SlideShare a Scribd company logo
1 of 71
Download to read offline
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวตคนละชนิดทีอาศัยอยู่
                            ิ          ่
  ร่วมกัน แบ่งเป็น
  +=       การได้ประโยชน์
  - =      การเสียประโยชน์
  0=       การไม่ได้และไม่เสียประโยชน์
1. ภาวะปรสิต(Parasitism)ใช้สัญลักษณ์ + / -

                     ปรสิต      ผูให้อาศัย
                                  ้
                  (Parasite)    (Host)
 ถ้าอยู่ร่วมกัน       +           _
 ถ้าแยกกัน            _            0
อาศัยอยู่กับ Host ได้ 2 ลักษณะ
1. ปรสิตภายนอก(Ectoparasite) ได้แก่
   กาฝาก ฝอยทอง เหา หมัด โลน
   เป็นต้น
2. ปรสิตภายใน(Endoparasite) ได้แก่
   แบคทีเรีย ไวรัส พยาธิต่างๆ
ตัวอย่างภาวะปรสิต
1.พยาธิในท้องมนุษย์
2.กาฝากบนต้นมะม่วง
3.หมัดบนตัวสุนัข
4.ไวรัสเอดส์กับมนุษย์
กาฝาก
กาฝาก
ฝอยทอง
พยาธิ
2.การล่าเหยื่อ (Predation) ใช้สัญลักษณ์ + / -


                  ผูลาหรือตัวห้า
                    ้่                เหยื่อ
                 (Predator)         (Prey)
ถ้าอยู่ร่วมกัน          +              _
ถ้าแยกกัน               _              0
ตัวอย่างการล่าเหยื่อ
 1. สัตว์กินสัตว์ เช่น เสือกินวัว นกกินแมลง
 2. สัตว์กินพืช เช่น ตั๊กแตนปาทังก้ากินต้นข้าวโพด
    พะยูนกินหญ้าทะเล
 3. พืชดักจับแมลง เช่น กาบหอยแครง
    ต้นหยาดน้้าค้าง ต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง
    ดักจับแมลงตัวเล็กๆ เป็นอาหาร
ตั๊กแตนปาทังก้า
หยาดน้้าค้าง
หม้อข้าวหม้อแกงลิง
กาบหอยแครง
3. ภาวะอิงกัน/ อิงอาศัยหรือภาวะเกื้อกูลกัน (Commensalism)
   ใช้สัญลักษณ์ + / 0

                          ผูอาศัย
                            ้                  ผูใ้ ห้อาศัย
                  (Commensal)                  (Host)
 ถ้าอยู่ร่วมกัน              +                     0
 ถ้าแยกกัน                   _                     0
ตัวอย่างภาวะเกื้อกูลกัน
1.พืชอาศัยบนพืชต้นอื่น (Epiphyte) เช่น กล้วยไม้ ชายผ้าสีดา
2.เหาฉลามกับปลาฉลามหรือปลาวาฬ : เหาฉลามอาศัยกับฉลาม
     โดยกินเศษอาหารของฉลาม
3.นก ผึ้ง ต่อ แตน ที่ท้ารังบนต้นไม้
4.แบคทีเรียบนผิวหนังคน
5.ลูกกุ้ง ลูกปู ลูกปลา อาศัยอยู่ในโพนงล้าตัวของฟองน้้า
ตัวอย่างภาวะเกื้อกูลกัน(ต่อ)
6.ตั๊กแตนใบไม้หรือตั๊กแตนกิ่งไม้ที่เกาะอยู่บนใบไม้และกิ่งไม้
7.ด้วงขี้ควายกับควาย โดยด้วงขี้ควายกินมูลควาย
8.เสือกับนกแร้ง โดยเสือฆ่าเหยื่อทิ้งเศษไว้เป็นอาหารของนกแร้ง
9.ไลเคนที่เจริญเติบโตอยู่บนเปลือกไม้ต้นใหญ่
10.จั้กจั่นอาศัยบนต้นไม้
11 .กบบนใบบัว
กบในดอกบัว
4. การได้ประโยชน์ร่วมกัน (Protocooperation)
   ใช้สัญลักษณ์ + / +


   ถ้าอยู่ร่วมกัน        +                +
   ถ้าแยกกัน             0                0
ตัวอย่าง ภาวะการได้ประโยชน์ร่วมกัน

1.ดอกไม้กับแมลง
2.นกเอี้ ยงกับควาย
3.มดดากับเพลี้ย
4.ปูเสฉวนกับดอกไม้ทะเล(sea anemone)
5.ปลาการ์ตูนกับดอกไม ้ทะเล (ซีแอนนีโมนี)
6.ม้าลายกับนกกระจอกเทศ: ม้าลายมีจมูกไว หูไว ส่วนนกกระจอกเทศตาไว จะ
    ช่วยเตือนภัยแก่กน
                    ั
ดอกไม้กบแมลง
       ั
ดอกไม้กับแมลง
นกเอี้ยงกับควาย
มดด้ากับเพลี้ย
ปูเสฉวนกับดอกไม้ทะเล(sea anemone)




ปลาการ์ตูนกับดอกไม้ทะเล (ซีแอนนีโมนี)
ปูเสฉวนกับดอกไม้ทะเล (sea anemone)




ปลาการ์ตูนกับดอกไม้ทะเล (ซีแอนนีโมนี)
5. ภาวะที่ต้องพึ่งพา (Mutualism) ใช้สญลักษณ์ + / +
                                     ั


ถ้าอยู่ร่วมกัน          +                +
ถ้าแยกกัน               _                _
ตัวอย่าง ภาวะที่ต้องพึ่งพา
1.ปลวกกับโพรโตซัวในลาไส้ที่ชื่อว่า Trichonympha
2.สัตว์เคี้ยวเอื้องกับแบคทีเรียในกระเพาะอาหาร
3.สาหร่ายกับราที่อยู่ร่วมกันเป็นไลเคน
4.ราไมคอร์ไรซา กับพืชตระกูลสน
5.แบคทีเรียไรโซเบียมกับพืชตระกูลถั่ว
6.สาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงินชื่อ แอนาบีนา (Anabaena) กับแหน
   แดง(เฟิร์นน้า) : ชาวนานิยมเลี้ยงแหนแดงในนาข้าว เพื่อเพิ่ม
   ปุ๋ยไนโตรเจนให้แก่ต้นข้าว
ตัวอย่าง ภาวะที่ต้องพึ่งพา (ต่อ)
  7.สาร่ายสีเขียวคลอเรลลากับไฮดรา
  8.แบคทีเรีย E.coli ในลาไส้ใหญ่ของคน
ปลวกกับโพรโตซัวในล้าไส้ที่ชื่อว่า Trichonympha
สาหร่ายกับราที่อยู่ร่วมกันเป็นไลเคน (Lichen)
ไลเคน (Lichen)
ราไมคอร์ไรซา(Mycorrhiza) กับพืชตระกูลสน
ราไมคอร์ไรซา (Mycorrhiza)
ราไมคอร์ไรซา (Mycorrhiza)
แบคทีเรียไรโซเบียม (Rhizobium) กับพืชตระกูลถั่ว
แอนาบีนา (Anabaena) แหนแดง(Azolla)/เฟิร์นน้า
แบคทีเรีย E.coli ในลาไส้ใหญ่ของคน
6. ภาวการณ์ย่อยสลาย (Saprophytism) ใช้สัญลักษณ์ + / 0

    ตัวอย่าง ผู้ย่อยสลาย(Decomposer) เช่น
       แบคทีเรีย เห็ด รา ยีสต์
7.ภาวะหลังสารยับยั้งการเจริญ(Antibiosis) ใช้สัญลักษณ์ 0/-
         ่
     ตัวอย่าง
        1.ราสีเขียว Penicillium หลั่งสาร Anitibiotic
        ออกมาท้าให้ Bacteria ไม่เจริญ
        2.สาหร่ายสีเขียวแกมน้้าเงิน Microcystis จะ
        หลั่งสาร Hydroxylamine ออกมาในน้้า ท้าให้
        สัตว์น้าตาย
Penicillium
8.ภาวะแข่งขัน (Competition) ใช้สัญลักษณ์ -/-
   ตัวอย่าง
     1.บัวกับผักตบชวาในสระน้า
      2.จอกกับแหนในแหล่งน้า
      3. ต้นถั่วที่ปลูกมากมายในกระป๋องเล็กๆ
      4.ต้นไม้ในป่าที่แข่งกันสูง เพื่อแข่งกันรับแสงสว่าง
      5.มอด 2 ชนิดต่างก็ต่อสู้แย่งอาหารชนิดเดียวกัน
9.ภาวะเป็นกลาง(Neutralism) ใช้สัญลักษณ์ 0/0
ตัวอย่าง
   เสือกับหญ้า เกี่ยวข้องกันเพราะ สัตว์ที่เป็นอาหารของเสือ
   เช่น วัวกินหญ้า และเสือกินวัว แต่ไม่กินหญ้า
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต

More Related Content

What's hot

ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6Nattapong Boonpong
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
บท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวันบท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวันWichai Likitponrak
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมTa Lattapol
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารPinutchaya Nakchumroon
 

What's hot (20)

ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
 
น้ำ
น้ำน้ำ
น้ำ
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการ
 
บท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวันบท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวัน
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 

Similar to ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต

หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชหน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชvarut
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศพัน พัน
 
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...MukMik Melody
 
ระบบนิเวศน์
 ระบบนิเวศน์ ระบบนิเวศน์
ระบบนิเวศน์Tin Savastham
 
ระบบนิเวศ 1
ระบบนิเวศ 1ระบบนิเวศ 1
ระบบนิเวศ 1Bios Logos
 
Random 100704050224-phpapp01 2
Random 100704050224-phpapp01 2Random 100704050224-phpapp01 2
Random 100704050224-phpapp01 2Khaojaoba Apple
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศSaran Srimee
 
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2Enormity_tung
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศmaleela
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศcrunui
 

Similar to ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต (20)

Ecology
EcologyEcology
Ecology
 
Ecology
EcologyEcology
Ecology
 
สิ่งแวดล้อมจากเน็ท
สิ่งแวดล้อมจากเน็ทสิ่งแวดล้อมจากเน็ท
สิ่งแวดล้อมจากเน็ท
 
File[1]
File[1]File[1]
File[1]
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
Manybio
ManybioManybio
Manybio
 
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชหน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
 
Pw ecosystem
Pw ecosystemPw ecosystem
Pw ecosystem
 
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...
 
ระบบนิเวศน์
 ระบบนิเวศน์ ระบบนิเวศน์
ระบบนิเวศน์
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 
Taxonomy 2
Taxonomy 2Taxonomy 2
Taxonomy 2
 
ระบบนิเวศ 1
ระบบนิเวศ 1ระบบนิเวศ 1
ระบบนิเวศ 1
 
Random 100704050224-phpapp01 2
Random 100704050224-phpapp01 2Random 100704050224-phpapp01 2
Random 100704050224-phpapp01 2
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
 
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
 

More from Biobiome

หน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้นหน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้นBiobiome
 
หน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของรากหน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของรากBiobiome
 
หน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบหน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบBiobiome
 
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากเนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากBiobiome
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบBiobiome
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบBiobiome
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำBiobiome
 
สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์Biobiome
 
ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทยBiobiome
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
BiodiversityBiobiome
 
Science m6
Science m6Science m6
Science m6Biobiome
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์Biobiome
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์Biobiome
 

More from Biobiome (20)

หน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้นหน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้น
 
หน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของรากหน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของราก
 
หน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบหน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบ
 
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากเนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบ
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบ
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
 
สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์
 
ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทย
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
 
Pisa
PisaPisa
Pisa
 
Onet 05
Onet 05Onet 05
Onet 05
 
Science m6
Science m6Science m6
Science m6
 
Science50
Science50Science50
Science50
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
05 e
05 e05 e
05 e
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
Science50
Science50Science50
Science50
 
Pat2 52-1
Pat2 52-1Pat2 52-1
Pat2 52-1
 
Pat2
Pat2Pat2
Pat2
 

ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต