้าตาลไรโบส ไม่ใช้ดีออกซิไร
     โบส เหมือน DNA
   – RNA ไม่มีเบส T แต่มี U แทน
   – RNA มีสายเดียว
ขั้นตอนการสังเคราะห์โปรตีน

DNA
           replication : การจาลอง DNA
DNA
           transcription : การถอดรหัส
mRNA
           translation : การแปลรหัส
protein
Transcription

• การถอดรหัส หรือ การสังเคราะห์ RNA จาก DNA แม่พิมพ์
• เป็นกระบวนการถ่ายทอดข้อความทางพันธุกรรมจาก DNA ไปสู่
  mRNA
ขั้นตอนการถอดรหัส

• แบ่งเป็น 3 ขั้น
      ขั้นเริ่มต้น
      ขั้นการต่อสายยาว
      ขั้นสิ้นสุด
ขั้นเริ่มต้น
• เอนไซม์ RNA polymerase เข้าไปจับกับกับ DNA ตรงบริเวณที่
  จะสังเคราะห์ RNA ทาให้พันธะระหว่างคูเบสสลาย
                                      ่
  Polynucleotide 2 สาย ของ DNA จะคลายเกลียวแยกออกจาก
  กัน โดยมีสายใดสายหนึ่งเป็นแม่พิมพ์
ขั้นการต่อสายยาว

• ไรโบนิวคลีโอไทด์ (Ribonucleotide) ที่มีเบสที่เข้าคู่กับนิวคลีโอ
  ไทด์ของ DNA สายแม่พิมพ์ คือ เบส C เข้าคู่กับเบส G และเบส
  U เข้าคู่ A จะเข้ามาจับกับนิวคลีโอไทด์ของ DNA สายแม่พิมพ์
• เอนไซม์ RNApolymerase จะเชื่อมไรโบนิวคลีโอไทด์ อิสระมา
  ต่อกันเป็นสายยาว โดยมีทิศทางการสังเคราะห์สาย RNA จาก
  ปลาย 5' ไปยังปลาย 3' และการสร้างสาย RNA นั้น จะเรียงสลับ
  ทิศทางกับสาย DNA ที่เป็นแม่พิมพ์
ขั้นสิ้นสุด

• เอนไซม์ RNApolymerase หยุดทางานและแยกตัวออกจาก DNA
  สายแม่พิมพ์
• สาย RNA ที่สังเคราะห์ได้จะแยกออกจาก DNA ไปยังไซโทพลา
  ซึม ส่วน DNA 2 สายจะจับคู่กันและบิดเป็นเกลียวเหมือนเดิม
• RNA ที่ได้มีชื่อเรียกว่า mRNA
ความแตกต่างระหว่างการสังเคราะห์ DNA และ mRNA
Q : ในการสังเคราะห์ RNA โดยใช้ DNA สายหนึ่งเป็นแม่พิมพ์ มี
     ลาดับเบสดังนี้ 3' T A C G G C A T A T C G A 5' จงเขียน
     ลาดับเบสของ RNA ที่สังเคราะห์โดยเริ่มจากปลาย 5' ไปยัง
     ปลาย 3'
A :
รู้จัก รหัสพันธุกรรม ก่อนจะเริ่ม
           เรื่องต่อไปนะจ๊ะ
รหัสพันธุกรรม

Q : รหัสพันธุกรรมคืออะไร ?

• จากที่กล่าวมาแล้วว่า DNA เป็นแม่พิมพ์ในการสังเคราะห์ mRNA
  ดังนั้นข้อมูลทางพันธุกรรมใน DNA จะถ่ายทอดให้กับ mRNA
  การเรียงลาดับของนิวคลีโอไทด์ชนิดต่าง ๆ ของ mRNA จึงเป็น
  ตัวกาหนดกการเรียงลาดับของกรดอะมิโนเพื่อสังเคราะห์โปรตีน
• เนื่องจากกรดอะมิโนที่เป็นหน่วยย่อยของโปรตีนมีถึง 20 ชนิด แต่
  เบสที่เป็นองค์ประกอบของ DNA มีเพียง 4 ชนิด
        กรณีที่ 1 : ถ้าเบส 1 โมเลกุลเป็นรหัสของกรดอะมิโนแต่
                    ละชนิด จะเป็นรหัสได้ 4 แบบ คือ
                    A C G T
        กรณีที่ 2 : ถ้าเบส 2 โมเลกุลเป็นรหัสของกรดอะมิโนแต่
                    ละชนิด จะเป็นรหัสได้ 16 แบบ คือ
        กรณีที่ 3 : ถ้าเบส 3 โมเลกุลเป็นรหัสของกรดอะมิโนแต่
                    ละชนิด จะเป็นรหัสได้ 64 แบบ
เบรนเนอร์ (Brenner) และคริก (Crick) ได้ให้ความเห็นไว้
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2504 ว่ากรดอะมิโนแต่ละหน่วยถูกควบคุมด้วยรหัส
พันธุกรรมที่ประกอบด้วยเบส 3 โมเลกุล (triple code)
      เรียกรหัสที่ประกอบด้วยเบส 3 โมเลกุลนี้ว่า Codon
      ด้วยเหตุนี้เองการค้นคว้าทางชีวเคมีในระยะนั้นจึงมุ่งหาว่า
กรดอะมิโนชนิดใดควบคุมด้วยรหัสพันธุกรรมแบบใดบ้าง
พ.ศ. 2504 เอ็ม. ดับบลิว. ไนเรนเบิร์ก (M.W. Nirenberg)
และ เจ.เอ็ซ. แมททัย (J.H. Matthei) ชาวอเมริกัน ได้ค้นพบรหัส
พันธุกรรมรหัสแรก คือ UUU ซึ่งเป็นรหัสของกรดอะมิโนชนิด ฟี
นิลอะลานีน (phenylalanine)
     ต่อมามีการค้นพบเพิ่มเติมขึ้นเรื่อย ๆ จนกระทั่งในปี พ.ศ.
2509 พบรหัสพันธุกรรมถึง 61 รหัสด้วยกัน
เหลือเพียง 3 รหัส คือ UAA,UAG และUGA ซึ่งไม่พบว่า
เป็นรหัสของกรดอะมิโนใด ๆ แต่ภายหลังจึงพบว่า รหัสทั้งสาม
นี่ทาหน้าที่หยุดการสังเคราะห์โปรตีน
        และพบว่า AUG ซึ่งเป็นรหัสของกรดอะมิโนเมไทโอนีน
(methionine) เป็นรหัสตั้งต้นของการสังเคราะห์โปรตีนอีกด้วย
        เมื่อพบรหัสเหล่านี้การสังเคราะห์โปรตีนจะสิ้นสุดลง
Q : รหัสพันธุกรรม (genetic code) คืออะไร ?
A : ลาดับเบสใน mRNA




                                             ถูกไหม?
รู้จัก RNA เพิ่มเติม
เมสเซนเจอร์ RNA (mRNA)
     เป็นตัวถ่ายทอดข้อมูลทางพันธุกรรม จาก DNA ออกมาเป็น
โปรตีน เมื่อเซลล์ ต้องการสร้างโปรตีนขึ้นมาใช้งาน เซลล์จะ
คัดลอก gene สาหรับสร้างโปรตีนนั้นออกมาเป็น mRNA ดังนั้น
mRNA จึงเกิดขึ้นในนิวเคลียส เมื่อมี mRNA แล้ว จะมี
กระบวนการขนส่ง mRNA ออกจากนิวเคลียสสู่ไซโทพลาซึม ซึ่ง
เป็นที่สาหรับการสังเคราะห์โปรตีน
     พบประมาณร้อยละ 4 ของ RNA ในเซลล์
ทรานสเฟอร์ RNA (tRNA)
     tRNA จะมีกรดอะมิโนมาเกาะอยู่ ทาหน้าที่นากรดอะมิโนมา
เรียงร้อยต่อกันเป็น โปรตีน ชนิดของกรดอะมิโนที่จะนามาต่อนี้
ถูกกาหนดโดยรหัสพันธุกรรมบน mRNA ส่วน tRNA มีตัวช่วย
อ่านรหัสเรียกว่า anticodon
ไรโบโซมอล RNA (rRNA)
     เป็น RNA ที่เป็นองค์ประกอบของไรโบโซม คิดเป็นร้อยละ
85 ของ RNA ที่พบในเซลล์
     ประกอบด้วยหน่วยย่อย 2 หน่วย มีลักษณะเป็นเม็ดกลมรี
ขนาดใหญ่ 1 หน่วยและขนาดเล็ก 1 หน่วย แต่ละหน่วยมี RNA
เป็นองค์ประกอบรวมอยู่กับโปรตีนขนาดต่าง ๆ กันจานวนมาก
     ในสิ่งมีชีวิตชันสูงพบ rRNA อยู่ 4 ขนาดคือ 28S, 18S, 5.8S
                    ้
และ 5S rRNA ทาหน้าที่ในการสังเคราะห์โปรตีน
Translation

• การแปลรหัส หรือ การสังเคราะห์โปรตีนที่ไรโบโซม
• การสังเคราะห์โปรตีนเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นในไซโทพลาสซึม
  ของเซลล์ โดยมีออร์แกเนลล์ที่เกี่ยวข้อง คือ ไรโบโซม
• เมื่อ DNA ภายในนิวเคลียสสังเคราะห์ mRNA ลาดับเบสของ
  mRNA จะกลายเป็นรหัสพันธุกรรม
• mRNA จะถูกส่งออกมาที่ไซโทพลาสซึม และเกิดขั้นตอนการ
  แปลรหัส ดังนี้
ขั้นเริ่มต้น
• ไรโบโซมหน่วยย่อยขนาดเล็กเข้าจับกับ MRNA
• tRNA ที่มีรหัส (anticodon) ตรงกับรหัสเริ่มต้น (AUG) ของ
  mRNA นากรดอะมิโนตัวแรกเข้าจับกับสาย mRNA ที่รหัสเริ่มต้น
• ไรโบโซมหน่วยย่อยขนาดใหญ่เข้าประกบกับขนาดเล็ก
• ขั้นตอนนี้เกิดขึ้นที่ P site ของไรโบโซม
ขั้นการต่อสายยาว

• tRNA โมเลกุลที่สอง ที่มี anticodon เข้าคู่กับ codon ถัดไปของ
  mRNA นากรดอะมิโนตัวที่สองมาต่อกับกรดอะมิโนตัวแรก ที่
  ตาแหน่ง A site แล้วสร้างพันธะเพปไทด์เชื่อมระหว่างกรดทั้งสอง
  ตัว
• ไรโบโซมจะเคลื่อนที่ไปยัง codon ถัดไปในทิศทางจาก 5’ ไปยัง
  3’ ทาให้โมเลกุลแรกหลุดออกไป
• tRNA โมเลกุลที่สาม ที่มี anticodon เข้าคู่กับ codon ถัดไปของ
  mRNA นากรดอะมิโนตัวที่สามมาต่อกับกรดอะมิโนตัวที่สอง ที่
  ตาแหน่ง A site แล้วสร้างพันธะเพปไทด์เชื่อมระหว่างกรดทั้งสอง
  ตัวอีกครั้ง
• ไรโบโซมเคลือนที่ต่อไปทีละ codon ตามลาดับ จนได้สายยาว
               ่
  เรียกว่า Polypeptide
ขั้นสิ้นสุด

• เมื่อไรโบโซมเคลื่อนที่ต่อไปบน mRNA จนพบกับ codon ที่เป็น
  รหัสหยุด จะทาให้ไม่มี tRNA เข้ามาจับกับรหัสหยุดดังกล่าว
  เกิดการหยุดการแปลรหัส
• Polypeptide ที่ยึดติดกับ tRNA ตัวสุดท้ายจะถูกตัดออกไปและ
  แยกออกจากกัน
• ไรโบโซมหน่วยย่อยขนาดเล็กแยกออกจากขนาดใหญ่ และ
  mRNA หลุดออกจากไรโบโซม
• Eukaryote
   – กระบวนการถอดรหัสเกิดในนิวเคลียส ได้ mRNA จากนั้น mRNA จะ
     ออกมายังไซโทพลาสซึมแล้วจึงเกิดการแปลรหัส
• Prokaryote
   – กระบวนการถอดรหัสและแปลรหัสสามารถเกิดต่อเนื่องกัน โดย
     mRNA จะถูกนาไปแปลรหัสได้ทันที ทั้งที่กระบวนการถอดรหัสยังไม่
     สิ้นสุด
Polyribosome

• ในการสังเคราะห์โปรตีน mRNA แต่ละโมเลกุลอาจจะพาดเกาะอยู่
  บนไรโบโซมหลาย ๆ ไรโบโซม แต่ละไรโบโซมจะทาการ
  สังเคราะห์สายพอลิเพปไทด์ 1 สาย กลุ่มของไรโบโซมเหล่านี้
  เรียกว่า พอลิไรโบโซม (polyribosome)
Q : โปรตีนที่สังเคราะห์ได้ร่างกายนาไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไร
A : สายพอลิเพปไทด์ที่สังเคราะห์ได้หลังจากการแปลรหัสสิ้นสุดจะมี
   การเปลี่ยนแปลงบางอย่าง ทาให้มีรูปร่างและการเข้าจับกับพอลิ
   เพปไทด์ต่าง ๆ เพื่อให้ได้โปรตีนที่มีความเหมาะสมและพร้อมจะ
   ทางานได้
   บทบาทและหน้าที่ของโปรตีนเป็นไปอย่างหลากหลาย เช่น
1. ทาหน้าที่เป็นองค์ประกอบของโครงสร้าง เช่น คอลลาเจน
และเคอราทินในสัตว์ โปรตีนที่ผนังเซลล์พืช และโปรตีนที่เป็น
องค์ประกอบของไรโบโซม

2. ทาหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหว เช่น แอกทินและไมโอซินใน
กล้ามเนื้อของคน ทูบูลินซึ่งมีบทบาทในการเคลื่อนไหวของซิเลีย
หรือแฟลกเจลลาในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
3. ทาหน้าที่ในระบบคุ้มกัน เช่น อิมมูโนโกลบูลิน
(immunoglobulin) ในสัตว์ ซิสเทมิน (systemin) และโปรติเนสอิน
ฮิบิเตอร์ (protenase inhibitor) ในพืชเป็นต้น

4. ควบคุมปฏิกิริยาต่าง ๆ ในสิ่งมีชีวิต เช่น เอนไซม์ใน
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง และเอนไซม์ในกระบวนการสลาย
สารอาหารเป็นต้น

5. ทาหน้าที่ในการติดต่อสื่อสารระหว่างเซลล์ชนิดต่าง ๆ เช่น
ฮอร์โมนต่าง ๆ
Mutation
Mutation

ความหมาย :
  การเปลี่ยนแปลงของยีนหรือโครโมโซม ที่ส่งผลให้เกิดการ
  เปลี่ยนแปลงลักษณะของสิ่งมีชีวิต ทาให้แตกต่างไปจากเดิม
ปัจจัยที่ทาให้เกิดการกลายพันธุ์

•       รังสี (radiation) รังสีที่กระตุ้นให้เกิดมิวเทชันมี 2 ชนิดคือ
    –      Ionizing Radiation เช่น รังสีบีต้า, รังสีแกมมา, รังสีเอกซ์
    –      Non-Ionizing Radiation เช่น รังสีอุลตร้าไวโอเลต
•       การจัดเรียงเบสในกระบวนการสังเคราะห์ดีเอ็นเอ(DNA
        replication)ผิดพลาด มีผลทาให้เกิดการเพิ่มหรือลดจานวนเบส
        ในคู่สาย และทาให้เกิดการเลื่อน (shift) ของสายDNA
• สารเคมี เช่น สารโคลซิซิน (colchicine) มีผลทาให้มีการเพิ่ม
  จานวนชุดของโครโมโซม ผลดังกล่าวนี้ทาให้ผลผลิตพืชเพิ่มขึ้น
  สารไดคลอวอส (dichlovos) ที่ใช้กาจัดแมลงและพาราควอต
  (paraquat) ที่ใช้กาจัดวัชพืช ก็สามารถทาให้เกิดการผิดปกติของ
  โครโมโซมในคนและสัตว์ได้ สิ่งก่อกลายพันธุ์หรือมิวทาเจนหลาย
  ชนิดเป็นสารก่อมะเร็ง (carcinogen) เช่น สารอะฟลาทอกซิน
  (aflatoxins) จากเชื้อราบางชนิดทาให้เกิดมะเร็งที่ตับ เป็นต้น
ประเภทของการกลายพันธุ์

• เซลล์ร่างกาย (Somatic cell) เซลล์ชนิดนี้เมื่อเกิดมิวเทชันแล้ว จะ
  ไม่ถ่ายทอดไปยังรุ่นต่อไป
• เซลล์สืบพันธุ์ (Sex cell) เซลล์เหล่านีเมื่อเกิดมิวเทชันแล้ว จะ
                                        ้
  ถ่ายทอดไปยังรุ่นต่อไปได้ ซึ่งมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสปีชีส์ของ
  สิ่งมีชีวิตมากที่สุด และส่งผลต่อวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตด้วย
ระดับของการกลายพันธุ์

1. Gene (point mutation)        2. Chromosome
• การแทนที่คู่เบส               • การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างภายใน
   – Transversion                   –   inversion
                                    –   translocation
   – Transition
                                    –   deletion
   Missense
                                    –   Duplication
   Nonsense                     • การเปลี่ยนแปลงจานวนโครโมโซม
• การเพิ่มหรือลดนิวคลีโอไทด์        – aneuploidy
   (frame shift mutation)           – euploidy
Gene (point mutation)

• การแทนที่คู่เบส
   – Transversion
   – Transition
   Missense
   Nonsense
• การเพิ่มหรือลดนิวคลีโอไทด์
  (frame shift mutation)
การแทนที่คู่เบส

– Transition คือ แทนทีระหว่าง base กลุ่มเดียวกัน
                      ่
   • purine to purine (A --> G) หรือ
   • pyrimidine to pyrimidine (T--> C)
– Transversion คือ แทนทีระหว่าง base ต่างกลุ่ม
                         ่
   • purine to pyrimidine (A --> T)
   • pyrimidine to purine (G --> C)
ตัวอย่าง
   sickle cell anemia ซึ่งมีลักษณะอาการของโรคปรากฏที่เม็ดเลือด
   แดงที่จะบิดเบี้ยวคล้ายรูปเคียว
• Missense
   – เป็น Point mutation 1 base แล้วเป็นผลให้เปลี่ยน codon --> เปลี่ยน
     amino acid
   – ส่วนมากเกิดกับ ตาแหน่งที่ 2 หรือ 3 ของ codon
   – ทาให้เปลี่ยนเป็น mutant phenotype ขึ้นกับ amino acid sequence
• Nonsense
   – Point mutation ที่เปลี่ยน codon ปกติให้เป็น stop codon
   – ผลเปลี่ยนเป็น mutant phenotype
Missense Mutation
Nonsense Mutation
Frame shift mutation

Frame shift mutation
   เพิ่ม หรือ ลด ส่งผลให้สาย polynucleotide สั้นลงหรือยาวขึ้น
   หรือไม่ทางาน (nonfunctional)
Frameshift Mutation
Chromosome

• การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างภายใน
   –   inversion
   –   translocation
   –   deletion
   –   Duplication
• การเปลี่ยนแปลงจานวนโครโมโซม
   – aneuploidy
   – euploidy
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างภายใน

         inversion
translocation
deletion
Duplication
Cri du chat Syndrome
Fig. 13.10
การเปลี่ยนแปลงจานวนโครโมโซม

• aneuploidy การเปลี่ยนแปลงบางส่วนของโครโมโซม
• Euploidy การเปลี่ยนแปลงทั้งชุดโครโมโซม
aneuploidy


Normal            Abnormal
http://www.thetech.org/genetics/ask.php?id=31



Trisomy 21   trisomic-21
Trisomy 18 –Edward syndrome




45 XO-Turner syndrome
trisomy 13 or Patau syndrome
euploidy




Normal 2n   Abnormal 3n
การสร้างเซลล์สืบพันธุ์ผิดปกติ

การเกิดตัวอ่อนจากเซลล์ที่ผิดปกติ
A. Bread wheat (Triticum aestivum)
B. Rye (Secale cereale)
C. Triticale (Triticosecale).
Triploid
47 XXY
Klinefelter syndrome
THE END

Contenu connexe

Tendances

การทดลองตอนที่ 1 ปฏิกิริยาการเกาะกลุ่ม
การทดลองตอนที่ 1 ปฏิกิริยาการเกาะกลุ่มการทดลองตอนที่ 1 ปฏิกิริยาการเกาะกลุ่ม
การทดลองตอนที่ 1 ปฏิกิริยาการเกาะกลุ่มDoz Phatnut
 
G biology bio5
G biology bio5G biology bio5
G biology bio5Bios Logos
 
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรพัน พัน
 
คู่อันดับและกราฟ
คู่อันดับและกราฟคู่อันดับและกราฟ
คู่อันดับและกราฟJiraprapa Suwannajak
 
โครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการโครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการaispretty
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPinutchaya Nakchumroon
 
สรุปความรู้ พันธุกรรม
สรุปความรู้ พันธุกรรมสรุปความรู้ พันธุกรรม
สรุปความรู้ พันธุกรรมJiraporn
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemsupreechafkk
 
El nucleo celular y los cromosomas
El nucleo celular y los cromosomasEl nucleo celular y los cromosomas
El nucleo celular y los cromosomasdonclaudio
 
บท2 ยีนเเละโครโมโซม
บท2 ยีนเเละโครโมโซมบท2 ยีนเเละโครโมโซม
บท2 ยีนเเละโครโมโซมWichai Likitponrak
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตพัน พัน
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6Nattapong Boonpong
 
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)Jirathorn Buenglee
 
Ebook เรขาคณิต
Ebook เรขาคณิตEbook เรขาคณิต
Ebook เรขาคณิตlalidawan
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟJiraprapa Suwannajak
 
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISA
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISAตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISA
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISAChay Kung
 
สรุปสาระสำคัญทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
สรุปสาระสำคัญทฤษฎีกราฟเบื้องต้นสรุปสาระสำคัญทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
สรุปสาระสำคัญทฤษฎีกราฟเบื้องต้นพัน พัน
 
การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม on-uma
 

Tendances (20)

การทดลองตอนที่ 1 ปฏิกิริยาการเกาะกลุ่ม
การทดลองตอนที่ 1 ปฏิกิริยาการเกาะกลุ่มการทดลองตอนที่ 1 ปฏิกิริยาการเกาะกลุ่ม
การทดลองตอนที่ 1 ปฏิกิริยาการเกาะกลุ่ม
 
แผนภาพต้นไม้8
แผนภาพต้นไม้8แผนภาพต้นไม้8
แผนภาพต้นไม้8
 
G biology bio5
G biology bio5G biology bio5
G biology bio5
 
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
คู่อันดับและกราฟ
คู่อันดับและกราฟคู่อันดับและกราฟ
คู่อันดับและกราฟ
 
โครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการโครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการ
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
สรุปความรู้ พันธุกรรม
สรุปความรู้ พันธุกรรมสรุปความรู้ พันธุกรรม
สรุปความรู้ พันธุกรรม
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
 
El nucleo celular y los cromosomas
El nucleo celular y los cromosomasEl nucleo celular y los cromosomas
El nucleo celular y los cromosomas
 
บท2 ยีนเเละโครโมโซม
บท2 ยีนเเละโครโมโซมบท2 ยีนเเละโครโมโซม
บท2 ยีนเเละโครโมโซม
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
โครงงาน 5 บท
โครงงาน  5 บทโครงงาน  5 บท
โครงงาน 5 บท
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
 
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
 
Ebook เรขาคณิต
Ebook เรขาคณิตEbook เรขาคณิต
Ebook เรขาคณิต
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
 
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISA
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISAตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISA
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISA
 
สรุปสาระสำคัญทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
สรุปสาระสำคัญทฤษฎีกราฟเบื้องต้นสรุปสาระสำคัญทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
สรุปสาระสำคัญทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
 
การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
 

En vedette

Next gen.
Next gen.Next gen.
Next gen.pesec
 
Scanour resort mohamed salah
Scanour resort mohamed salahScanour resort mohamed salah
Scanour resort mohamed salahmohamedaboutaleb
 
Dobrich
DobrichDobrich
Dobrichniod
 
blogueandoconlasnetbook
blogueandoconlasnetbookblogueandoconlasnetbook
blogueandoconlasnetbookLaura Broilo
 
Vera - Globalizing the CCSS
Vera - Globalizing the CCSSVera - Globalizing the CCSS
Vera - Globalizing the CCSSKathyGShort
 
惠南镇日间照料中心设计方案2
惠南镇日间照料中心设计方案2惠南镇日间照料中心设计方案2
惠南镇日间照料中心设计方案2yongnianlou
 
Дипломище
ДипломищеДипломище
Дипломищеrusalkaussr
 
Harshali maths
Harshali mathsHarshali maths
Harshali mathsRima Shah
 
Helmet verkkoon hankekoulu_vuosikello
Helmet verkkoon hankekoulu_vuosikelloHelmet verkkoon hankekoulu_vuosikello
Helmet verkkoon hankekoulu_vuosikellolansisuomenhelmet
 
Mandatory hippa and information security
Mandatory hippa and information securityMandatory hippa and information security
Mandatory hippa and information securityHiggi123
 
Creating a simple motor. open office only
Creating a simple motor. open office onlyCreating a simple motor. open office only
Creating a simple motor. open office onlyMelchor Cariño
 
めんどうくさくないWardenハンズオン
めんどうくさくないWardenハンズオンめんどうくさくないWardenハンズオン
めんどうくさくないWardenハンズオンi_yudai
 

En vedette (20)

Next gen.
Next gen.Next gen.
Next gen.
 
Scanour resort mohamed salah
Scanour resort mohamed salahScanour resort mohamed salah
Scanour resort mohamed salah
 
L unit 4
L unit 4L unit 4
L unit 4
 
Tarea 2
Tarea 2Tarea 2
Tarea 2
 
Uitleg ppt plattegronden van tilburg
Uitleg ppt plattegronden van tilburgUitleg ppt plattegronden van tilburg
Uitleg ppt plattegronden van tilburg
 
Dobrich
DobrichDobrich
Dobrich
 
blogueandoconlasnetbook
blogueandoconlasnetbookblogueandoconlasnetbook
blogueandoconlasnetbook
 
Planeación
PlaneaciónPlaneación
Planeación
 
Vera - Globalizing the CCSS
Vera - Globalizing the CCSSVera - Globalizing the CCSS
Vera - Globalizing the CCSS
 
Arts 6
Arts 6Arts 6
Arts 6
 
Microsoft again
Microsoft againMicrosoft again
Microsoft again
 
惠南镇日间照料中心设计方案2
惠南镇日间照料中心设计方案2惠南镇日间照料中心设计方案2
惠南镇日间照料中心设计方案2
 
Дипломище
ДипломищеДипломище
Дипломище
 
Eu unit 10
Eu unit 10Eu unit 10
Eu unit 10
 
Harshali maths
Harshali mathsHarshali maths
Harshali maths
 
Helmet verkkoon hankekoulu_vuosikello
Helmet verkkoon hankekoulu_vuosikelloHelmet verkkoon hankekoulu_vuosikello
Helmet verkkoon hankekoulu_vuosikello
 
Mandatory hippa and information security
Mandatory hippa and information securityMandatory hippa and information security
Mandatory hippa and information security
 
Creating a simple motor. open office only
Creating a simple motor. open office onlyCreating a simple motor. open office only
Creating a simple motor. open office only
 
めんどうくさくないWardenハンズオン
めんどうくさくないWardenハンズオンめんどうくさくないWardenハンズオン
めんどうくさくないWardenハンズオン
 
Miami heat
Miami heatMiami heat
Miami heat
 

Similaire à Genetics

Gene chromosome
Gene chromosomeGene chromosome
Gene chromosomeAngel Jang
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมAngel Jang
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมComputer ITSWKJ
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรมkrudararad
 
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯroom62group2
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2naan1338
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2room62group2
 
ยีนและโครโมโซม.pptx
ยีนและโครโมโซม.pptxยีนและโครโมโซม.pptx
ยีนและโครโมโซม.pptxKru Bio Hazad
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอนnokbiology
 
4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new
4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new
4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 newเลิกเสี่ยง. ป่าน
 
สรุปความรู้
สรุปความรู้สรุปความรู้
สรุปความรู้Jiraporn
 
สรุปความรู้
สรุปความรู้สรุปความรู้
สรุปความรู้Jiraporn
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซมPinutchaya Nakchumroon
 

Similaire à Genetics (20)

Gene chromosome
Gene chromosomeGene chromosome
Gene chromosome
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซม
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซม
 
Gene
GeneGene
Gene
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
Gene2003
Gene2003Gene2003
Gene2003
 
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
 
pantugam
pantugampantugam
pantugam
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
 
ยีนและโครโมโซม.pptx
ยีนและโครโมโซม.pptxยีนและโครโมโซม.pptx
ยีนและโครโมโซม.pptx
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซม
 
Bbb
BbbBbb
Bbb
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอน
 
4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new
4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new
4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new
 
4
44
4
 
สรุปความรู้
สรุปความรู้สรุปความรู้
สรุปความรู้
 
สรุปความรู้
สรุปความรู้สรุปความรู้
สรุปความรู้
 
Genetics
GeneticsGenetics
Genetics
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 

Plus de Biobiome

หน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้นหน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้นBiobiome
 
หน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของรากหน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของรากBiobiome
 
หน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบหน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบBiobiome
 
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากเนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากBiobiome
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบBiobiome
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบBiobiome
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตBiobiome
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำBiobiome
 
สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์Biobiome
 
ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทยBiobiome
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
BiodiversityBiobiome
 
Science m6
Science m6Science m6
Science m6Biobiome
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์Biobiome
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์Biobiome
 

Plus de Biobiome (20)

หน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้นหน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้น
 
หน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของรากหน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของราก
 
หน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบหน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบ
 
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากเนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบ
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบ
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
 
สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์
 
ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทย
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
 
Pisa
PisaPisa
Pisa
 
Onet 05
Onet 05Onet 05
Onet 05
 
Science m6
Science m6Science m6
Science m6
 
Science50
Science50Science50
Science50
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
05 e
05 e05 e
05 e
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
Science50
Science50Science50
Science50
 
Pat2 52-1
Pat2 52-1Pat2 52-1
Pat2 52-1
 

Genetics

  • 1. Gene and Chromosome Aj. Aj. Angsana Sanyear Biology : Genetics 1
  • 3. การถ่ายทอดยีนและโครโมโซม Q : ยีนของพ่อแม่ถ่ายทอดสู่ลูกได้อย่างไร A : ยีนซึ่งเป็นหน่วยควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม จากพ่อแม่ สามารถ่ายทอดไปยังลูกได้ โดยผ่านทางโครโมโซมใน เซลล์สืบพันธุ์ของพ่อแม่ 3
  • 6. ทฤษฎีโครโมโซมในการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม Walter Sutton (2445) : chromosome theory of inheritance เสนอว่า : gene (factor) น่าจะอยู่บน โครโมโซม เนื่องจาก 1. ยีนและโครโมโซม มี 2 ชุด เหมือนกัน 2. ยีนและโครโมโซมสามารถถ่ายทอดไปสู่ลูก หลายได้ 6
  • 7. 3. ขณะที่มีการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส โครโมโซมที่มการเข้าคู่กัน ี และแยกออกจากกันไปยังเซลล์ลูกคนละเซลล์ ซึ่งเหตุการณ์ ดังกล่าวก็เกิดขึ้นในยีน โดยมีการแยกตัวของแอลลีนทั้งสองไปยัง เซลล์สืบพันธุ์ 4 การแยกตัวของโครโมโซมที่อยู่เป็นคู่กนไปยังขั้วของเซลล์ขณะที่มี ั การแบ่งเซลล์ แต่ละคู่นั้นเกิดขึ้นอย่างอิสระ เช่นเดียวกับการ แยกตัวของแอลลีนไปยังเซลล์สืบพันธุ์
  • 8. 5 ขณะเกิดการสืบพันธุ์ การรวมตัวของเซลล์ไข่ และสเปิร์ม เกิดเป็น ไซโกตเป็นไปอย่างสุ่ม ทาให้เกิดการรวมกันระหว่างชุดโครโมโซม จากเซลล์ไข่ และสเปิร์ม เป็นไปอย่างสุ่ม ซึ่งเหมือนกับการที่ชุด ของแอลลีนที่เกิดขึ้นในเซลล์สืบพันธุ์ของพ่อกลับมารวมกันอีกครั้ง กับแอลลีนในเซลล์สืบพันธุ์ของแม่ เมื่อมีการสืบพันธุ์ก็เป็นไป อย่างสุ่มเช่นเดียวกัน 6 ทุกเซลล์ทพัฒนามาจากไซโกตจะมีโครโมโซมครึ่งหนึ่งจากแม่และ ี่ อีกครึ่งหนึ่งจากพ่อ ซึ่งยีนครึ่งหนึ่งมาจากแม่และอีกครึ่งหนึ่งมา จากพ่อ ทาให้ลูกที่เกิดมาจึงมีลักษณะแปรผันไปจากพ่อและแม่ 8
  • 9. การค้นพบของ F. Miescher พ.ศ. 2412 โยฮันน์ ฟรีดริช มีเซอร์ (F. Miescher) นักชีวเคมี (แพทย์) ชาวสวีเดนได้ศึกษา ส่วนประกอบในนิวเคลียสของเซลล์ เม็ดเลือดขาวที่ติดมากับผ้าพันแผล 9
  • 10. โดยนาเซลล์เม็ดเลือดขาวมาย่อยเอาโปรตีนออกด้วย เอนไซม์เพป ซิน พบว่าเอนไซม์นี้ไม่สามารถย่อยสลายสารชนิดหนึ่งที่อยู่ภายใน นิวเคลียสได้ เมื่อนาสารนี้มาวิเคราะห์ทางเคมี : พบว่ามีธาตุไนโตรเจนและ ฟอสฟอรัสเป็นองค์ประกอบ จึงเรียกสารที่สกัดได้จากนิวเคลียสว่า นิวคลีอิน (nuclein) ต่อมาอีก 20 ปี ได้มีการเปลี่ยนชื่อใหม่ว่า กรด นิวคลีอก เนื่องจากมีผู้ค้นพบว่าสารนี้มีสมบัติเป็นกรด ิ 10
  • 11. การค้นพบของ R. Feulgen พ.ศ. 2457 โดย อาร์ ฟอยล์แกน (R. Feulgen) นักเคมีชาวเยอรมัน เป็นผู้พัฒนาสีฟุคซิน (fuchsin) ซึ่งสีย้อมนี้ย้อมติด DNA ให้สีแดง และเมื่อนาไปย้อมเซลล์ พบว่าติด ที่นวเคลียสและรวมตัวหนาแน่นที่ ิ โครโมโซม จึงสรุปว่า DNA อยู่ที่ โครโมโซม 11
  • 12. การค้ น พบว่ า DNA อยู่ ที่ โ ครโมโซม ท าให้ นักวิทยาศาสตร์ เชื่อว่า DNA เป็นสารพันธุกรรมของ สิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ แต่ก็มีนักวิทยาศาสตร์จานวนมาก ในสมั ย นั้ น เชื่ อ ว่ า สารพั น ธุ ก รรมน่ า จะเป็ น โปรตี น เนื่ อ งจากโปรตี น เป็ น สารชี ว โมเลกุ ล ขนาดใหญ่ ประกอบด้วยกรดอะมิโน 20 ชนิด จึงน่าจะมีโปรตีน ชนิดต่างๆ มากพอที่จะควบคุมลักษณะของสิ่งมีชีวิต ได้อย่างครบถ้วน 12
  • 13. การค้นพบของ F. Griffith พ.ศ. 2471 เอฟ กริฟฟิท (F. Griffith) แพทย์ชาวอังกฤษทา การทดลองโดยฉีด แบคทีเรีย (Streptococcus pneumoniae) ที่ ทาให้เกิดโรคปอดบวมเข้าไปในหนู แบคทีเรียที่ฉีดเข้าไปนี้มี 2 สายพันธุ์ คือ สายพันธุ์ที่มผวหยาบ เพราะไม่มีสารห่อหุมเซลล์ ี ิ ้ หรือ แคปซูล(capsule) ไม่ทาให้เกิดโรคปอดบวม เรียกว่าสาย พันธุ์ R (rough) และสายพันธุ์ที่มีผวเรียบ มีสารห่อหุ้มเซลล์ทา ิ ให้เกิดโรคปอดบวมรุนแรงถึงตาย เรียกว่าสายพันธุ์ S (smooth) 13
  • 14.
  • 15. Streptococcus pneumoniae พวกที่ไม่ก่อโรครุนแรง (avirulent) ไม่มีแคบซูลหุ้ม ( R ) พวกที่ก่อโรคอย่างรุนแรง (virulent) มีแคบซูลหุ้ม ( S ) 15
  • 16. Q : เหตุใดเมือนาแบคทีเรียสายพันธุ์ S ที่ทาให้ตายด้วยความ ่ ร้อน ไปผสมกับสายพันธุ์ R ที่มีชีวิตแล้วฉีดให้หนูจึงทาให้หนูตาย A : กริฟฟิท ได้รายงานว่ามีสารบางอย่างจากแบคทีเรียสายพันธุ์ S ที่ทาให้ตายด้วยความร้อนเข้าไปยังสายพันธุ์ R บางเซลล์และ สามารถทาให้แบคทีเรียสายพันธุ์ R เปลี่ยนแปลงสายพันธุ์เป็น สายพันธุ์ S ที่มีชีวิต สายพันธุ์ S เหล่านียังสามารถถ่ายทอด ้ ลักษณะไปสู่รุ่นลูกหลาน อย่างไรก็ตาม กริฟฟิท ก็ไม่สามารถ พิสูจน์ได้ว่าสารนั้นคืออะไร
  • 17. การทดลองของ O.T. Avery และคณะ พ.ศ. 2487 นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกัน 3 คน คือ โอ ที แอเวอ รี่ (O.T. Avery) ซี แมคลอยด์ ( C. MacLeod) และ เอ็ม แมคคาร์ที (M. McCarty) ทาการทดลองต่อจาก กริฟฟิท 17
  • 18. 18
  • 19. จากผลการทดลองของเอเวอรี่และคณะ ปรากฏว่า ส่วนผสมของแบคทีเรียสายพันธุ์ R กับสารสกัดจากสายพันธุ์ S ที่ ทาให้ตายด้วยความร้อน ในภาวะที่มีเอนไซม์ DNase จะไม่พบ แบคทีเรียสายพันธุ์ S ที่เกิดขึ้นใหม่ ส่วนผสมของแบคทีเรียสายพันธุ์ R กับสารสกัดสายพันธุ์ S ใน ภาวะที่มีเอนไซม์ RNase และภาวะที่มีเอนไซม์ โปรตีเอส จะพบ สายพันธุ์ S เกิดขึ้น 19
  • 20. การทดลองนี้จึงแสดงให้เห็นว่า DNA คือสารที่เปลี่ยน พันธุกรรมของแบคทีเรียจากสายพันธุ์ R ให้เป็นสาย พันธุ์ S แอเวอรี่จึงสรุปว่า กรดนิวคลีอิกชนิด DNA เป็น สารพันธุกรรมไม่ใช่โปรตีนดังที่เคยเชื่อกันมาก่อนหน้านี้ 20
  • 21. สรุป ผลการทดลองของกริฟฟิท แอเวอรี่และคณะ เป็นจุดเริ่มต้นที่ นาไปสู่ข้อสรุปที่สาคัญเป็นอย่างมากก็คือ ยีนหรือสารพันธุกรรมซึ่ง ทาหน้าที่ถ่ายทอดลักษณะของสิ่งมีชีวิตไปสูรุ่นต่อๆไปนั้น เป็น ่ สารชีวโมเลกุลขนาดใหญ่มีชื่อว่า DNA และจากการศึกษาของ นักวิทยาศาสตร์ในระยะต่อมาพบว่า DNA มีส่วนทีควบคุม ่ ลักษณะทางพันธุกรรมและส่วนที่ไม่ได้ควบคุมลักษณะทาง พันธุกรรม DNA ส่วนทีควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม เรียกว่า ่ ยีน ดังนั้นหน่วยพันธุกรรมที่เมนเดลเรียกว่าแฟกเตอร์ ก็คือยีนซึ่ง อยู่ที่โครโมโซมนั้นเอง 21
  • 22. Chromosome Q : ยีนกับโครโมโซมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร A : ยีนมีตาแหน่งอยู่บนโครโมโซม (DNA เป็นองค์ประกอบของโครโมโซม และยีนก็เป็นส่วนหนึ่ง ของ DNA ที่ทาหน้าที่กาหนดลักษณะทางพันธุกรรมที่อยู่บน โครโมโซม) 22
  • 23. 23
  • 24. 24
  • 25. รูปร่าง ลักษณะ และจานวนโครโมโซม โดยทั่วไปโครโมโซมมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างได้ตามระยะต่าง ๆ ในวัฏจักรของเซลล์ (cell cycle) โดยโครโมโซมในระยะ อินเตอร์เฟสจะมีลักษณะยืดยาว และเมื่อเซลล์เข้าสู่ระยะการ แบ่งตัว โครโมโซมจะหดตัวสั้นเข้าและหดตัวมากที่สุดในระยะเม ตาเฟส ซึ่งเป็นระยะที่มองเห็นชัดเจนที่สุด เรียกโครโมโซมระยะ นี้ว่า โครโมโซมเมตาเฟส 25
  • 27. ชนิดของโครโมโซม 1. Metacentric chromosome 2. Submetacentric chromosome 3. Acrocentric chromosome 4. Telocentric chromosome 27
  • 28. Metacentric chromosome โครโมโซมทีมีเซนโทรเมียร์ ่ อยูตรงตาแหน่งกึงกลางพอดี ่ ่ ทาให้แขน (arm) ทังสองข้าง ้ ของโครโมโซมมีความยาว เท่ากัน 28
  • 30. Acrocentric chromosome โครโมโซมที่มีเซนโทรเมียร์ อยู่เกือบปลายสุดจึงทาให้ แขนข้างสั้นมีความสั้นมากจน แทบไม่ปรากฏ 30
  • 31. Telocentric chromosome โครโมโซมที่มีเซนโทรเมียร์ อยู่ ตอนปลายสุดของโครโมโซม มี ผลทาให้โครโมโซมมีแขนเพียง ข้างเดียว 31
  • 32. 32
  • 33. โครโมโซมของสิ่งมีชีวิต โครโมโซม แบ่งเป็น 2 ชนิด 1. Autosome : เป็น chromosome ที่ควบคุมลักษณะต่างๆของร่างกาย 2. Sex – chromosome : ควบคุม ,กาหนดเพศ chromosome X , chromosome Y หญิง XX ชาย XY
  • 34. เซลล์ร่างกายของสิ่งมีชีวิตมีรูปร่างลักษณะที่เหมือนกันเป็นคู่ๆ โครโมโซม 2 ชุด เรียกว่า ดิพลอยด์ โครโมโซมแต่ละคู่เรียกว่า Homologous chromosome เช่น คน โครโมโซมชุดหนึ่งได้รับมา จากพ่อ อีกชุดหนึ่งได้รับมาจากแม่ (เมื่อมีการแบ่งเซลล์แบบไม โอซิส) เมื่อเสร็จสิ้นการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส โครโมโซมในเซลล์ลูกที่ เกิดขึ้นจะลดลงครึ่งหนึ่งเรียกว่า แฮพลอยด์ 34
  • 35. จานวนโครโมโซม สิงมีชวต ่ ีิ จานวนchromosome สิงมีชวต ่ ีิ จานวนchromosome มนุษย์ 46 สน 24 ลิงชิมแพน 48 กะหล่าปลี 18 ซี ม้า 64 ถัวลันเตา ่ 14 แมว 38 ฝ้าย 52 หนู 40 มะเขือเทศ 24 ไก่ 78 ยาสูบ 48 กบ 26 ข้าว 24 ผึง ้ 32 กล้วย 22 35
  • 36. Q : สิ่งมีชีวิตที่มีจานวนโครโมโซมเท่ากัน จะมีรูปร่างเหมือนกันหรือไม่อย่างไร A : ไม่จาเป็น 36
  • 37. Q : จานวนโครโมโซมมีความสัมพันธ์กับระดับความซับซ้อนของ สิ่งมีชีวิตหรือไม่ A : จากตารางจะเห็นได้ว่า ไก่มีจานวนโครโมโซมมากกว่าคน แต่ โครงสร้างของคนมีความซับซ้อนมากกว่าไก่ ส่วนแมลงวัน แมลงหวี่ ยุงก้นปล่องและผึ้ง เป็นแมลงเหมือนกันจะมีความ ซับซ้อนของโครงสร้างใกล้เคียงกัน แต่มีจานวนโครโมโซม แตกต่างกัน ดังนั้นจานวนโครโมโซมจึงไม่น่าจะมีความสัมพันธ์ กับระดับความซับซ้อนของสิ่งมีชีวิต
  • 38. ส่วนประกอบของโครโมโซม Q : DNA อยู่ที่ส่วนใดของโครโมโซม และที่โครโมโซมนอกจากมี DNA แล้วยังมีสารอื่นอีกหรือไม่อย่างไร
  • 39.
  • 40.
  • 41. 41
  • 42. 42
  • 43. 43
  • 44. โครโมโซมของยูคาริโอต ประกอบด้วย DNA 1 ใน 3 และอีก 2 ใน 3 เป็นโปรตีน โดยส่วนที่เป็นโปรตีนจะเป็น ฮิสโตน (histone) และนอนฮิสโตน (non-histone) อย่างละประมาณเท่าๆกัน
  • 45. ในปี พ.ศ. 2427 นักวิทยาศาสตร์พบว่าฮิสโตนเป็นโปรตีนที่มี องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นกรดอะมิโนที่มีประจุบวก(basic amino acid) เช่น ไลซีน และอาร์จินีน ทาให้มีสมบัติในการเกาะจับกับ สาย DNA ซึ่งมีประจุลบได้เป็นอย่างดี และทาให้เกิดการสร้าง สมดุลของประจุ (neutralize) ของโครมาทินด้วยสาย DNA พัน รอบกลุ่มโปรตีนฮิสโตนคล้ายเม็ดลูกปัด เรียกโครงสร้างนี้ว่า นิวคลีโอโซม(nucleosome) โดยจะมีฮิสโตนบางชนิดเชื่อมต่อ ระหว่างเม็ดลูกปัดแต่ละเม็ด
  • 46. ส่วนของโปรตีนนอนฮิสโตนนั้นมีมากมายหลายชนิด อาจเป็นร้อย หรือพันชนิด ขึ้นอยู่กับชนิดของสิ่งมีชีวิต โดยโปรตีนเหล่านี้จะมี หน้าที่แตกต่างกันไป บางชนิดมีหน้าที่ช่วยในการขดตัวของ DNA หรือบางชนิดก็เกี่ยวข้องกับ กระบวนการจาลองตัวเองของ DNA (DNA replication) หรือการแสดงออกของยีนเป็นต้น สาหรับในโพรคาริโอต เช่น แบคทีเรีย E. coli มีจานวนโครโมโซม ชุดเดียว เป็นรูปวงแหวนอยู่ในไซโตพลาสซึม ประกอบด้วย DNA 1 โมเลกุล และไม่มีฮิสโตนเป็นองค์ประกอบ
  • 47. สารพันธุกรรมทั้งหมดของสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งๆ เรียกว่า จีโนม (genome) จากการศึกษาพบว่าสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีขนาดของ จีโนมและจานวนยีนแตกต่างกัน
  • 48.
  • 49. องค์ประกอบทางเคมีของ DNA 1. DNA และ RNA มีโครงสร้างและส่วนประกอบอย่างไร 2. DNA ควบคุม ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตได้อย่างไร
  • 50. DNA เป็นกรดนิวคลีอิคชนิดหนึ่ง ซึ่งเป็นพอลิเมอร์(polymer) สาย ยาวประกอบด้วยหน่วยย่อย หรือ มอนอเมอร์(monomer) ที่ เรียกว่านิวคลีโอไทด์ (nucleotide)
  • 51. แต่ละนิวคลีโอไทด์ประกอบด้วย 1. น้าตาลเพนโทส 2. ไนโตรจีนัสเบส(nitrogenous base) 2.1 เบสพิวรีน (purine) 2.2 เบสไพริมิดีน(pyrimidine) 3. หมู่ฟอสเฟต
  • 52. น้าตาลเพนโทส น้าตาลที่มี C 5 อะตอม ( C5H10 O5 ) มี 2 กลุ่ม คือ 1.ribose = ribonucleic acid = RNA 2.deoxyribose = deoxyribonucleic acid (DNA)
  • 53.
  • 54. ไนโตรจีนัสเบส(nitrogenous base) 1. เบสพิวรีน (purine) ประกอบด้วยวงแหวน 2 วง มี 2 ชนิด 1.1 อะดีนีน (adenine หรือ A) 1.2 กวานีน (guanine หรือ G) 2.เบสไพริมีดีน (Pyrimidine) ประกอบด้วย วงแหวน 1 วง มี 3 ชนิด 2.1 ไทมีน (thymine หรือ T) 2.2 ไซโทซีน (cytosine C ) 2.3 ยูราซีล (uracile หรือ U )
  • 55.
  • 56.
  • 58. Nucleotide การประกอบขึ้นเป็นนิวคลีโอไทด์นั้น ทั้งสามส่วนจะประกอบกัน โดยมีน้าตาลเป็นแกนหลัก มีไนโตรจีนัสเบส อยู่ที่คาร์บอน ตาแหน่งที่ 1 และหมู่ฟอสเฟตอยู่ที่คาร์บอนตาแหน่งที่ 5 ดังนั้นจึง สามารถจาแนกนิวคลีโอไทด์ใน DNA ได้ 4 ชนิด ซึ่งจะแตกต่าง กันตามองค์ประกอบที่เป็นเบส ได้แก่ A T C และ G
  • 61.
  • 62. Polynucleotide • เกิดจากการสร้างพันธะโคเวเลนส์ ระหว่างหมู่ฟอสเฟตของนิ วคลีโอไทด์หนึ่งกับหมู่ไฮดรอกซิลที่อยู่ที่คาร์บอนตาแหน่งที่ 3 ของน้าตาลในอีกนิวคลีโอไทด์หนึ่ง • เมื่อหลายๆนิวคลีโอไทด์มาเชื่อมต่อกันเกิดเป็นสายพอลินิวคลี โอไทด์
  • 64.
  • 65. • ปลายสายด้านหนึ่งจะมีหมู่ฟอสเฟตเชื่อมอยู่กับน้าตาลดีออกซีไร โบสที่คาร์บอนตาแหน่งที่ 5 เรียกปลายด้านนี้ว่าเป็นปลาย 5/ (อ่านว่า 5 ไพร์ม) • ปลายด้านหนึ่งจะมีหมู่ไฮดรอกซิลที่คาร์บอนตาแหน่งที่ 3 ที่เป็น อิสระ เรียกปลายด้านนี้ของสาย DNA ว่าปลาย 3/ ( อ่านว่า 3 ไพร์ม)
  • 66.
  • 67.
  • 69. กฎของชาร์กาฟฟ์ (Chargaff’s rules) ชาร์กาฟฟ์ ได้ศึกษาหาปริมาณของเบสทั้ง 4 ใน DNA ที่ทาให้บริสุทธิ์ จากเนื้อเยื่อที่ต่างกัน และจากสิ่งที่มีชีวิตต่างกันพบว่า : ในโมเลกุลของ DNA เบสอะดีนีน (A) มีปริมาณเท่ากับเบสไธมีน (T) หรือ A=T เบสไซโตซีน (C) มีปริมาณเท่ากับเบสกวานีน (G) หรือ C = G
  • 70. จากการศึกษานี้แสดงว่าปริมาณทั้งหมดของเบสเพียวรีน (A+G) เท่ากับปริมาณทั้งหมดของเบสไพริมิดีน (T+C) องค์ประกอบเบสใน DNA จากสิ่งที่มีชีวิตชนิดหนึ่งจะเป็น คุณสมบัติของสิ่งที่มีชีวิตชนิดนั้นๆ ซึ่งไม่ขึ้นกับชนิดของ เนื้อเยื่อที่แยก DNA ออกมา และไม่ขึ้นกับอายุ อาหารและ สภาวะแวดล้อม องค์ประกอบเบสใน DNA จะเปลี่ยนแปลงไประหว่างสิ่งที่ มีชีวิตที่ต่างกัน
  • 71.
  • 72. โครงสร้างของ DNA Q : โมเลกุลของ DNA มีโครงสร้างเป็นอย่างไร
  • 73. การค้นพบของ โรซาลินด์ แฟรงคลิน โรซาลินด์ แฟรงคลิน (Rosalind Franklin)
  • 74. ปี พ.ศ. 2493-2494 เอ็ม เอช เอฟ วิลคินส์ (M. H.F. Wilkins) และ โรซาลินด์ แฟรงคลิน (Rosalind Franklin) นักฟิสกส์ชาวอังกฤษ ิ ได้ศึกษาโครงสร้างของ DNA ในสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ โดยใช้ เทคนิคเอกซ์เรย์ดิฟแฟรกชัน (X-ray diffraction) โดยการฉายรังสี เอกซ์ผ่านผลึก DNA การหักเหของรังสีเอกซ์ทาให้เกิดภาพบน แผ่นฟิล์ม
  • 75.
  • 76. จากภาพถ่ายนี้นักฟิสิกส์แปลผลได้ว่าโครงสร้างของ DNA จาก สิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ มีลักษณะที่คล้ายกันมาก คือประกอบด้วยพอ ลินิวคลีโอไทด์มากกว่า 1 สาย มีลักษณะเป็นเกลียว เกลียวแต่ละ รอบมีระยะห่างเท่าๆกัน จากผลการศึกษาทาให้เข้าใจโครงสร้าง ทางกายภาพของ DNA
  • 77. การค้นพบของ วัตสัน ~ คลิก Dr. James Watson Dr. Francis Crick
  • 78.
  • 79. แบบจาลองโครงสร้างของ DNA J.D. Watson นักชีววิทยาอเมริกัน & F.H.C. Crick นักฟิสิกส์ อังกฤษ เสนอโครงสร้างของ DNA ได้รับ Nobel Prize ตีพิมพ์ ผลงานใน Nature ฉบับวันที่ 25 เดือนเมษายน ค.ศ. 1953 1. ประกอบด้วย 2 polynucleotides ยึดกันโดยการจับคู่กันของ เบส โดย H-bond 2. ทั้ง 2 สายขนานกันและมีติดทางตรงข้าม (antiparallel)
  • 80. 3. การจับคู่กันของเบสระหว่าง A - T (2 H-bonds), C - G (3 H- bonds) = complementary basepairs (เบสที่เป็นเบสคู่สมกัน คือ A จับคูกับ T ด้วยพันธะไฮโดรเจน 2 พันธะ และGจับคู่กับ ่ C ด้วยพันธะไฮโดรเจน 3 พันธะ) 4. ทั้ง 2 สายจะพันกันเป็นเกลียวเวียนขวา (right handed double strand helix) 5. แต่ละคูเบสห่างกัน 3.4 อังสตรอม (.34 nm) เอียงทามุม 36 ่ องศา 1 รอบ = 10 คู่เบส = 34 อังสตรอม เส้นผ่าศูนย์กลาง 20 อังสตรอม
  • 81.
  • 82.
  • 83.
  • 84.
  • 85. แม้ว่า DNA จะมีนิวคลีโอไทด์เพียง 4 ชนิด แต่โมเลกุลของ DNA มีความแตกต่างกันได้หลายชนิด แต่ละโมเลกุลอาจประกอบด้วย นิวคลีโอไทด์หลายพันคู่จนถึงแสนคู่ ตัวอย่างเช่นถ้า DNA ประกอบด้วยนิวคลีโอไทด์ 2 โมเลกุลเรียงกัน จะสามารถจัดเรียง ให้แตกต่างกันได้ 16 แบบ (42) ดังนั้นถ้าโมเลกุล DNA ประกอบด้วยนิวคลีไทด์จานวนมาก การเรียงลาดับของเบสก็จะ แตกต่างกันมากด้วยเช่นเดียวกัน
  • 86. ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งๆ มีหลายลักษณะ และลาดับเบสของ DNA ซึ่งเกิดจากเบสชนิดต่างๆ กันนั้นมี หลายรูปแบบก็น่าจะมากพอที่จะทาหน้าที่ควบคุมหรือกาหนด ลักษณะพันธุกรรมต่างๆได้
  • 87. สมบัติของสารพันธุกรรม เมื่อวัตสันและคลิก ได้คิดแบบจาลองโครงสร้างทางเคมีของ DNA ขึ้น มาแล้ว เขาทั้งคู่ต้องพิสูจน์ว่า DNA มีคุณสมบัติที่เหมาะสมที่เป็นสาร พันธุกรรมได้หรือไม่ ตามคุณสมบัติสาคัญ ดังนี้ 1. สารพันธุกรรมต้องจาลองตัวเองได้ แล้วยังมีลักษณะเหมือนเดิม เพื่อจะ ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม จากรุ่นพ่อ-แม่ ไปยังรุ่นลูกได้ ซึ่งเกิด โดยกระบวนการสังเคราะห์ DNA (DNA -replication)
  • 88. 2. สามารถควบคุมการสังเคราะห์สารต่างๆ ของเซลล์เพื่อจะได้แสดง ลักษณะทางพันธุกรรม ต่างๆให้ปรากฏ โดยรหัสพันธุกรรมใน DNA ถูก ถ่ายทอดผ่าน RNA ในรูปของลาดับเบส แล้วแปล (translation) ออกมา เป็นลาดับของกรดอะมิโนในในกระบวนการสังเคราะห์โปรตีน 3. อาจมีการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางพันธุกรรมที่ต่างไปจากเดิม เนื่องจาก เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ลาดับเบสใน DNA ทาให้ผิดปกติไป และถ่ายทอด ลักษณะที่ผิดปกติไปยังลูกหลาน ทาให้เกิดสิ่งมีชีวิตที่ผิดปกติขึ้นได้ ใน ระยะเวลา 10 ปีต่อมา หลังจากที่วัตสันและคลิกได้คิดแบบจาลอง โครงสร้างของ DNA ขึ้น จึงสามารถพิสูจน์ได้ว่า DNA มีคุณสมบัติที่เป็น สารพันธุกรรมได้
  • 89. สิบปีหลังจากวัตสันและคลิกเสนอแบบโครงสร้าง DNA จึง สามารถพิสูจน์ได้ว่า DNA มีสมบัติเป็นสารพันธุกรรม ทาให้วัต สันและคลิกได้รับรางวัลโนเบลในปีพ.ศ.2505 DNA มีสมบัติของสารพันธุกรรมครบทั้ง 3 ประการ ดังนี้ การสังเคราะห์ DNA (DNA -replication) การควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม การสังเคราะห์โปรตีน
  • 90. การสังเคราะห์ DNA • DNA replication • ในปี พ.ศ. 2496 วอตสันและคลิกได้พิมพ์บทความพยากรณ์การ จาลองตัวเองของ DNA • แต่เป็นเพียงสมมติฐาน • มีใจความว่า
  • 91. ในการจาลองตัวเองของ DNA พอลินิวคลีโอไทด์ 2 สาย แยกออกจากกันเหมือนการรูดซิป โดยการสลายพันธะไฮโดรเจนระหว่างเบส A กับ T และเบส C กับ G ทีละคู่ พอลินิวคลีโอไทด์แต่ละสายทาหน้าที่เป็นแม่พิมพ์สาหรับการ สร้างสายใหม่
  • 92. มีการนานิวคลีโอไทด์อิสระที่อยู่ในเซลล์เข้ามาจับกับพอลินิวคลีโอ ไทด์สายเดิม โดย เบส A จับกับ T และเบส C จับกับ G หมู่ฟอสเฟตของนิวคลีโอไทด์อิสระจับกับน้าตาลดีออกซีไร โบสของนิวคลีโอไทด์ที่อยู่ถัดไป
  • 93. ทาให้ DNA ที่สังเคราะห์ใหม่เหมือนกับ DNA โมเลกุลเดิม ทุกประการ การสังเคราะห์ DNA หรือการจาลองตัวเองของ DNA โดย วิธีการนี้เรียกว่า DNA เรพลิเคชัน (DNA replication) ทาให้มีการ เพิ่มโมเลกุลของ DNA จาก 1 โมเลกุลเป็น 2 โมเลกุล DNA แต่ละโมเลกุลมีพอลินิวคลีโอไทด์ สายเดิม 1 สาย และ สายใหม่ 1 สาย จึงเรียกวิธีการจาลองแบบนี้ว่าเป็น แบบกึ่ง อนุรักษ์ (semiconservative)
  • 94.
  • 95.
  • 96.
  • 97. ในปี พ.ศ. 2499 อาร์เธอร์ คอร์นเบิร์ก (Arther Kornberg) นักชีวเคมีชาวอเมริกันเป็นคนแรกที่สามารถสังเคราะห์ DNA ใน หลอดทดลองได้สาเร็จโดย : นาเอาเอนไซม์ DNA พอลิเมอเรส (DNA polymerase) ซึ่งสกัดจากแบคทีเรีย E. coli เอนไซม์ DNA พอลิเมอเรส ทาหน้าที่เชื่อมนิวคลีโอไทด์ให้ต่อกัน เป็นสายยาว โดยมีทิศทางการสังเคราะห์สาย DNA สายใหม่ จาก ปลาย 5/ ไปยังปลาย 3 / ใส่ในหลอดทดลองที่มีสารสังเคราะห์สมบูรณ์ ซึ่ง ประกอบด้วย
  • 98. DNA แม่พิมพ์ นิวคลีโอไทด์ 4 ชนิด ที่มีเบส A T C และเบส G เอนไซม์ DNA พอลิเมอเรส ปัญหา : จะพิสูจน์อย่างไรว่า DNA ที่สังเคราะห์ได้นั้น เหมือนกับ DNA แม่พิมพ์ที่ใส่ในหลอดทดลอง
  • 99. ปริมาณใน DNA ที่ได้ อัตราส่วน อัตาส่วน สิ่งมีชีวิตที่นา DNA มาเป็น ของ ในDNAที่ ของ ใน DNA ที่ แม่พมพ์ ิ A T C G สังเคราะห์ได้ เป็นแม่พมพ์ ิ แบคทีเรีย Micrococcus 0.15 0.15 0.35 0.35 0.41 0.39 lysodelikicus แบคทีเรีย Aerobacter 0.22 0.22 0.28 0.28 0.80 0.82 aerogenes แบคทีเรีย Escherichai coli 0.25 0.25 0.25 0.28 1.00 0.97 วัว (เซลล์จากต่อมไทมัส) 0.29 0.28 0.21 0.22 1.32 1.35 ไวรัส (phageT) 0.32 0.32 0.18 0.18 1.78 1.84
  • 100. • ข้อสรุป เนื่องจาก จากผลการทดลองพบว่า DNA ที่สังเคราะห์ ได้ในหลอดทดลอง มีอัตราส่วนของเบส A+T ต่อ C+G เท่ากัน
  • 101. ขั้นตอนการสังเคราะห์ DNA • การสังเคราะห์ DNA ทั้งภายในและภายนอกเซลล์ • เริ่มต้นจากการที่สายพอลินิวคลีโอไทด์ 2 สาย ของ DNA ต้นแบบ แยกห่างออกจากกัน โดยเริ่มจากเอนไซม์ DNA ไจเรส (DNA gyrase) หรือโทโปไอโซเมอเรส (topoisomerase) คลายปมเหนือ จุดทีDNAสายเดี่ยวแยกตัวออกจากกัน (replication fork) ่
  • 102. • เอนไซม์เฮลิเคส (Helicase) ทาหน้าที่สลายพันธะไฮโดรเจนเพื่อ ทาให้ดีเอ็นเอเกลียวคู่แยกเป็นสายเดี่ยว • โปรตีน SSB จะเข้ามาจับเพื่อป้องกันไม่ให้สายดีเอ็นเอมาจับกัน อีก บริเวณที่มีการคลายเกลียวนี้เป็นจุดเริ่มต้นของการสังเคราะห์ DNA • การสร้าง DNA สายใหม่ มี 2 ลักษณะ
  • 103. 1. เมื่อสองสายคลายเกลียวแยกออกจากกัน DNA polymeras จะ สังเคราะห์ leading strand เป็นสายยาว โดยมีทิศทางจากปลาย 5’ ไปยัง 3’ 2. DNA polymeras สังเคราะห์ DNA สายใหม่เป็นสายสั้นๆ Okazaki fragment โดยมีทิศทาง 5’ ไปยัง 3’ จากนั้น DNA ligaseจะเชื่อมต่อ DNA สายสั้นๆให้เป็น DNA สายยาว เรียกสายนี้ว่า lagging strand
  • 104.
  • 105.
  • 106.
  • 107. การสังเคราะห์โปรตีน กลับสู่ความรู้พื้นฐาน • สิ่งมีชีวิตพวกยูคาริโอตมี DNA อยู่ภายในนิวเคลียส แต่การ สังเคราะห์โปรตีนเกิดในไซโทพลาสซึม โดยเฉพาะบริเวณที่มี RER • เป็นไปได้หรือไม่ว่า DNA ส่งตัวแทนออกมายังไซโทพลาสซึม เพื่อทาหน้าที่ควบคุมการสังเคราะห์โปรตีน ถ้าเป็นเช่นนั้นจริงสาร ที่เป็นตัวแทนของ DNA คืออะไร .....
  • 108. • นักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศส 2 คน คือ ฟรองซัว จาค็อป (Franeois Jacop) และจาค โมนอด (Jacques Monod) มีข้อเสนอ ว่า RNA เป็นตัวกลางดังกล่าว • เจราร์ด เฮอร์วิทซ์ (Jerard Hurwitz) และ เจ เจ เฟอร์ธ (J.J. Furth) เสนอว่า RNA ที่เป็นตัวกลางเรียกว่า mRNA (messenger RNA) และพยากรณ์ว่า mRNA จะเป็นตัวนาข้อมูลทางพันธุกรรมจาก DNA ไปยังไรโบโซม ซึ่งเป็นแหล่งสังเคราะห์โปรตีนทีอยู่ในไซ ่ โทพลาสซึม
  • 109.
  • 110. ความรู้พื้นฐาน (ในปัจจุบัน) • Nucleic acid (สารเคมีพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต) มี 2 ประเภท – DNA – RNA • mRNA • rRNA • tRNA
  • 111. RNA • นิวคลีโอไทด์ของ RNA เรียกว่า ไรโบนิวคลีโอไทด์ • ความแตกต่างระหว่าง DNA กับ RNA มี 3 ประการ – น้าตาลในนิวคลีโอไทด์ของ RNA เป็นน้าตาลไรโบส ไม่ใช้ดีออกซิไร โบส เหมือน DNA – RNA ไม่มีเบส T แต่มี U แทน – RNA มีสายเดียว
  • 112. ขั้นตอนการสังเคราะห์โปรตีน DNA replication : การจาลอง DNA DNA transcription : การถอดรหัส mRNA translation : การแปลรหัส protein
  • 113.
  • 114.
  • 115.
  • 116. Transcription • การถอดรหัส หรือ การสังเคราะห์ RNA จาก DNA แม่พิมพ์ • เป็นกระบวนการถ่ายทอดข้อความทางพันธุกรรมจาก DNA ไปสู่ mRNA
  • 117. ขั้นตอนการถอดรหัส • แบ่งเป็น 3 ขั้น ขั้นเริ่มต้น ขั้นการต่อสายยาว ขั้นสิ้นสุด
  • 118. ขั้นเริ่มต้น • เอนไซม์ RNA polymerase เข้าไปจับกับกับ DNA ตรงบริเวณที่ จะสังเคราะห์ RNA ทาให้พันธะระหว่างคูเบสสลาย ่ Polynucleotide 2 สาย ของ DNA จะคลายเกลียวแยกออกจาก กัน โดยมีสายใดสายหนึ่งเป็นแม่พิมพ์
  • 119.
  • 120. ขั้นการต่อสายยาว • ไรโบนิวคลีโอไทด์ (Ribonucleotide) ที่มีเบสที่เข้าคู่กับนิวคลีโอ ไทด์ของ DNA สายแม่พิมพ์ คือ เบส C เข้าคู่กับเบส G และเบส U เข้าคู่ A จะเข้ามาจับกับนิวคลีโอไทด์ของ DNA สายแม่พิมพ์ • เอนไซม์ RNApolymerase จะเชื่อมไรโบนิวคลีโอไทด์ อิสระมา ต่อกันเป็นสายยาว โดยมีทิศทางการสังเคราะห์สาย RNA จาก ปลาย 5' ไปยังปลาย 3' และการสร้างสาย RNA นั้น จะเรียงสลับ ทิศทางกับสาย DNA ที่เป็นแม่พิมพ์
  • 121.
  • 122. ขั้นสิ้นสุด • เอนไซม์ RNApolymerase หยุดทางานและแยกตัวออกจาก DNA สายแม่พิมพ์ • สาย RNA ที่สังเคราะห์ได้จะแยกออกจาก DNA ไปยังไซโทพลา ซึม ส่วน DNA 2 สายจะจับคู่กันและบิดเป็นเกลียวเหมือนเดิม • RNA ที่ได้มีชื่อเรียกว่า mRNA
  • 123.
  • 125. Q : ในการสังเคราะห์ RNA โดยใช้ DNA สายหนึ่งเป็นแม่พิมพ์ มี ลาดับเบสดังนี้ 3' T A C G G C A T A T C G A 5' จงเขียน ลาดับเบสของ RNA ที่สังเคราะห์โดยเริ่มจากปลาย 5' ไปยัง ปลาย 3' A :
  • 127. รหัสพันธุกรรม Q : รหัสพันธุกรรมคืออะไร ? • จากที่กล่าวมาแล้วว่า DNA เป็นแม่พิมพ์ในการสังเคราะห์ mRNA ดังนั้นข้อมูลทางพันธุกรรมใน DNA จะถ่ายทอดให้กับ mRNA การเรียงลาดับของนิวคลีโอไทด์ชนิดต่าง ๆ ของ mRNA จึงเป็น ตัวกาหนดกการเรียงลาดับของกรดอะมิโนเพื่อสังเคราะห์โปรตีน
  • 128. • เนื่องจากกรดอะมิโนที่เป็นหน่วยย่อยของโปรตีนมีถึง 20 ชนิด แต่ เบสที่เป็นองค์ประกอบของ DNA มีเพียง 4 ชนิด กรณีที่ 1 : ถ้าเบส 1 โมเลกุลเป็นรหัสของกรดอะมิโนแต่ ละชนิด จะเป็นรหัสได้ 4 แบบ คือ A C G T กรณีที่ 2 : ถ้าเบส 2 โมเลกุลเป็นรหัสของกรดอะมิโนแต่ ละชนิด จะเป็นรหัสได้ 16 แบบ คือ กรณีที่ 3 : ถ้าเบส 3 โมเลกุลเป็นรหัสของกรดอะมิโนแต่ ละชนิด จะเป็นรหัสได้ 64 แบบ
  • 129.
  • 130. เบรนเนอร์ (Brenner) และคริก (Crick) ได้ให้ความเห็นไว้ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2504 ว่ากรดอะมิโนแต่ละหน่วยถูกควบคุมด้วยรหัส พันธุกรรมที่ประกอบด้วยเบส 3 โมเลกุล (triple code) เรียกรหัสที่ประกอบด้วยเบส 3 โมเลกุลนี้ว่า Codon ด้วยเหตุนี้เองการค้นคว้าทางชีวเคมีในระยะนั้นจึงมุ่งหาว่า กรดอะมิโนชนิดใดควบคุมด้วยรหัสพันธุกรรมแบบใดบ้าง
  • 131. พ.ศ. 2504 เอ็ม. ดับบลิว. ไนเรนเบิร์ก (M.W. Nirenberg) และ เจ.เอ็ซ. แมททัย (J.H. Matthei) ชาวอเมริกัน ได้ค้นพบรหัส พันธุกรรมรหัสแรก คือ UUU ซึ่งเป็นรหัสของกรดอะมิโนชนิด ฟี นิลอะลานีน (phenylalanine) ต่อมามีการค้นพบเพิ่มเติมขึ้นเรื่อย ๆ จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2509 พบรหัสพันธุกรรมถึง 61 รหัสด้วยกัน
  • 132. เหลือเพียง 3 รหัส คือ UAA,UAG และUGA ซึ่งไม่พบว่า เป็นรหัสของกรดอะมิโนใด ๆ แต่ภายหลังจึงพบว่า รหัสทั้งสาม นี่ทาหน้าที่หยุดการสังเคราะห์โปรตีน และพบว่า AUG ซึ่งเป็นรหัสของกรดอะมิโนเมไทโอนีน (methionine) เป็นรหัสตั้งต้นของการสังเคราะห์โปรตีนอีกด้วย เมื่อพบรหัสเหล่านี้การสังเคราะห์โปรตีนจะสิ้นสุดลง
  • 133.
  • 134. Q : รหัสพันธุกรรม (genetic code) คืออะไร ? A : ลาดับเบสใน mRNA ถูกไหม?
  • 135. รู้จัก RNA เพิ่มเติม เมสเซนเจอร์ RNA (mRNA) เป็นตัวถ่ายทอดข้อมูลทางพันธุกรรม จาก DNA ออกมาเป็น โปรตีน เมื่อเซลล์ ต้องการสร้างโปรตีนขึ้นมาใช้งาน เซลล์จะ คัดลอก gene สาหรับสร้างโปรตีนนั้นออกมาเป็น mRNA ดังนั้น mRNA จึงเกิดขึ้นในนิวเคลียส เมื่อมี mRNA แล้ว จะมี กระบวนการขนส่ง mRNA ออกจากนิวเคลียสสู่ไซโทพลาซึม ซึ่ง เป็นที่สาหรับการสังเคราะห์โปรตีน พบประมาณร้อยละ 4 ของ RNA ในเซลล์
  • 136. ทรานสเฟอร์ RNA (tRNA) tRNA จะมีกรดอะมิโนมาเกาะอยู่ ทาหน้าที่นากรดอะมิโนมา เรียงร้อยต่อกันเป็น โปรตีน ชนิดของกรดอะมิโนที่จะนามาต่อนี้ ถูกกาหนดโดยรหัสพันธุกรรมบน mRNA ส่วน tRNA มีตัวช่วย อ่านรหัสเรียกว่า anticodon
  • 137.
  • 138. ไรโบโซมอล RNA (rRNA) เป็น RNA ที่เป็นองค์ประกอบของไรโบโซม คิดเป็นร้อยละ 85 ของ RNA ที่พบในเซลล์ ประกอบด้วยหน่วยย่อย 2 หน่วย มีลักษณะเป็นเม็ดกลมรี ขนาดใหญ่ 1 หน่วยและขนาดเล็ก 1 หน่วย แต่ละหน่วยมี RNA เป็นองค์ประกอบรวมอยู่กับโปรตีนขนาดต่าง ๆ กันจานวนมาก ในสิ่งมีชีวิตชันสูงพบ rRNA อยู่ 4 ขนาดคือ 28S, 18S, 5.8S ้ และ 5S rRNA ทาหน้าที่ในการสังเคราะห์โปรตีน
  • 139. Translation • การแปลรหัส หรือ การสังเคราะห์โปรตีนที่ไรโบโซม • การสังเคราะห์โปรตีนเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นในไซโทพลาสซึม ของเซลล์ โดยมีออร์แกเนลล์ที่เกี่ยวข้อง คือ ไรโบโซม • เมื่อ DNA ภายในนิวเคลียสสังเคราะห์ mRNA ลาดับเบสของ mRNA จะกลายเป็นรหัสพันธุกรรม
  • 140. • mRNA จะถูกส่งออกมาที่ไซโทพลาสซึม และเกิดขั้นตอนการ แปลรหัส ดังนี้
  • 141. ขั้นเริ่มต้น • ไรโบโซมหน่วยย่อยขนาดเล็กเข้าจับกับ MRNA • tRNA ที่มีรหัส (anticodon) ตรงกับรหัสเริ่มต้น (AUG) ของ mRNA นากรดอะมิโนตัวแรกเข้าจับกับสาย mRNA ที่รหัสเริ่มต้น • ไรโบโซมหน่วยย่อยขนาดใหญ่เข้าประกบกับขนาดเล็ก • ขั้นตอนนี้เกิดขึ้นที่ P site ของไรโบโซม
  • 142.
  • 143. ขั้นการต่อสายยาว • tRNA โมเลกุลที่สอง ที่มี anticodon เข้าคู่กับ codon ถัดไปของ mRNA นากรดอะมิโนตัวที่สองมาต่อกับกรดอะมิโนตัวแรก ที่ ตาแหน่ง A site แล้วสร้างพันธะเพปไทด์เชื่อมระหว่างกรดทั้งสอง ตัว • ไรโบโซมจะเคลื่อนที่ไปยัง codon ถัดไปในทิศทางจาก 5’ ไปยัง 3’ ทาให้โมเลกุลแรกหลุดออกไป
  • 144. • tRNA โมเลกุลที่สาม ที่มี anticodon เข้าคู่กับ codon ถัดไปของ mRNA นากรดอะมิโนตัวที่สามมาต่อกับกรดอะมิโนตัวที่สอง ที่ ตาแหน่ง A site แล้วสร้างพันธะเพปไทด์เชื่อมระหว่างกรดทั้งสอง ตัวอีกครั้ง • ไรโบโซมเคลือนที่ต่อไปทีละ codon ตามลาดับ จนได้สายยาว ่ เรียกว่า Polypeptide
  • 145.
  • 146. ขั้นสิ้นสุด • เมื่อไรโบโซมเคลื่อนที่ต่อไปบน mRNA จนพบกับ codon ที่เป็น รหัสหยุด จะทาให้ไม่มี tRNA เข้ามาจับกับรหัสหยุดดังกล่าว เกิดการหยุดการแปลรหัส • Polypeptide ที่ยึดติดกับ tRNA ตัวสุดท้ายจะถูกตัดออกไปและ แยกออกจากกัน • ไรโบโซมหน่วยย่อยขนาดเล็กแยกออกจากขนาดใหญ่ และ mRNA หลุดออกจากไรโบโซม
  • 147.
  • 148. • Eukaryote – กระบวนการถอดรหัสเกิดในนิวเคลียส ได้ mRNA จากนั้น mRNA จะ ออกมายังไซโทพลาสซึมแล้วจึงเกิดการแปลรหัส • Prokaryote – กระบวนการถอดรหัสและแปลรหัสสามารถเกิดต่อเนื่องกัน โดย mRNA จะถูกนาไปแปลรหัสได้ทันที ทั้งที่กระบวนการถอดรหัสยังไม่ สิ้นสุด
  • 149. Polyribosome • ในการสังเคราะห์โปรตีน mRNA แต่ละโมเลกุลอาจจะพาดเกาะอยู่ บนไรโบโซมหลาย ๆ ไรโบโซม แต่ละไรโบโซมจะทาการ สังเคราะห์สายพอลิเพปไทด์ 1 สาย กลุ่มของไรโบโซมเหล่านี้ เรียกว่า พอลิไรโบโซม (polyribosome)
  • 150. Q : โปรตีนที่สังเคราะห์ได้ร่างกายนาไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไร A : สายพอลิเพปไทด์ที่สังเคราะห์ได้หลังจากการแปลรหัสสิ้นสุดจะมี การเปลี่ยนแปลงบางอย่าง ทาให้มีรูปร่างและการเข้าจับกับพอลิ เพปไทด์ต่าง ๆ เพื่อให้ได้โปรตีนที่มีความเหมาะสมและพร้อมจะ ทางานได้ บทบาทและหน้าที่ของโปรตีนเป็นไปอย่างหลากหลาย เช่น
  • 151. 1. ทาหน้าที่เป็นองค์ประกอบของโครงสร้าง เช่น คอลลาเจน และเคอราทินในสัตว์ โปรตีนที่ผนังเซลล์พืช และโปรตีนที่เป็น องค์ประกอบของไรโบโซม 2. ทาหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหว เช่น แอกทินและไมโอซินใน กล้ามเนื้อของคน ทูบูลินซึ่งมีบทบาทในการเคลื่อนไหวของซิเลีย หรือแฟลกเจลลาในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
  • 152. 3. ทาหน้าที่ในระบบคุ้มกัน เช่น อิมมูโนโกลบูลิน (immunoglobulin) ในสัตว์ ซิสเทมิน (systemin) และโปรติเนสอิน ฮิบิเตอร์ (protenase inhibitor) ในพืชเป็นต้น 4. ควบคุมปฏิกิริยาต่าง ๆ ในสิ่งมีชีวิต เช่น เอนไซม์ใน กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง และเอนไซม์ในกระบวนการสลาย สารอาหารเป็นต้น 5. ทาหน้าที่ในการติดต่อสื่อสารระหว่างเซลล์ชนิดต่าง ๆ เช่น ฮอร์โมนต่าง ๆ
  • 154.
  • 155.
  • 156.
  • 157. Mutation ความหมาย : การเปลี่ยนแปลงของยีนหรือโครโมโซม ที่ส่งผลให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงลักษณะของสิ่งมีชีวิต ทาให้แตกต่างไปจากเดิม
  • 158. ปัจจัยที่ทาให้เกิดการกลายพันธุ์ • รังสี (radiation) รังสีที่กระตุ้นให้เกิดมิวเทชันมี 2 ชนิดคือ – Ionizing Radiation เช่น รังสีบีต้า, รังสีแกมมา, รังสีเอกซ์ – Non-Ionizing Radiation เช่น รังสีอุลตร้าไวโอเลต • การจัดเรียงเบสในกระบวนการสังเคราะห์ดีเอ็นเอ(DNA replication)ผิดพลาด มีผลทาให้เกิดการเพิ่มหรือลดจานวนเบส ในคู่สาย และทาให้เกิดการเลื่อน (shift) ของสายDNA
  • 159. • สารเคมี เช่น สารโคลซิซิน (colchicine) มีผลทาให้มีการเพิ่ม จานวนชุดของโครโมโซม ผลดังกล่าวนี้ทาให้ผลผลิตพืชเพิ่มขึ้น สารไดคลอวอส (dichlovos) ที่ใช้กาจัดแมลงและพาราควอต (paraquat) ที่ใช้กาจัดวัชพืช ก็สามารถทาให้เกิดการผิดปกติของ โครโมโซมในคนและสัตว์ได้ สิ่งก่อกลายพันธุ์หรือมิวทาเจนหลาย ชนิดเป็นสารก่อมะเร็ง (carcinogen) เช่น สารอะฟลาทอกซิน (aflatoxins) จากเชื้อราบางชนิดทาให้เกิดมะเร็งที่ตับ เป็นต้น
  • 160. ประเภทของการกลายพันธุ์ • เซลล์ร่างกาย (Somatic cell) เซลล์ชนิดนี้เมื่อเกิดมิวเทชันแล้ว จะ ไม่ถ่ายทอดไปยังรุ่นต่อไป • เซลล์สืบพันธุ์ (Sex cell) เซลล์เหล่านีเมื่อเกิดมิวเทชันแล้ว จะ ้ ถ่ายทอดไปยังรุ่นต่อไปได้ ซึ่งมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสปีชีส์ของ สิ่งมีชีวิตมากที่สุด และส่งผลต่อวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตด้วย
  • 161. ระดับของการกลายพันธุ์ 1. Gene (point mutation) 2. Chromosome • การแทนที่คู่เบส • การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างภายใน – Transversion – inversion – translocation – Transition – deletion Missense – Duplication Nonsense • การเปลี่ยนแปลงจานวนโครโมโซม • การเพิ่มหรือลดนิวคลีโอไทด์ – aneuploidy (frame shift mutation) – euploidy
  • 162. Gene (point mutation) • การแทนที่คู่เบส – Transversion – Transition Missense Nonsense • การเพิ่มหรือลดนิวคลีโอไทด์ (frame shift mutation)
  • 163. การแทนที่คู่เบส – Transition คือ แทนทีระหว่าง base กลุ่มเดียวกัน ่ • purine to purine (A --> G) หรือ • pyrimidine to pyrimidine (T--> C) – Transversion คือ แทนทีระหว่าง base ต่างกลุ่ม ่ • purine to pyrimidine (A --> T) • pyrimidine to purine (G --> C)
  • 164. ตัวอย่าง sickle cell anemia ซึ่งมีลักษณะอาการของโรคปรากฏที่เม็ดเลือด แดงที่จะบิดเบี้ยวคล้ายรูปเคียว
  • 165.
  • 166. • Missense – เป็น Point mutation 1 base แล้วเป็นผลให้เปลี่ยน codon --> เปลี่ยน amino acid – ส่วนมากเกิดกับ ตาแหน่งที่ 2 หรือ 3 ของ codon – ทาให้เปลี่ยนเป็น mutant phenotype ขึ้นกับ amino acid sequence • Nonsense – Point mutation ที่เปลี่ยน codon ปกติให้เป็น stop codon – ผลเปลี่ยนเป็น mutant phenotype
  • 169. Frame shift mutation Frame shift mutation เพิ่ม หรือ ลด ส่งผลให้สาย polynucleotide สั้นลงหรือยาวขึ้น หรือไม่ทางาน (nonfunctional)
  • 170.
  • 172. Chromosome • การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างภายใน – inversion – translocation – deletion – Duplication • การเปลี่ยนแปลงจานวนโครโมโซม – aneuploidy – euploidy
  • 177. Cri du chat Syndrome
  • 180. aneuploidy Normal Abnormal
  • 182. Trisomy 18 –Edward syndrome 45 XO-Turner syndrome
  • 183. trisomy 13 or Patau syndrome
  • 184. euploidy Normal 2n Abnormal 3n
  • 186.
  • 187. A. Bread wheat (Triticum aestivum) B. Rye (Secale cereale) C. Triticale (Triticosecale).
  • 189.
  • 191.
  • 192.