SlideShare a Scribd company logo
1 of 39
พระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ
พระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕
และ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓
พระบาทสมเด็จพระปรมินทร์มหาภูมิพลอดุลยเดช
มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็น
การสมควรให้มีกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ จึงทรงพระ
กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคาแนะนา
และยินยอมของรัฐสภา เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2542
การศึกษา ตาม พรบ.การศึกษาแห่งชาติ คือ
“การศึกษา” หมายความว่า กระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญงอก
งามของบุคคลและสังคมโดยการถ่ายทอดความรู้ การฝึก การอบรม
การสืบสานทางวัฒนธรรม การสร้างสรรค์จรรโลงความก้าวหน้า
ทางวิชาการ การสร้างองค์ความรู้อันเกิดจากการจัดสภาพแวดล้อม สังคม
การเรียนรู้และปัจจัยเกื้อหนุนให้บุคคลเรียนรู้ตลอดชีวิต
หมวด 1 บททั่วไป
ความมุ่งหมายและหลักการ มาตรา 6-7
พระราชบัญญัติฉบับนี้มีเจตนารมณ์ที่ต้องการเน้นย้าว่าการ
จัดการศึกษาต้องเป็นไป เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและ
วัฒนธรรมในการดารงชีวิตสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี
ความสุข
เป็นมนุษย์ที่
สมบูรณ์ เก่ง ดี
มีสุข
ปลูกจิตสานึกที่ถูกต้อง
การเมือง การปกครอง
สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ
ภาคภูมิใจในความเป็น
ไทย อนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ
การจัดการศึกษา
ให้ยึดหลักดังนี้
การศึกษาตลอด
ชีวิต
พัฒนาสาระและ
กระบวนการเรียนรู้
อย่างต่อเนื่อง
สังคมมี
ส่วนร่วม
การจัดระบบ โครงสร้างและกระบวนการจัดการศึกษา
ให้ยึดหลักดังนี้
มีเอกภาพด้าน
นโยบาย
หลากหลายการปฏิบัติ
กระจายอานาจไปสู่
เขตพื้นที่การศึกษา
สถานศึกษาและ องค์การ
บริหารส่วนท้องถิ่น
มีมาตรฐานและ
การประกัน
คุณภาพการศึกษา
ส่งเสริมมาตรฐาน
วิชาชีพ
ระดมทรัพยากรจาก
แหล่งต่าง ๆ มาใช้ใน
การจัดการศึกษา
การมีส่วนร่วม
ขององค์กรต่างๆ
หมวด 2 สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา
1.บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาขั้น
พื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปี ที่รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึง และมี
คุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย
2.บุคคล ซึ่งมีความบกพร่องทางด้านต่าง ๆ หรือมีร่างกาย
พิการ หรือมีความต้องการเป็นพิเศษ หรือผู้ด้อยโอกาสมีสิทธิและ
โอกาสได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นพิเศษ
3.บิดามารดา หรือผู้ปกครองมีหน้าที่จัดให้บุตรหรือบุคคล
ในความดูแลได้รับการศึกษาทั้งภาคบังคับ และนอกเหนือจากภาค
บังคับตามความพร้อมของครอบครัว
หมวด 2 สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา (ต่อ)
4.บิดามารดา บุคคล ชุมชน องค์กร และสถาบันต่าง ๆ ทางสังคมที่
สนับสนุนหรือจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีสิทธิได้รับสิทธิประโยชน์ตามควร
แก่กรณีดังนี้
- การสนับสนุนจากรัฐให้มีความรู้ ความสามารถในการอบรม
เลี้ยงดูและให้การศึกษาแก่บุตรหรือผู้ซึ่งอยู่ในความดูแล รวมทั้งเงินอุดหนุน
สาหรับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
- การลดหย่อนหรือยกเว้นภาษีสาหรับค่าใช้จ่ายการศึกษา
หมวด 2 สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา (ต่อ)
สิทธิ
เรียนฟรี อย่างน้อย
12 ปี อย่างมีคุณภาพ
สิทธิและโอกาสพิเศษ
สาหรับผู้มีความบกพร่อง
พิการ ทุพพลภาพ ตั้งแต่
แรกเกิด
รูปแบบที่เหมาะสม
กับผู้ที่มีความสามารถ
พิเศษ
หน้าที่
ส่งบุตรหลานหรือบุคคลในความดูแล
ได้รับการศึกษาภาคบังคับ
สิทธิในการ
จัดการศึกษา
ขั้นพื้นฐานรัฐ
เอกชน
องค์การบริหารส่วน
ท้องถิ่น
บุคคล
ครอบครัว
องค์กรชุมชน
องค์กรวิชาชีพ
สถาบันศาสนา
สถานประกอบการ
สถาบันสังคมอื่น
สิทธิของบิดา มารดา หรือผู้ปกครอง
สนับสนุน
จากรัฐ
เงินอุดหนุน
ลดหย่อยภาษีหรือ
ยกเว้นภาษี
-การศึกษา
-การเลี้ยงดู
สิทธิผู้สนับสนุนการจัดการศึกษา
ผู้สนับสนุน
การจัด
การศึกษา
ความรู้ความ
สารถในการ
อบรมเลี้ยงดู
เงินอุดหนุน
การหลดหย่อน
หรือยกเว้นภาษี
หมวด 3 ระบบการศึกษา มาตรา 15-21
สถานศึกษาจัดได้ทั้งสามรูปแบบ และให้มีการเทียบโอนผลการ
เรียนที่ผู้เรียนสะสมไว้ระหว่างรูปแบบเดียวกันหรือต่างรูปแบบได้ไม่ว่าจะ
เป็นผลการเรียนจากสถานศึกษาเดียวกันหรือไม่ก็ตาม
การศึกษาใน
ระบบ
การศึกษา
ตาม
อัธยาศัย
การศึกษา
นอกระบบ
การศึกษาในระบบ
การศึกษา
ขั้นพื้นฐาน
การศึกษา
ระดับอุดมศึกษา
ระดับต่ากว่าปริญญา
ระดับปริญญา
ไม่น้อยกว่า 12 ปี
ระดับและประเภทเป็นไป
ตามกฎหมายกาหนด
การศึกษา
ภาคบังคับ
9ปี
ย่างปีที่ 7 ถึงย่างปีที่
16 ยกเว้นสอบได้
ปีที่ 9
การนับอายุ เป็นไป
ตามกฎกระทรวง
สถานศึกษา
สถานพัฒนาปฐมวัย
โรงเรียน
ศูนย์การรียน
สถานที่เรียนที่หน่วยงาน
จัดการศึกษานอกโรงเรียน
ประชาชนเป็นผู้จัด
โรงเรียนของรัฐ เอกชน
โรงเรียนสังกัดสถาบัน
พุทธศาสนา หรือศาสนา
อื่น
-ศูนย์เด็กเล็กศูนย์พัฒนาเด็ก
เล็ก หรือสถานพัฒนาเด็ก
ปฐมวัยที่เรียกชื่ออย่างอื่น
หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา มาตรา 22-30
- การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด
ผู้เรียนทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ดังนั้น
กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน ได้พัฒนาตาม
ธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ
- การจัดการศึกษาทั้งสามรูปแบบในหมวด 3 ต้องเน้นทั้ง
ความรู้ คุณธรรม และกระบวนการเรียนรู้ ในเรื่องสาระความรู้
หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา (ต่อ)
ผู้เรียน
ทุกคนมี
ความสามารถ
พัฒนาตนเอง
ได้
มีความสาคัญ
ที่สุด
การศึกษาทุกระบบ
ความรู้
กระบวนการเรียนรู้
และบูรณการตาม
ความเหมาะสม
ตามระดับ
คุณธรรม
ความรู้
ตนเอง
ชุมชน
ชาติ
สังคมโลก
ความรู้
วิทยาศาสตร์
และ
เทคโนโลยี
สิ่งแวดล้อม
ศาสนา
ศิลปะ
วัฒนธรรม
การกีฬาภูมิ
ปัญญาไทย
คณิตศาสตร์
และภาษา
ความรู้และ
ทักษะใน
การ
ประกอบ
อาชีพ
พัฒนาการ ความประพฤติ
พฤติกรรมการเรียน
การร่วมกิจกรรม
การทดสอบ
การประเมิน
ผู้เรียน
หลักสูตรแกนกลาง โดยคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พื้นฐาน
หลักสูตรแกนกลาง
การดารงชีวิต
การประกอบ
อาชีพ
การศึกษาต่อ
เพื่อความ
เป็นไทย
ความเป็น
พลเมืองดี
หมวด 5 การบริหารและการจัดการศึกษา
มาตรา 33-46
ส่วนที่ 1 การบริหารและการจัดการศึกษาของรัฐ
1.ระดับชาติ
ให้มีกระทรวงการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มีอานาจ
หน้าที่ กากับดูแลการศึกษาทุกระดับและทุกประเภท รวมทั้ง การ
ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม
กระทรวง มีองค์กรหลักที่เป็นคณะ บุคคลในรูปสภาหรือ
คณะกรรมการสี่องค์กร คือ
โครงสร้างกระทรวง
4 องค์กร
หลัก
สภา
การศึกษา
คณะกรรมการ
การศึกษาขั้น
พื้นฐาน
คณะกรรมการ
การอาชีวศึกษา
คณะกรรมการ
การอุดมสึกษา
หน้าที่ของกระทรวง
ส่งเสริมและกากับดูแลการศึกษาทุกระดับ
กาหนดนโยบาย แผน และมาตรฐาน
สนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา
ส่งเสริม ประสานงานการศาสนา ศิลปะ
วัฒนธรรมและกีฬา
ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล
การจัดการศึกษา
หมวด 5 การบริหารและการจัดการศึกษา (ต่อ)
2. ระดับเขตพื้นที่การศึกษา
การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานและการอุดมศึกษา
ระดับต่า กว่าปริญญา ให้ยึดเขตพื้นที่การศึกษาโดยคานึงถึงปริมาณ
สถานศึกษา และจานวนประชากรเป็นหลัก
3. ระดับสถานศึกษา
ให้แต่ละสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มีคณะกรรมการสถานศึกษา เพื่อ
ทาหน้าที่กากับและส่งเสริมสนับสนุนกิจการของสถานศึกษาและจัดทา
สาระของหลักสูตรในส่วนที่เกี่ยวกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคมภูมิ
ปัญญาท้องถิ่น คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ส่วนที่ 2การบริหารและการจัดการศึกษาขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น
อปท
จัดการศึกษาได้ทุก
ระดับ
ความพร้อมและความ
ต้องการของท้องถิ่น
กระทรวงกาหนด
หลักเกณฑ์และ
วิธีการประเมิน
ส่วนที่ 3 การบริหารและการจัดการศึกษาเอกชน
รัฐสนับสนุนด้านเงิน
อุดหนุน การลดหย่อน
หรือยกเว้นภาษี สิทธิ
ประโยชน์อื่น
มีความเป็น
อิสระ
กากับ ติดตาม ประเมิน
คุณภาพและ
มาตรฐานจากรัฐ
เป็นนิติบุคคล
มีคณะกรรมการ
บริหาร
หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
ประกัน
คุณภาพ
ภายใน
ประกันคุณภาพ
ภายนอก
- เป็นส่วนหนึ่งของ
กระบวนการบริหาร
- รายงานต่อต้นสังกัด
เผยแพร่ต่อสาธารณชน
-โดยสานักงานรับรองและ
ประเมินคุณภาพการศึกษา
(สมศ)
-อย่างน้อยหนึ่งครั้งทุก
ห้าปี
หมวด 7 ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา 42-57
ให้มีองค์กรวิชาชีพครู ตามมาตรา 53 ทาให้เกิด พรบ. สภาครูและ
บุคลากรทางการศึกษา 2546
ให้มีองค์กรกลางบริหารงานบุคคลของข้าราชการครู ตามมาตรา
54 ทาให้เกิด พรบ. ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษาและบุคลากรทางการ
ศึกษาอื่นทั้งของรัฐและเอกชน ต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
ทั้งนี้ ยกเว้น ผู้ที่จัดการศึกษาตามอัธยาศัย จัดการศึกษาในศูนย์การ
เรียน วิทยากรพิเศษ และผู้บริหารการศึกษาระดับเหนือเขตพื้นที่การศึกษา
หมวด 7 ครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
องค์กรวิชาชีพ
ผู้บริหาร
ครู
คณาจารย์ผู้บริหาร
สถานศึกษา และผู้บริหาร
การศึกษาใน
ระดับอุดมศึกษาระดับ
ปริญญา
-กาหนดมาตรฐานวิชาชีพ ออกและเพิกถอนใบประกอบ
วิชาชีพ
-กากับดูแล การปฏิบัติตามมาตรฐานและจรรยาบรรณ
-ต้องมีใบประกอบวิชาชีพครู
-ต้องมีใบประกอบวิชาชีพผู้บริหาร
-ต้องมีใบประกอบวิชาชีพครู
-ไม่ต้องมีใบประกอบวิชาชีพครู
หมวด 8 ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
มาตรา 48-62
ให้มีการระดมทรัพยากรและการลงทุนด้านงบประมาณ การเงิน
และทรัพย์สิน ทั้งจากรัฐ องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น บุคคล ครอบครัว
ชุมชน องค์กรชุมชน เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา
สถานประกอบการ สถาบันสังคมอื่นและต่างประเทศมาใช้จัดการศึกษา
หมวด 8 ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา (ต่อ)
ระดม
ทรัพยากร
รัฐ
เอกชน
อปท
บุคคล ครอบครัว
ชุมชน
องค์กรชุมชน
องค์กรเอกชน
องค์กรวิชาชีพ
สถาบันศาสนา
สถาบัน
ประกอบการ
สถาบันสังคมอื่น
จัดสรร
งบประมาณ
แผ่นดิน
จัดสรรเงินอุดหนุนทั่วไป
เป็นค่าใช้จ่ายรายบุคคล
รัฐและเอกชนเท่าเทียมกัน
จัดสรรทุนการศึกษา ในรูป
กองทุนกู้ยืม จากครอบครัว
ผู้รายได้น้อย
จัดสรรงบประมาณและ
ทรัพยากรทางการศึกษาอื่น
เป็นพิเศษ
หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
หน้าที่ของรัฐ
จัดสรรคลื่นความถี่
สื่อตัวนาและโครงสร้าง
พื้นฐานที่จาเป็นต่อการ
ส่งวิทยุกระจายเสียง
โทรทัศน์
ส่งเสริมให้มีการวิจัย
และพัฒนา การผลิต
และพัฒนาเทคโนโลยี
ส่งเสริมและสนับสนุน
ในการผลิตและพัฒนา
แบบเรียน ตารา สื่อ
พัฒนาบุคลากรด้าน
ผู้ผลิต และผู้ใช้
ผู้เรียนมีสิทธิได้รับ
การพัฒนาขีด
ความสามารถใน
การใช้เทคโนโลยี
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ

More Related Content

What's hot

การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม Sireetorn Buanak
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกพัน พัน
 
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55Decode Ac
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docxแผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docxssuser6a0d4f
 
คุณค่าของภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f15-4page
คุณค่าของภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f15-4pageคุณค่าของภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f15-4page
คุณค่าของภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f15-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10
โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10
โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10Jurarat Thongma
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยาPrincess Chulabhon's College Chonburi
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)พัน พัน
 
ลักษณะเฉพะของข้อสอบวัดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
ลักษณะเฉพะของข้อสอบวัดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ลักษณะเฉพะของข้อสอบวัดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
ลักษณะเฉพะของข้อสอบวัดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์สมพงษ์ หาคำ
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกAnchalee BuddhaBucha
 
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้Mod DW
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกChainarong Maharak
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงานใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงานsarawut saoklieo
 
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการTwatchai Tangutairuang
 
เหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติเหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติtinnaphop jampafaed
 
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมPloynaput Kritsornluk
 
ภูมิปัญญาสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f11-1page
ภูมิปัญญาสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f11-1pageภูมิปัญญาสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f11-1page
ภูมิปัญญาสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f11-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 

What's hot (20)

การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docxแผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
 
คุณค่าของภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f15-4page
คุณค่าของภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f15-4pageคุณค่าของภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f15-4page
คุณค่าของภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f15-4page
 
โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10
โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10
โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
 
ลักษณะเฉพะของข้อสอบวัดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
ลักษณะเฉพะของข้อสอบวัดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ลักษณะเฉพะของข้อสอบวัดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
ลักษณะเฉพะของข้อสอบวัดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
 
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงานใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
 
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
 
เหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติเหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติ
 
มารยาทไทย1
มารยาทไทย1มารยาทไทย1
มารยาทไทย1
 
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม
 
ภูมิปัญญาสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f11-1page
ภูมิปัญญาสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f11-1pageภูมิปัญญาสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f11-1page
ภูมิปัญญาสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f11-1page
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 

Viewers also liked

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารguest5ccbc6
 
เฉลยอังกฤษ 50
เฉลยอังกฤษ 50เฉลยอังกฤษ 50
เฉลยอังกฤษ 50bullyhaha
 
ข้อสอบภาษาอังกฤษปลายภาคหนึ่งทับห้าห้า
ข้อสอบภาษาอังกฤษปลายภาคหนึ่งทับห้าห้าข้อสอบภาษาอังกฤษปลายภาคหนึ่งทับห้าห้า
ข้อสอบภาษาอังกฤษปลายภาคหนึ่งทับห้าห้าอร ครูสวย
 
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมความพร้อมบุคลากรเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมความพร้อมบุคลากรเข้าสู่ประชาคมอาเซียนคู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมความพร้อมบุคลากรเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมความพร้อมบุคลากรเข้าสู่ประชาคมอาเซียนUtai Sukviwatsirikul
 
คำและสำนวนภาษาอังกฤษ
คำและสำนวนภาษาอังกฤษคำและสำนวนภาษาอังกฤษ
คำและสำนวนภาษาอังกฤษYoo Ni
 
Asean quiz championship_2012
Asean quiz championship_2012Asean quiz championship_2012
Asean quiz championship_2012Movin Miranda
 
ไวยากรณ์ ภาษาอังกฤษเบื้องต้น ต้อนรับ AEC [Grammar]
ไวยากรณ์ ภาษาอังกฤษเบื้องต้น ต้อนรับ AEC [Grammar]ไวยากรณ์ ภาษาอังกฤษเบื้องต้น ต้อนรับ AEC [Grammar]
ไวยากรณ์ ภาษาอังกฤษเบื้องต้น ต้อนรับ AEC [Grammar]Panuwat Beforetwo
 
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษแบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษSamapol Klongkhoi
 
Tense ทั้งหมด
Tense ทั้งหมดTense ทั้งหมด
Tense ทั้งหมดpitukpong
 
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน Utai Sukviwatsirikul
 
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยา+Ing
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยา+Ingภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยา+Ing
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยา+Ingอภิญญา คำเหลือ
 
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน การแต่งประโยค
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน การแต่งประโยคภาษาอังกฤษพื้นฐาน การแต่งประโยค
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน การแต่งประโยคอภิญญา คำเหลือ
 
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยาที่ใช้บ่อย
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยาที่ใช้บ่อยภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยาที่ใช้บ่อย
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยาที่ใช้บ่อยอภิญญา คำเหลือ
 
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ลักษณะการใช้
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ลักษณะการใช้ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ลักษณะการใช้
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ลักษณะการใช้อภิญญา คำเหลือ
 
ใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษ
ใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษ
ใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษTapanee Sumneanglum
 
เฉลย 7 วิชาสามัญ ภาษาอังกฤษ edit2
เฉลย 7 วิชาสามัญ ภาษาอังกฤษ edit2เฉลย 7 วิชาสามัญ ภาษาอังกฤษ edit2
เฉลย 7 วิชาสามัญ ภาษาอังกฤษ edit2Ge Ar
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อKruthai Kidsdee
 

Viewers also liked (20)

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
 
เฉลยอังกฤษ 50
เฉลยอังกฤษ 50เฉลยอังกฤษ 50
เฉลยอังกฤษ 50
 
ข้อสอบภาษาอังกฤษปลายภาคหนึ่งทับห้าห้า
ข้อสอบภาษาอังกฤษปลายภาคหนึ่งทับห้าห้าข้อสอบภาษาอังกฤษปลายภาคหนึ่งทับห้าห้า
ข้อสอบภาษาอังกฤษปลายภาคหนึ่งทับห้าห้า
 
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมความพร้อมบุคลากรเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมความพร้อมบุคลากรเข้าสู่ประชาคมอาเซียนคู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมความพร้อมบุคลากรเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมความพร้อมบุคลากรเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
 
คำและสำนวนภาษาอังกฤษ
คำและสำนวนภาษาอังกฤษคำและสำนวนภาษาอังกฤษ
คำและสำนวนภาษาอังกฤษ
 
Asean quiz championship_2012
Asean quiz championship_2012Asean quiz championship_2012
Asean quiz championship_2012
 
ไวยากรณ์ ภาษาอังกฤษเบื้องต้น ต้อนรับ AEC [Grammar]
ไวยากรณ์ ภาษาอังกฤษเบื้องต้น ต้อนรับ AEC [Grammar]ไวยากรณ์ ภาษาอังกฤษเบื้องต้น ต้อนรับ AEC [Grammar]
ไวยากรณ์ ภาษาอังกฤษเบื้องต้น ต้อนรับ AEC [Grammar]
 
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษแบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ
 
Spelling Bee ม.ต้น
Spelling Bee ม.ต้นSpelling Bee ม.ต้น
Spelling Bee ม.ต้น
 
Tense ทั้งหมด
Tense ทั้งหมดTense ทั้งหมด
Tense ทั้งหมด
 
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
 
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยา+Ing
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยา+Ingภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยา+Ing
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยา+Ing
 
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน การแต่งประโยค
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน การแต่งประโยคภาษาอังกฤษพื้นฐาน การแต่งประโยค
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน การแต่งประโยค
 
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
 
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยาที่ใช้บ่อย
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยาที่ใช้บ่อยภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยาที่ใช้บ่อย
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยาที่ใช้บ่อย
 
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ลักษณะการใช้
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ลักษณะการใช้ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ลักษณะการใช้
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ลักษณะการใช้
 
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวันภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน
 
ใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษ
ใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษ
ใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษ
 
เฉลย 7 วิชาสามัญ ภาษาอังกฤษ edit2
เฉลย 7 วิชาสามัญ ภาษาอังกฤษ edit2เฉลย 7 วิชาสามัญ ภาษาอังกฤษ edit2
เฉลย 7 วิชาสามัญ ภาษาอังกฤษ edit2
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 

Similar to พรบ.การศึกษาแห่งชาติ

พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้น
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้นพรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้น
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้นสายฝน ต๊ะวันนา
 
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546Ying Kanya
 
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546Ying Kanya
 
พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546
พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546
พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546สายฝน ต๊ะวันนา
 
ประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทยประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทยSuwanan Nonsrikham
 
พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55
พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55
พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55โทษฐาน ที่รู้จักกัน
 
พ.ร.บ.ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 2551
พ.ร.บ.ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย  2551พ.ร.บ.ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย  2551
พ.ร.บ.ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 2551นายจักราวุธ คำทวี
 

Similar to พรบ.การศึกษาแห่งชาติ (8)

พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้น
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้นพรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้น
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ขีดเส้น
 
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
 
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
 
พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546
พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546
พรบ.ระเบียบบริหารส่วนราชการ 2546
 
ประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทยประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทย
 
การศึกษาของไทย
การศึกษาของไทยการศึกษาของไทย
การศึกษาของไทย
 
พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55
พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55
พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55
 
พ.ร.บ.ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 2551
พ.ร.บ.ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย  2551พ.ร.บ.ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย  2551
พ.ร.บ.ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 2551
 

พรบ.การศึกษาแห่งชาติ