SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  11
Télécharger pour lire hors ligne
บทปฏิบัติการทดลองที่ 6
                                โครงสรางและหนาที่ของพืชดอก
                                  เรื่อง โครงสรางภายในของใบ

                               เรื่อง การศึกษาโครงสรางภายในของใบพืชดอก

จุดประสงคการเรียนรู : นักเรียนมีความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรมตาง ๆ ตอไปนี้ได
1. บอกสวนประกอบของโครงสรางภายในใบของพืชดอก
2. เปรียบเทียบโครงสรางภายในใบของพืชใบเลี้ยงเดียวและพืชใบเลียงคูได
                                               ่            ้ 
3. ทําการทดลองและสรุปผลการทดลองได

หลักการ / ทฤษฎี
         ใบ (leaf) เปนสวนของพืชทีเ่ จริญเติบโตออกมาทางดานขางของลําตนหรือกิ่งตรงตําแหนงของขอ
ใบสวนใหญจะมีสีเขียวของคลอโรฟลล มีรูปรางและขนาดแตกตางกันไปแลวแตชนิดของพืช
หนาที่หลักของใบคือใชในการสังเคราะหแสง การหายใจและการคายน้า         ํ
         ลักษณะโครงสรางภายในใบของพืชแตละชนิด จะประกอบดวยเนื้อเยื่อ 3 กลุม คือ
เอพิเดอรมิส (epidermis) มีโซฟลล (mesophyll) และมัดทอลําเลียง (vascular bundle) ชั้นเอพิเดอรมสิ
(Epidermis)มี 2 ดาน คือเอพิเดอรมิสดานบน(Upper epidermis) กับเอพิเดอรมิสดานลาง (Lower epidermis)
มักมีความหนาเพียงชั้นเดียว เอพิเดอรมิส ดานบนจะมีสารคลายขี้ผึ้ง เรียกวา คิวทิน (cutin) มาเคลือบเปนชั้น
บางๆ เรียก คิวติเคิล (cuticle) เพื่อชวยปองกันการระเหยของน้ําออกจากใบ ชั้นมีโซฟลล (Mesophyll)
แบงออกเปน 2 ชั้นยอย คือ พาลิเสดมีโซฟลล (Palisade mesophyll) และ สปนจีมีโซฟลล (Spongy
mesophyll) มัดทอลําเลียง (Vascular bundle) ประกอบ ดวย Xylem กับPhloem โดยไซเล็มจะอยูดานบน    
สวน Phloem จะอยูดานลางโดยมีบัลเดิลชีท(bundle sheath) ลอมรอบ ทําใหมัดทอลําเลียงแข็งแรง มัดทอ
                    
ลําเลียงสวนใหญจะอยูในชั้นสปนจีมีโซฟลล (spongy mesophyll) จึงทําใหเห็นเสนใบนูนขึ้นมาทาง
ดานลางของใบ
อุปกรณ / เครื่องมือและสารเคมี

        1. กลองจุลทรรศน                         1 กลอง
        2. สไลด และกระจกปดสไลด                 2 ชุด
        3. กระจกนาฬิกา                            1 อัน
        4. ใบมีดโกน                               1 ใบ
        5. พูกัน เล็ก ๆ หรือเข็มเขี่ยเชื้อ       1 ดาม
        6. จานเพาะเชือ  ้                         1 ชุด
        7. หลอดหยด                                1 อัน
        8. แผนโฟมเล็กๆ                           2 แผน
        8. บีกเกอรขนาดตาง ๆ                     1 – 2 ใบ
        9. กระดาษเยื่อ                            1 มวน
        10. น้ําสะอาด
        11. ใบพูระหง ใบผักบุง ฯลฯ
        12. ใบขาว ใบขาวโพด ใบเตย ฯลฯ

วิธีการทดลอง

1. ใหนกเรียนแตละกลุมนําใบไมที่เปนพืชใบเลี้ยงคูมา 1 ชนิด เชน ใบพูระหง ใบผักบุง ฯลฯ และ
        ั
    พืชใบ เลี้ยงเดี่ยว 1 ชนิด เชน ใบขาว ใบขาวโพด ใบเตย ฯลฯ
2. สังเกตลักษณะภายนอกของใบไมชนิดตาง ๆ จํานวนใบบนกานใบ บันทึกผลการสังเกต
   (วาดรูปประกอบ)
3. สําหรับพืชใบเลี้ยงคู ใหมวนจากริมใบดานหนึ่งมายังริมใบอีกดานหนึง มวนใหแนนเปนหลอดกลม
                                                                       ่
4. จากปลายใบลงมาประมาณ 1/3 ของใบตัดทิ้งออกไป
5. ใชใบมีดโกนคมๆ ตัดใบตามขวาง โดยใหผานเสนกลางใบใหไดแผนบางที่สุด เทาที่จะบางได
6. นําสวนของใบที่ตัดไดหลายๆ ชิ้น ใสลงในจานเพาะเชือที่มีน้ํา เลือกชิ้นที่บางที่สุดประมาณ 1-2 ชิ้น
                                                         ้
   วางลงบนแผนสไลดที่มีหยดน้ําอยู ปดดวยกระจกปดสไลด ระวังอยาใหมีฟองอากาศอยูภายใน
7. สําหรับพืชใบเดี่ยว ไมสามารถมวนริมใบได ใหใชแผนโฟมตัดเปนชินบางๆ 2 แผน วางประกบกัน
                                                                      ้
  โดยใบพืชใบเลี้ยงเดียวอยูตรงกลาง
                         ่ 
8. ใชใบมีดโกนคมๆ ตัดใบตามขวางใหเปนแผนบางๆ หลายๆ ชิ้น ลงในจานเพาะเชื้อที่มีน้ําอยู เลือก
    ชิ้นสวนที่ยาวและสมบูรณที่สุด 1-2 ชิ้น วางบนแผนสไลด ทําเชนเดียวกับพืชใบเลี้ยงคู
9. นําสไลดไปตรวจดูดวยกลองจุลทรรศน เลือกดูชิ้นใบทีบางและสมบูรณที่สุด โดยใชเลนสใกลวัตถุ
                                                        ่
   กําลังขยายต่า เมื่อเห็นโครงสรางทั้งหมดแลวเปลี่ยนเปนเลนสใกลวัตถุกําลังขยายสูงขึ้นเพื่อตรวจดูเซลล
                ํ
   แตละบริเวณ
10. บันทึกภาพและเปรียบเทียบลักษณะภายในของใบพืชแตละชนิด และเปรียบเทียบกับนักเรียนกลุมอื่น




                                                              วิธีตัดใบพืชตามขวาง



คําถามกอนการทดลอง

1. นักเรียนทราบหรือไมวาเนื้อเยื่อชั้นตางๆ ของใบประกอบดวยเนื้อเยื่อถาวรอะไรบาง
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

2. นักเรียนคิดวาเนื้อเยื่อชั้นตางๆ ของใบพืชใบเลี้ยงเดียวกับใบพืชใบเลี้ยงคู เหมือนกันหรือตางกันอยางไร
                                                                                    ่
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
รายงานผลการทดลองบทปฏิบัติการที่ 6
                                               เรื่อง การศึกษาโครงสรางภายในของใบพืชดอก

วัน /เดือน / ป .............................................. กลุมที่ ........................ เวลาที่ใช .......................... ชั่วโมง

ชื่อสมาชิกในกลุม
1. .............................................................................................................
2. .............................................................................................................
3. .............................................................................................................
4. .............................................................................................................
5. .............................................................................................................

วัตถุประสงค
1. .............................................................................................................
2. .............................................................................................................
3. .............................................................................................................
4. ............................................................................................................

ผลการทดลอง
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
สรุปผลการทดลอง
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

อภิปรายผลการทดลอง
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
คําถามหลังการทดลอง

1. กลุมเซลลแตละบริเวณของใบ มีลักษณะเหมือนกันหรือไม อยางไร
...............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

2. แสดงแผนภาพโครงสรางภายในใบของพืชใบเลี้ยงคูกบใบ พืชใบเลียงเดียว และตําแหนงเนื้อเยื่อ ั                     ้ ่
   บริเวณตาง ๆ พรอมชี้บง ในแต ละสวน
...............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

3. หนาที่ของใบพืช
  1……………………………………………………………………
  2……………………………………………………………………
  3. ………………………………………………………………….

4. นักเรียนจะสรุปผลการทดลองนี้อยางไร
 .............................................................................................................................................................
 .............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
 .............................................................................................................................................................
ใบความรูที่ 1
                               โครงสรางและหนาที่ของพืชดอก
                                เรื่อง โครงสรางภายในของใบ

  สาระสําคัญ
                                               ใบ( Leaf )

     ใบ เปนสวนของพืชหรือรยางคที่เจริญออกไปบริเวณดานขาง โดยมีตําเหนงอยูที่ขอปลองของตน
และกิ่ง ใบสวนใหญจะมีสีเขียวของคลอโรฟลล รูปรางและขนาดของใบแตกตางกันไปตามชนิดของพืช
หนาที่หลักของใบคือใชในการสังเคราะหแสง การหายใจและการคายน้าํ

ลักษณะโครงสรางของใบ
     สวนประกอบของใบมี 3 สวนคือ แผนใบ ( blade หรือ lamina ) กานใบ ( petiole ) และหูใบ ( stipule )
1.แผนใบ ( blade หรือ lamina ) มักแผเปนมีขนาดใบและรูปรางตางกัน




      เสนใบ ( vein ) ใหสังเกตเสนกลางใบ ( midrib ) ซึ่งตอเปนเนื้อเดียวกับกานใบ จากเสนกลางใบแยก
ออกเปนเสนใบ ซึ่งจะแยกแขนงออกไปอีกเปนเสนแขนงใบ ( vientet ) การเรียงของใบ ( venation ) ในพืช
ใบเลี้ยงเดียวสวนมาก เปนเสนใบขนาน ( parallel venation )เรียงตามยาวของใบ (plamately parallel
           ่
venation) และเสนใบขนานกันตามขวางของใบ ( pinately parallel venation )
สวนของใบเลียงคูเปนแบบตาขาย ( netted หรือ recticulated venation ) ซึ่งมี 2 แบบคือ
               ้
1.1.1 รูปราง ( shape ) ของแผนใบ พิจารณาจากอัตราสวนตามความยาวและ ความกวางของแผนใบ
      1.1.2 ปลายใบ ( apex ) ฐานใบ ( base ) และขอบใบ ( margin )รูปแบบและชื่อเรียกตางกัน
2. กานใบ ( petiole )
ติดกับแผนใบตรงฐานใบ ยกเวนบางชนิดกานใบติดตรงกลางหรือตรงดานในของแผนใบ กานใบสันบาง          ้
ยาวบาง หรือไมมีกานใบเลย เรียก sessile leaf กานใบโดยมากมีลักษณะกลม ใบพืชใบเลี้ยงเดียวบางชนิด
                                                                                           ่
กานใบแผหุมลําตนเรียกกาบใบ ( leaf sheath )
3. หูใบ ( stipule )
เปนระยางค อยูตรงโคนกานใบ ถาเปนหูใบของในยอย ( leaflet ) เรียกหูใบยอย ( stiple ) หูใบมีลักษณะเปน
ริ้ว หนามหรือตอมเล็ก ๆ สวนใหญมีสีเขียว หูใบมีรูปรางขนาดและสีตางกัน
                                                                   
การจัดเรียงของใบบนตน ( leaf arrangment ) ใบที่ออกมาจากสวนของลําตน แบงออกไดกวาง ๆ 3 แบบคือ
1.แบบสลับ ( alternate หรือ spiral )




2.แบบตรงขาม ( opposite )




3. แบบวง ( whorled )




ใบเดี่ยวและใบประกอบแบบตาง
1.ใบเดียว ( simple leaf ) ใบที่มีแผนใบแผนเดียว
        ่
2.ใบประกอบ (compound leaf )คือใบที่มีแผนใบมากกวาหนึ่งเกิดบนกานใบอันเดียวกันแตละใบ เรียกวาใบ
ยอย ( leaflet ) กานชองใบยอยเรียกวา petiolule หรือ petiolet ใบเดียวหรือใบประกอบสังเกตไดโดยใบเดี่ยว
                                                                    ่
มีตาขาง ( arillary bud ) หรือ ตายอด ( terminal bud ) อาศัยดูความออนแกของใบ ถาเปนใบประกอบจะแก
พรอม ๆ กัน แตถาเปนกิ่งของใบเดียว ใบตอนโคนจะแกกวาใบตอนปลายกิ่ง ใบประกอบแยกออกไดดังนี้
                                    ่



2.1 ใบประกอบแบบขนนก ( pinnately compound leaf ) มีใบยอยออก 2 ขางของเกนกลาง ( rachis) ซึ่ง
เปนสวนที่ตอกับกานใบ ใบประกอบมีใบยอยออกแกนกลาง 2 ครั้ง เรียกใบประกอบแบบขนนก 2 ชั้น (
bipinnately compound leaf ) แกนของใบประกอบใบยอยแยกออกจากแกนกลาง นี้เรียก rachilla พืชบาง
ชนิดมีใบประกอบแบบ tripinnately compound leaf คือมีการแตกแขนงของใบ ยอยเชนเดียวกับใบประกอบ
แบบขนนกสองชั้นแตเพิ่มมาอีก หนึ่งชั้น
2.2 ใบประกอบแบบรูปมือ ( palmately compound leaf ) คือใบประกอบที่มีใบยอยทุกใบออกมาจากตํา
เหนงเดียวกันตรงปลายกานใบ ใบประกอบแบบนี้ถามี 3 ใบยอยเรียก trifoliolate ถามี 4 ใบเรียก
quadrifoliolate และถามีใบยอยมากกวานีเ้ รียก polyfoliolate trifoliolate อาจเปนใบประกอบแบบขนนกถามี
rachis




               ภาพแสดงลักษณะใบประกอบแบบขนนก ( pinnately compound leaf )




          ภาพแสดงลักษณะใบประกอบแบบรูปมือ ( palmately compound leaf )
โครงสรางภายในใบ
      1 Epidermis ประกอบดวย epidermal cell อยูดานนอกทั้งสองขางของแผนใบ มี cuticle เคลือบ
epidermal cell นี้มีชั้นเดียว ยกเวนพืชบางชนิดมีหลายชันเรียก multiple epidermis ซึ่งทําหนาที่เก็บสะสมน้ํา
                                                         ้
( water storge tissue ) นอกจากนี้ยังมี epidermal cells ที่มีรูปรางตางกันคือ
1.1 guard cell หนึ่งคูทําใหเกิด stoma หรือเรียกปากใบซึ่งอยูระดับเดียวกับ epidermis เรียก typical stoma
หรืออยูต่ํากวาเรียก sunken stoma หรืออยูสูงกวาเรียก raised stoma
1.2 bulliform cell, มีขนาดใหญกวา epidermal cell ธรรมดา อยูเปนกลุมประมาณ 3 – 5 เซลลที่ epidermis
ดานบน ทําหนาที่เกียวกับการมวนงอของกานใบ
                      ่
      2 Mesophyll เปนเนื้อเยื่ออยูระหวาง epidermis ทั้ง 2 ดานสวนใหญเปน parenchyma สองชนิดคือ
palisade parenchyma รูปทรงกระบอกเรียงชิดกันในแนวดิ่งมีคลอโรพลาสตมากซึ่งเปนสิ่งสําคัญใน
กระบวนการสังเคราะหแสง อีกชนิดคือ spongy parenchyma ขนาดและรูปรางของเซลลไมแนนอนอยูกัน
อยางหลวม ๆ มีคลอโรพลาสตและมีชองอากาศนอยกวาชนิดแรก
     3 Vascular bundle กลุมทอลําเลียงของใบซึ่งไดแก เสนกลางใบ เสนใบ และเสนแขนงใบซึ่งมี
xylem,phloem,cambium นอกจากนี้ยังมีเนือเยื่อcollenchyma, sclerenchyma, ที่เพิ่มความเหนียวและความ
                                            ้
แข็งแรงใหแก




                           ภาพแสดงลักษณะโครงสรางภายในของใบ




                          ภาพแสดงลักษณะของปากใบ (stomata)

Contenu connexe

Tendances

11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
Wichai Likitponrak
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
Thanyamon Chat.
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
Thitaree Samphao
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
flimgold
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
Akkradet Keawyoo
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
Sirintip Arunmuang
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
Pinutchaya Nakchumroon
 

Tendances (20)

ราก (Root)
ราก (Root)ราก (Root)
ราก (Root)
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
 
Transportation body
Transportation bodyTransportation body
Transportation body
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
ส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอกส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอก
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 

Similaire à โครงสร้างภายในของใบ

เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากเนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
Biobiome
 
โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์
Yuporn Tugsila
 
หน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบหน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบ
Biobiome
 
ส่วนต่างๆ ของพืช
ส่วนต่างๆ ของพืชส่วนต่างๆ ของพืช
ส่วนต่างๆ ของพืช
Press Trade
 
ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7
chunkidtid
 
หน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้นหน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้น
Biobiome
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNet
Anana Anana
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
chunkidtid
 
หน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของรากหน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของราก
Biobiome
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยา
Darika Kanhala
 

Similaire à โครงสร้างภายในของใบ (20)

เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากเนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
 
โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์
 
หน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบหน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบ
 
001 3
001 3001 3
001 3
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
ส่วนต่างๆ ของพืช
ส่วนต่างๆ ของพืชส่วนต่างๆ ของพืช
ส่วนต่างๆ ของพืช
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
 
ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7
 
หน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้นหน้าที่พิเศษของลำต้น
หน้าที่พิเศษของลำต้น
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNet
 
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชมการศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
 
หน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของรากหน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของราก
 
Minibook group 8 m.5/834
Minibook group 8 m.5/834Minibook group 8 m.5/834
Minibook group 8 m.5/834
 
Biology
BiologyBiology
Biology
 
ลำต้น54
ลำต้น54ลำต้น54
ลำต้น54
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยา
 
br001
br001br001
br001
 

Plus de Biobiome

โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบ
Biobiome
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
Biobiome
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
Biobiome
 
สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์
Biobiome
 
ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทย
Biobiome
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
Biobiome
 
Science m6
Science m6Science m6
Science m6
Biobiome
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
Biobiome
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
Biobiome
 
07 bio มข
07 bio มข07 bio มข
07 bio มข
Biobiome
 
07 bio มข
07 bio มข07 bio มข
07 bio มข
Biobiome
 
3 ปี 52
3 ปี 523 ปี 52
3 ปี 52
Biobiome
 

Plus de Biobiome (20)

โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบ
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
 
สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์
 
ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทย
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
 
Pisa
PisaPisa
Pisa
 
Onet 05
Onet 05Onet 05
Onet 05
 
Science m6
Science m6Science m6
Science m6
 
Science50
Science50Science50
Science50
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
05 e
05 e05 e
05 e
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
Science50
Science50Science50
Science50
 
Pat2 52-1
Pat2 52-1Pat2 52-1
Pat2 52-1
 
Pat2
Pat2Pat2
Pat2
 
07 bio มข
07 bio มข07 bio มข
07 bio มข
 
07 bio มข
07 bio มข07 bio มข
07 bio มข
 
3 ปี 52
3 ปี 523 ปี 52
3 ปี 52
 
72 pat2
72 pat272 pat2
72 pat2
 

โครงสร้างภายในของใบ

  • 1. บทปฏิบัติการทดลองที่ 6 โครงสรางและหนาที่ของพืชดอก เรื่อง โครงสรางภายในของใบ เรื่อง การศึกษาโครงสรางภายในของใบพืชดอก จุดประสงคการเรียนรู : นักเรียนมีความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรมตาง ๆ ตอไปนี้ได 1. บอกสวนประกอบของโครงสรางภายในใบของพืชดอก 2. เปรียบเทียบโครงสรางภายในใบของพืชใบเลี้ยงเดียวและพืชใบเลียงคูได ่ ้  3. ทําการทดลองและสรุปผลการทดลองได หลักการ / ทฤษฎี ใบ (leaf) เปนสวนของพืชทีเ่ จริญเติบโตออกมาทางดานขางของลําตนหรือกิ่งตรงตําแหนงของขอ ใบสวนใหญจะมีสีเขียวของคลอโรฟลล มีรูปรางและขนาดแตกตางกันไปแลวแตชนิดของพืช หนาที่หลักของใบคือใชในการสังเคราะหแสง การหายใจและการคายน้า ํ ลักษณะโครงสรางภายในใบของพืชแตละชนิด จะประกอบดวยเนื้อเยื่อ 3 กลุม คือ เอพิเดอรมิส (epidermis) มีโซฟลล (mesophyll) และมัดทอลําเลียง (vascular bundle) ชั้นเอพิเดอรมสิ (Epidermis)มี 2 ดาน คือเอพิเดอรมิสดานบน(Upper epidermis) กับเอพิเดอรมิสดานลาง (Lower epidermis) มักมีความหนาเพียงชั้นเดียว เอพิเดอรมิส ดานบนจะมีสารคลายขี้ผึ้ง เรียกวา คิวทิน (cutin) มาเคลือบเปนชั้น บางๆ เรียก คิวติเคิล (cuticle) เพื่อชวยปองกันการระเหยของน้ําออกจากใบ ชั้นมีโซฟลล (Mesophyll) แบงออกเปน 2 ชั้นยอย คือ พาลิเสดมีโซฟลล (Palisade mesophyll) และ สปนจีมีโซฟลล (Spongy mesophyll) มัดทอลําเลียง (Vascular bundle) ประกอบ ดวย Xylem กับPhloem โดยไซเล็มจะอยูดานบน  สวน Phloem จะอยูดานลางโดยมีบัลเดิลชีท(bundle sheath) ลอมรอบ ทําใหมัดทอลําเลียงแข็งแรง มัดทอ  ลําเลียงสวนใหญจะอยูในชั้นสปนจีมีโซฟลล (spongy mesophyll) จึงทําใหเห็นเสนใบนูนขึ้นมาทาง ดานลางของใบ
  • 2. อุปกรณ / เครื่องมือและสารเคมี 1. กลองจุลทรรศน 1 กลอง 2. สไลด และกระจกปดสไลด 2 ชุด 3. กระจกนาฬิกา 1 อัน 4. ใบมีดโกน 1 ใบ 5. พูกัน เล็ก ๆ หรือเข็มเขี่ยเชื้อ 1 ดาม 6. จานเพาะเชือ ้ 1 ชุด 7. หลอดหยด 1 อัน 8. แผนโฟมเล็กๆ 2 แผน 8. บีกเกอรขนาดตาง ๆ 1 – 2 ใบ 9. กระดาษเยื่อ 1 มวน 10. น้ําสะอาด 11. ใบพูระหง ใบผักบุง ฯลฯ 12. ใบขาว ใบขาวโพด ใบเตย ฯลฯ วิธีการทดลอง 1. ใหนกเรียนแตละกลุมนําใบไมที่เปนพืชใบเลี้ยงคูมา 1 ชนิด เชน ใบพูระหง ใบผักบุง ฯลฯ และ ั พืชใบ เลี้ยงเดี่ยว 1 ชนิด เชน ใบขาว ใบขาวโพด ใบเตย ฯลฯ 2. สังเกตลักษณะภายนอกของใบไมชนิดตาง ๆ จํานวนใบบนกานใบ บันทึกผลการสังเกต (วาดรูปประกอบ) 3. สําหรับพืชใบเลี้ยงคู ใหมวนจากริมใบดานหนึ่งมายังริมใบอีกดานหนึง มวนใหแนนเปนหลอดกลม  ่ 4. จากปลายใบลงมาประมาณ 1/3 ของใบตัดทิ้งออกไป 5. ใชใบมีดโกนคมๆ ตัดใบตามขวาง โดยใหผานเสนกลางใบใหไดแผนบางที่สุด เทาที่จะบางได 6. นําสวนของใบที่ตัดไดหลายๆ ชิ้น ใสลงในจานเพาะเชือที่มีน้ํา เลือกชิ้นที่บางที่สุดประมาณ 1-2 ชิ้น ้ วางลงบนแผนสไลดที่มีหยดน้ําอยู ปดดวยกระจกปดสไลด ระวังอยาใหมีฟองอากาศอยูภายใน 7. สําหรับพืชใบเดี่ยว ไมสามารถมวนริมใบได ใหใชแผนโฟมตัดเปนชินบางๆ 2 แผน วางประกบกัน ้ โดยใบพืชใบเลี้ยงเดียวอยูตรงกลาง ่ 
  • 3. 8. ใชใบมีดโกนคมๆ ตัดใบตามขวางใหเปนแผนบางๆ หลายๆ ชิ้น ลงในจานเพาะเชื้อที่มีน้ําอยู เลือก ชิ้นสวนที่ยาวและสมบูรณที่สุด 1-2 ชิ้น วางบนแผนสไลด ทําเชนเดียวกับพืชใบเลี้ยงคู 9. นําสไลดไปตรวจดูดวยกลองจุลทรรศน เลือกดูชิ้นใบทีบางและสมบูรณที่สุด โดยใชเลนสใกลวัตถุ ่ กําลังขยายต่า เมื่อเห็นโครงสรางทั้งหมดแลวเปลี่ยนเปนเลนสใกลวัตถุกําลังขยายสูงขึ้นเพื่อตรวจดูเซลล ํ แตละบริเวณ 10. บันทึกภาพและเปรียบเทียบลักษณะภายในของใบพืชแตละชนิด และเปรียบเทียบกับนักเรียนกลุมอื่น วิธีตัดใบพืชตามขวาง คําถามกอนการทดลอง 1. นักเรียนทราบหรือไมวาเนื้อเยื่อชั้นตางๆ ของใบประกอบดวยเนื้อเยื่อถาวรอะไรบาง .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. 2. นักเรียนคิดวาเนื้อเยื่อชั้นตางๆ ของใบพืชใบเลี้ยงเดียวกับใบพืชใบเลี้ยงคู เหมือนกันหรือตางกันอยางไร ่ .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................
  • 4. รายงานผลการทดลองบทปฏิบัติการที่ 6 เรื่อง การศึกษาโครงสรางภายในของใบพืชดอก วัน /เดือน / ป .............................................. กลุมที่ ........................ เวลาที่ใช .......................... ชั่วโมง ชื่อสมาชิกในกลุม 1. ............................................................................................................. 2. ............................................................................................................. 3. ............................................................................................................. 4. ............................................................................................................. 5. ............................................................................................................. วัตถุประสงค 1. ............................................................................................................. 2. ............................................................................................................. 3. ............................................................................................................. 4. ............................................................................................................ ผลการทดลอง ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................................
  • 5. สรุปผลการทดลอง ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... อภิปรายผลการทดลอง ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................................
  • 6. คําถามหลังการทดลอง 1. กลุมเซลลแตละบริเวณของใบ มีลักษณะเหมือนกันหรือไม อยางไร ............................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. 2. แสดงแผนภาพโครงสรางภายในใบของพืชใบเลี้ยงคูกบใบ พืชใบเลียงเดียว และตําแหนงเนื้อเยื่อ ั ้ ่ บริเวณตาง ๆ พรอมชี้บง ในแต ละสวน ............................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. 3. หนาที่ของใบพืช 1…………………………………………………………………… 2…………………………………………………………………… 3. …………………………………………………………………. 4. นักเรียนจะสรุปผลการทดลองนี้อยางไร ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................
  • 7. ใบความรูที่ 1 โครงสรางและหนาที่ของพืชดอก เรื่อง โครงสรางภายในของใบ สาระสําคัญ ใบ( Leaf ) ใบ เปนสวนของพืชหรือรยางคที่เจริญออกไปบริเวณดานขาง โดยมีตําเหนงอยูที่ขอปลองของตน และกิ่ง ใบสวนใหญจะมีสีเขียวของคลอโรฟลล รูปรางและขนาดของใบแตกตางกันไปตามชนิดของพืช หนาที่หลักของใบคือใชในการสังเคราะหแสง การหายใจและการคายน้าํ ลักษณะโครงสรางของใบ สวนประกอบของใบมี 3 สวนคือ แผนใบ ( blade หรือ lamina ) กานใบ ( petiole ) และหูใบ ( stipule ) 1.แผนใบ ( blade หรือ lamina ) มักแผเปนมีขนาดใบและรูปรางตางกัน เสนใบ ( vein ) ใหสังเกตเสนกลางใบ ( midrib ) ซึ่งตอเปนเนื้อเดียวกับกานใบ จากเสนกลางใบแยก ออกเปนเสนใบ ซึ่งจะแยกแขนงออกไปอีกเปนเสนแขนงใบ ( vientet ) การเรียงของใบ ( venation ) ในพืช ใบเลี้ยงเดียวสวนมาก เปนเสนใบขนาน ( parallel venation )เรียงตามยาวของใบ (plamately parallel ่ venation) และเสนใบขนานกันตามขวางของใบ ( pinately parallel venation ) สวนของใบเลียงคูเปนแบบตาขาย ( netted หรือ recticulated venation ) ซึ่งมี 2 แบบคือ ้
  • 8. 1.1.1 รูปราง ( shape ) ของแผนใบ พิจารณาจากอัตราสวนตามความยาวและ ความกวางของแผนใบ 1.1.2 ปลายใบ ( apex ) ฐานใบ ( base ) และขอบใบ ( margin )รูปแบบและชื่อเรียกตางกัน 2. กานใบ ( petiole ) ติดกับแผนใบตรงฐานใบ ยกเวนบางชนิดกานใบติดตรงกลางหรือตรงดานในของแผนใบ กานใบสันบาง ้ ยาวบาง หรือไมมีกานใบเลย เรียก sessile leaf กานใบโดยมากมีลักษณะกลม ใบพืชใบเลี้ยงเดียวบางชนิด ่ กานใบแผหุมลําตนเรียกกาบใบ ( leaf sheath ) 3. หูใบ ( stipule ) เปนระยางค อยูตรงโคนกานใบ ถาเปนหูใบของในยอย ( leaflet ) เรียกหูใบยอย ( stiple ) หูใบมีลักษณะเปน ริ้ว หนามหรือตอมเล็ก ๆ สวนใหญมีสีเขียว หูใบมีรูปรางขนาดและสีตางกัน 
  • 9. การจัดเรียงของใบบนตน ( leaf arrangment ) ใบที่ออกมาจากสวนของลําตน แบงออกไดกวาง ๆ 3 แบบคือ 1.แบบสลับ ( alternate หรือ spiral ) 2.แบบตรงขาม ( opposite ) 3. แบบวง ( whorled ) ใบเดี่ยวและใบประกอบแบบตาง 1.ใบเดียว ( simple leaf ) ใบที่มีแผนใบแผนเดียว ่ 2.ใบประกอบ (compound leaf )คือใบที่มีแผนใบมากกวาหนึ่งเกิดบนกานใบอันเดียวกันแตละใบ เรียกวาใบ ยอย ( leaflet ) กานชองใบยอยเรียกวา petiolule หรือ petiolet ใบเดียวหรือใบประกอบสังเกตไดโดยใบเดี่ยว ่ มีตาขาง ( arillary bud ) หรือ ตายอด ( terminal bud ) อาศัยดูความออนแกของใบ ถาเปนใบประกอบจะแก พรอม ๆ กัน แตถาเปนกิ่งของใบเดียว ใบตอนโคนจะแกกวาใบตอนปลายกิ่ง ใบประกอบแยกออกไดดังนี้ ่ 2.1 ใบประกอบแบบขนนก ( pinnately compound leaf ) มีใบยอยออก 2 ขางของเกนกลาง ( rachis) ซึ่ง
  • 10. เปนสวนที่ตอกับกานใบ ใบประกอบมีใบยอยออกแกนกลาง 2 ครั้ง เรียกใบประกอบแบบขนนก 2 ชั้น ( bipinnately compound leaf ) แกนของใบประกอบใบยอยแยกออกจากแกนกลาง นี้เรียก rachilla พืชบาง ชนิดมีใบประกอบแบบ tripinnately compound leaf คือมีการแตกแขนงของใบ ยอยเชนเดียวกับใบประกอบ แบบขนนกสองชั้นแตเพิ่มมาอีก หนึ่งชั้น 2.2 ใบประกอบแบบรูปมือ ( palmately compound leaf ) คือใบประกอบที่มีใบยอยทุกใบออกมาจากตํา เหนงเดียวกันตรงปลายกานใบ ใบประกอบแบบนี้ถามี 3 ใบยอยเรียก trifoliolate ถามี 4 ใบเรียก quadrifoliolate และถามีใบยอยมากกวานีเ้ รียก polyfoliolate trifoliolate อาจเปนใบประกอบแบบขนนกถามี rachis ภาพแสดงลักษณะใบประกอบแบบขนนก ( pinnately compound leaf ) ภาพแสดงลักษณะใบประกอบแบบรูปมือ ( palmately compound leaf )
  • 11. โครงสรางภายในใบ 1 Epidermis ประกอบดวย epidermal cell อยูดานนอกทั้งสองขางของแผนใบ มี cuticle เคลือบ epidermal cell นี้มีชั้นเดียว ยกเวนพืชบางชนิดมีหลายชันเรียก multiple epidermis ซึ่งทําหนาที่เก็บสะสมน้ํา ้ ( water storge tissue ) นอกจากนี้ยังมี epidermal cells ที่มีรูปรางตางกันคือ 1.1 guard cell หนึ่งคูทําใหเกิด stoma หรือเรียกปากใบซึ่งอยูระดับเดียวกับ epidermis เรียก typical stoma หรืออยูต่ํากวาเรียก sunken stoma หรืออยูสูงกวาเรียก raised stoma 1.2 bulliform cell, มีขนาดใหญกวา epidermal cell ธรรมดา อยูเปนกลุมประมาณ 3 – 5 เซลลที่ epidermis ดานบน ทําหนาที่เกียวกับการมวนงอของกานใบ ่ 2 Mesophyll เปนเนื้อเยื่ออยูระหวาง epidermis ทั้ง 2 ดานสวนใหญเปน parenchyma สองชนิดคือ palisade parenchyma รูปทรงกระบอกเรียงชิดกันในแนวดิ่งมีคลอโรพลาสตมากซึ่งเปนสิ่งสําคัญใน กระบวนการสังเคราะหแสง อีกชนิดคือ spongy parenchyma ขนาดและรูปรางของเซลลไมแนนอนอยูกัน อยางหลวม ๆ มีคลอโรพลาสตและมีชองอากาศนอยกวาชนิดแรก 3 Vascular bundle กลุมทอลําเลียงของใบซึ่งไดแก เสนกลางใบ เสนใบ และเสนแขนงใบซึ่งมี xylem,phloem,cambium นอกจากนี้ยังมีเนือเยื่อcollenchyma, sclerenchyma, ที่เพิ่มความเหนียวและความ ้ แข็งแรงใหแก ภาพแสดงลักษณะโครงสรางภายในของใบ ภาพแสดงลักษณะของปากใบ (stomata)