SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  8
Télécharger pour lire hors ligne
การบารุงรักษาคอมพิวเตอร์




          คอมพิวเตอร์เมื่อใช้ไประยะหนึ่งจะมีการเสื่ อมชารุ ดไปตามสภาพระยะเวลาที่ใช้งานผูใช้คอมพิวเตอร์ จึงควร
                                                                                        ้
เอาใจใส่ ดูแลและบารุ งรักษาอย่างเหมาะสม สม่าเสมอเพื่อเพิ่มอายุ การใช้งานของเครื่ องคอมพิวเตอร์ ซ่ ึ งจะช่วยให้
สามารถ ประหยัดงบประมาณในการซ่อมบารุ งหรื อการเปลี่ยนอุปกรณ์สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมที่คอมพิวเตอร์ ของคุณ
จะทางานได้ดีน้ นคือ อย่างไรเช่นในห้องคอมพิวเตอร์ ของคุณ ควรจะมีอุณหภูมิสูงเท่าไร มีความชื้นไม่เกินเท่าไร
                 ั
ขีดจากัดของการทางานเป็ นอย่างไร ระยะเวลาในการทางานของเครื่ องเป็ นอย่างไร ดังนั้น ห้องทางานด้าน
คอมพิวเตอร์จึงควรเป็ น ห้องปรับอากาศที่ปราศจากฝุ่ น และความชื้น ซอฟแวร์ แผ่นดิสก์ที่เก็บซอฟแวร์ และ
ไฟล์ขอมูล หรื อสารสนเทศนั้นอาจเสี ยหายได้ ถ้าหากว่าแผ่นดิสต์ได้รับการขีดข่วนได้รับความร้อนสู ง หรื อ ตก
       ้
กระทบกระแทกแรง ๆ สิ่ งที่ทาลายซอฟแวร์ ได้แก่ ความร้อน ความชื้น ฝุ่ น ควัน และการฉี ดสเปรย์พวก
น้ ายาหรื อน้ าหอม ต่าง ๆ เป็ นต้น การทาความสะอาดระบบคอมพิวเตอร์

                                                                     ่ ้
1. ไม่ควรทาความสะอาดเครื่ องคอมพิวเตอร์ ขณะที่เครื่ องยังเปิ ดอยูถาคุณจะทาความ สะอาดเครื่ อง ควรปิ ดเครื่ องทิง
                                                                                                              ้
ไว้ 5 นาที ก่อนลงมือทาความสะอาด
2. อย่าใช้ผาเปี ยก ผ้าชุ่มน้ า เช็ดคอมพิวเตอร์ อย่างเด็ดขาด ใช้ผาแห้งดีกว่า
           ้                                                    ้
3. อย่าใช้สบู่ น้ ายาทาความสะอาดใด ๆ กับคอมพิวเตอร์ เพราะจะทาให้ระบบของเครื่ อง เกิดความเสี ยหาย
4. ไม่ควรฉี ดสเปรย์ใด ๆ ไปที่คอมพิวเตอร์ แป้ นพิมพ์ และอุปกรณ์ต่าง ๆ
5. ไม่ควรใช้เครื่ องดูดฝุ่ นกับคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ประกอบอื่น ๆ
6. ถ้าคุณจาเป็ นต้องทาความสะอาดเครื่ องคอมพิวเตอร์ โปรดใช้อุปกรณ์ทาความสะอาด ที่คู่มือแนะนาไว้เท่านั้น
7. ไม่ควรดื่มน้ าชา กาแฟ เครื่ องดื่มต่าง ๆ ในขณะที่ใช้คอมพิวเตอร์
8. ไม่ควรกินของคบเคี้ยวหรื ออาหารใด ๆ ขณะทางานด้วยเครื่ องคอมพิวเตอร์




เอกสารประกอบการเรี ยนการสอน รายวิชาเพิ่มเติม(คอมพิวเตอร์ 2) โดย นายชาตรี หัสสะโร                          หน้า 1
สาเหตุททาให้ เครื่องพีซีเกิดความเสี ยหาย
                           ี่

1. ความร้ อน

  ความร้อน ที่เป็ นสาเหตุทาให้คอมพิวเตอร์ มีปัญหาส่ วนใหญ่ เกิดจากความร้อนของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์บน
เมนบอร์ ดของคอมพิวเตอร์ เองวิธีแก้ปัญหาคือจะต้องรี บระบายความร้อนที่เกิดจากอุปกรณื ต่างๆ ออกไปให้เร็ วที่สุด

วิธีแก้ปัญหา
• พัดลมระบายความร้อนทุกตัวในระบบต้องอยูในสภาพดี 100 เปอร์ เซนต์ อุณหภูมิที่เหมาะสมที่สุดควรจะอยู่
                                                ่
ระหว่าง 60-70 องศาฟาเรนไฮต์
• ใช้เพาเวอร์ซพพลาย ในขนาดที่ถูกต้อง
                ั
                                                    ่
• ใช้งานเครื่ องในย่านอุณหภูมิที่ปลอดภัย อย่าตั้งอยูในบริ เวณที่มีแสงแดดส่ องถึงเป็ นเวลานานๆ

2. ฝุ่ นผง

                    ่                               ่                      ่
  เป็ นที่ทราบกันดีวาในอากาศมีฝนผงกระจัดกระจายอยูในทุกๆที่ฝนผงที่เกาะติดอยูบนแผงวงจรของคอมพิวเตอร์
                               ุ่                              ุ่
ทาหน้าที่เสมือนฉนวนป้ องกันความร้อน ทาให้ความร้อนที่เกิดขึ้นในระบบไม่สามารถระบายออกสู่ สภาพแวดล้อม
                                                                                            ่
ภายนอกนอกจากนี้อาจไปอุดตันช่องระบายอากาศของเพาเวอร์ ซพพลาย หรื อฮาร์ดดิสค์ หรื ออาจเข้าไปอยูระหว่าง
                                                             ั
            ั
แผ่นดิสค์กบหัวอ่าน ทาให้แผ่นดิสค์หรื อหัวอ่านเกิดความเสี ยหายได้

วิธีแก้ไข
• ควรทาความสะอาดภายในเครื่ องทุก 6 เดือน หรื อทุกครั้งที่ถอดฝาครอบ
• ตัวถัง หรื อ ชิ้นส่ วนภายนอกอาจใช้สเปรย์ทาความสะอาด
• วงจรภายในให้ใช้ลมเป่ าและใช้แปรงขนอ่อนๆ ปั ดฝุ่ นออก
• อย่าสู บบุหรี่ ใกล้เครื่ องคอมพิวเตอร์

3. สนามแม่ เหล็ก

   แม่เหล็กสามารถทาให้ขอมูลในแผ่นดิสก์หรื อฮาร์ ดดิสก็สูญหายได้อย่างถาวรแหล่งที่ให้กาเนิดสนามแม่เหล็กใน
                       ้
              ่
สานักงานมีอยูมากมาหลายประเภท อาทิเช่น
• แม่เหล็กติดกระดาษบันทึกบนตูเ้ ก็บแฟ้ ม
• คลิปแขวนกระดาษแบบแม่เหล็ก


เอกสารประกอบการเรี ยนการสอน รายวิชาเพิ่มเติม(คอมพิวเตอร์ 2) โดย นายชาตรี หัสสะโร                       หน้า 2
• ไขควงหัวแม่เหล็ก
• ลาโพง
• มอเตอร์ในพริ นเตอร์
• UPS

วิธีแก้ไข
• ควรโยกย้ายอุปกรณ์ที่มีกาลังแม่เหล็กมากๆ ให้ห่างจากระบบคอมพิวเตอร์ สัญญาณรบกวนในสายไฟฟ้ า

 สัญญาณรบกวนในสายไฟฟ้ ามีหลายลักษณะ อาทิเช่น
• แรงดันเกิน
• แรงดันตก
• ทรานเชียนต์
• ไฟกระเพื่อม

1. แรงดันเกิน
   ในกรณี ท่ีเครื่ องของท่านได้รับแรงดันไฟฟ้ าเกินจากปกติเป็ นเวลานานกว่า วินาที จะมีผลทาให้อุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์ภายในเครื่ องเกิดความเสี ยหายได้

2. แรงดันตก
     ในกรณี ท่ีมีการใช้ไฟฟ้ ากันมากเกินความสามารถในการจ่ายพลังงานไฟฟ้ าจะมีผลทาให้เกิดเหตุการณ์ไฟตกได้ไฟ
ตกอาจทาให้การทางานของเพาเวอร์ซพพลายผิดพลาดได้ เนื่องจากเพาเวอร์ ซพพลายพยายามจ่ายพลังงานให้กบ
                                       ั                                ั                          ั
วงจรอย่างสม่าเสมอโดยไปเพิ่มกระแส แต่การเพิ่มกระแสทาให้ตวนาเพาเวอร์ ซพพลายและอุปกรณ์ต่าง ๆ ร้อนขึ้น
                                                            ั             ั
ซึ่ งมีผลทาให้อุปกรณ์ต่างๆ เกิดความเสี ยหายได้

3. ทรานเชียนต์
   ทรานเชียนต์หมายถึง การที่ไฟฟ้ ามีแรงดันสุ ง(sags)หรื อต่ากว่าปกติ(surge)ในช่วงระยะเวลาสั้นๆทรานเชียนต์ที่
                                        ่                    ่
เกิดในบางครั้งจะมีความถี่สูงมากจนกระทังสามารถ เคลื่อนที่ผานตัวเก็บประจุไฟฟ้ าในเพาเวอร์ ซพพลาย เข้าไปทา
                                                                                             ั
ความเสี ยหาย ให้แก่อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ได้

4. ไฟกระเพือม ่
   ทุกครั้งที่ท่านเปิ ดเครื่ องใช้ไฟฟ้ าจะทาให้กาลังไฟเกิดการกระเพื่อม เครื่ องใช้ไฟฟ้ ที่ตองการกระแสไฟฟ้ ามาก ๆ ก็
                                                                                           ้
จะทาให้ความแรงของการกระเพื่อมมีค่ามากตามไปด้วย จากการศึกษาพบว่าการเปิ ดใช้งานเครื่ องใช้ไฟฟ้ าแต่ละครั้ง
จะทาให้เกิดการกระเพื่อมภายในเสี้ ยววินาทีการกระเพื่อมจะมีผลต่อทุกๆส่ วนภายในตัวเครื่ อง รวมทั้งหัวอ่านข้อมูล
ของฮาร์ดดิสค์ดวย  ้

เอกสารประกอบการเรี ยนการสอน รายวิชาเพิ่มเติม(คอมพิวเตอร์ 2) โดย นายชาตรี หัสสะโร                              หน้า 3
วิธีแก้ไข
• ในกรณี ไฟเกิน ไฟตก และทรานเชียนต์ แก้ไขได้โดยการใช้เครื่ องควบคุมกระแสไฟฟ้ า หรื อ ที่เรี ยกว่า Stabilizer
• ส่ วนไปกระเพื่อม แก้ได้โดยการลดจานวนครั้งในการปิ ดเปิ ดเครื่ อง




ไฟฟาสถิตย์
   ้

   ไฟฟ้ าสถิตย์สามารถเกิดขึ้นได้ทุกฤดูกาลแต่ในสภาวะที่อากาศแห้งจะส่ งผลให้ความเป็ นฉนวนไฟฟ้ าสู งประจุของ
ไฟฟ้ าสถิตย์จะสะสมอยูเ่ ป็ นจานวนมาก และหาทางวิงผ่านตัวนาไปยังบริ เวณที่มีศกย์ไฟฟ้ าต่ากว่า ดังนั้นเมื่อท่านไป
                                                  ่                              ั
จับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ประจุของไฟฟ้ าสถิตย์จากตัวท่านจะวิงไปยังอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เหล่านั้นทาให้อุปกรณ์
                                                                ่
เกิดความเสี ยหายได้ แต่ในสภาวะที่มีความชื้นสู ง ไฟฟ้ าสถิตย์ที่เกิดขึ้นจะรั่วไหลหายไปในระยะเวลาอันสั้น

วิธีแก้ไข
• ควรทาการคายประจุไฟฟ้ าสถิตย์ ด้วยการจับต้องโลหะอื่นที่ไม่ใช้ตวถังเครื่ องคอมพิวเตอร์ ก่อนจะสัมผัสอุปกรณ์
                                                               ั
ต่างๆ ในระบบคอมพิวเตอร์




นาและสนิม
 ้

  น้ าและสนิมเป็ นศัตรู ตวร้ายของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ทุกชนิดสนิมที่พบในเมนบอร์ ดของคอมพิวเตอร์ มกจะเกิด
                         ั                                                                                 ั
จากการรั่วซึ มของแบตเตอรี่ บนเมนบอร์ ดซึ่ งถ้าเกิดปั ญหานี้ข้ ึน นันหมายความว่าท่านจะต้องควักกระเป๋ าซื้ อ
                                                                   ่
เมนบอร์ ดตัวใหม่มาทดแทนตัวเก่าที่ตองทิงลงถังขยะสถานเดียว
                                    ้ ้

วิธีแก้ไข
• หลีกเลี่ยงการนาของเหลวทุกชนิดมาวางบนโต๊ะคอมพิวเตอร์ ของท่าน
• กรณี การรั่วซึ มของแบตเตอรี่ แก้ไขได้โดยการเปลี่ยนแบตเตอรี่ ใหม่ เมื่อเครื่ องของท่านมีอายุการใช้งานได้
ประมาณ 1-2 ปี เป็ นต้นไป




เอกสารประกอบการเรี ยนการสอน รายวิชาเพิ่มเติม(คอมพิวเตอร์ 2) โดย นายชาตรี หัสสะโร                            หน้า 4
การบารุ งรักษาตัวเครื่องทัวๆไป
                          ่
• เครื่ องจ่ายไฟสารอง (UPS) ถ้ามีงบประมาณเพียงพอควรติดตั้งร่ วมกับตัวเครื่ องคอมพิวเตอร์ ด้วยเพราะ UPS จะ
                                      ่
ช่วยป้ องกันและแก้ปัญหาทางไฟฟ้ าไม่วาจะเป็ นไฟตก ไฟเกิน หรื อไฟกระชาก อันเป็ นสาเหตุที่จะทาให้เกิดความ
เสี ยหายของข้อมูลและชิ้นส่ วนอื่นๆ

• การติดตั้งตัวเครื่ องคอมพิวเตอร์ ควรติดตั้งในห้องที่มีเครื่ องปรับอากาศหรื อถ้ามีไม่มีเครื่ องปรับอากาศควรเลือก
ห้องที่ปลอดฝุ่ นมากที่สุดและการติดตั้งตัวเครื่ อง ควรจากผนังพอสมควรเพื่อการระบายความร้อนที่ดี
• การต่อสาย Cable ระหว่างเครื่ องคอมพิวเตอร์ กบอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น Printer Modem Fax หรื อ ส่ วนอื่น ๆ จะต้อง
                                                   ั
กระทาเมื่อ power off เท่านั้น
• อย่าปิ ด - เปิ ดเครื่ องบ่อยๆ เกินความจาเป็ น เพราะจะทาให้เกิดความเสี ยหายแก่โปรแกรมที่กาลังทางานอยู่
• ไม่เคลื่อนย้ายเครื่ องคอมพิวเตอร์ ขณะที่เครื่ องทางานอยู่ เพราะจะทาให้อุปกรณ์บางตัวเกิดความเสี ยหายได้
• อย่าเปิ ดฝาเครื่ องขณะใช้งานอยู่ ถ้าต้องการเปิ ดต้อง power off และถอดปลักไฟก่อน
                                                                              ๊
• ควรศึกษาจากคู่มือก่อนหรื อการอบรมการใช้งาน Software ก่อนการใช้งาน
   ตัวถังภายนอกของเครื่ องคอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่เป็ นส่ วนประกอบของเหล็กกับพลาสติกเมื่อใช้นานๆจะมีฝุ่นและ
คราบรอยนิ้วมือ มาติดทาให้ดูไม่สวยงามและถ้าปล่อยไว้นานๆจะทาความสะอาดยากจึงควรทาความสะอาดบ่อยๆ
อย่างน้อย1-2เดือนต่อครั้งโดยใช้ผาชุบน้ าหมาดๆ เช็ดที่ตวเครื่ องหรื อใช้น้ ายาทาความสะอาดเครื่ อง คอมพิวเตอร์
                                      ้                   ั
โดยเฉพาะและที่สาคัญคือควรใช้ผาคลุมเครื่ องให้เรี ยบร้อยหลังเลิกใช้งานทุกครั้งเพื่อป้ องกันฝุ่ นผงต่างๆ
                                        ้




                     การบารุ งรักษา Hard Disk

     ฮาร์ ดดิสก์เป็ นอุปกรณ์ที่มีอายุยนมากยากจะบารุ งรักษาด้วยตัวเอง ผูใช้คอมพิวเตอร์ จึงควรระมัดระวังไม่ให้เกิด
                                      ื                                ้
ความเสี ยหาย
ซึ่ งควรปฏิบติดงต่อไปนี้
               ั ั
• การติดตั้งเครื่ องคอมพิวเตอร์ ควรติดตั้งเครื่ องคอมพิวเตอร์ โดยให้ดานหลังของตัวเครื่ องคอมพิวเตอร์ ห่างจากฝา
                                                                     ้
ผนังไม่นอย  ้
กว่า 3 นิ้ว เพื่อการระบายความร้อน เป็ นอย่างปกติไม่ทาให้เครื่ องร้อนได้
• ควรเลือกใช้โตีะทางานที่แข็งแรงป้ องกันการโยกไปมาเพราะทาให้หวอ่านของฮาร์ ดดิสก์ถูกกระทบกระเทือนได้
                                                                         ั

เอกสารประกอบการเรี ยนการสอน รายวิชาเพิ่มเติม(คอมพิวเตอร์ 2) โดย นายชาตรี หัสสะโร                             หน้า 5
• ควรมีการตรวจสอบสถานภาพของ Hard Disk ด้วยโปรแกรม Utility ต่างๆว่ายังสามารถใช้งานได้ครบ 100 % หรื อ
มีส่วนใด
ของ Hard Disk ที่ใช้งานไม่ได้




                    การบารุ งรักษา Disk Drive

   ช่องอ่านดิสก์เมื่อทางานไปนานๆหัวอ่านแผ่นดิสก์อาจจะเสื่ อมสภาพไปได้ หัวอ่านดิสก์เกิดความสกปรกเน่องจาก
มีฝนละออง
    ุ่
เข้าไปเกาะที่หวอ่านหรื อเกิดจากความสกปรกของแผ่นดิสก์ที่มีฝน หรื อคราบไขมันจากมือ ผลที่เกิดขึ้นทาให้การ
              ั                                             ุ่
บันทึกหรื ออ่าน
ข้อมูลจากแผ่นดิสก์ไม่สามารถดาเนินการได้




                      การดูแลรักษา Disk Drive ควรปฏิบติดงนี้
                                                         ั ั
• เลือกใช้แผ่นดิสก์ที่สะอาดคือไม่มีคราบฝุ่ น ไขมัน หรื อรอยขูดขีดใดๆ
• ใช้น้ ายาล้างหัวอ่านดิสก์ทุกๆเดือน
• หลีกเลี่ยงการใช้แผ่นดิสก์เก่าที่เก็บไว้นานๆ เพราะจะทาให้หวอ่าน Disk Drive สกปรกได้ง่าย
                                                             ั




                    การบารุ งรักษา Monitor

   ในส่ วนของจอภาพนั้นอาจเสี ยหายได้เช่น ภาพอาการเลื่อนไหลภาพล้ม ภาพเต้นหรื อไม่มีภาพเลย ซึ่ งความเสี ยหาย
ดังกล่าวจะ
ต้องให้ช่างเท่านั้นเป็ นผูแก้ไขผูใช้คอมพิวเคอร์ ควรระมัดระวัง โดยปฏิบติดงนี้
                           ้     ้                                           ั ั
• อย่าให้วตถุหรื อน้ าไปกระทบหน้าจอคอมพิวเตอร์
           ั
• ควรเปิ ดไฟที่จอก่อนที่สวิซไฟที่ CPU เพื่อ boot เครื่ อง
• ไม่ควรปิ ดๆ เปิ ดๆ เครื่ องติดๆกัน เมื่อปิ ดเครื่ องแล้วทิ้งระยะไว้เล็กน้อยก่อนเปิ ดใหม่
• ควรปรับความสว่างของจอภาพให้เหมาะสมกับสภาพของห้องทางาน เพราะถ้าสว่างมากเกินไปย่อมทาให้จอภาพ
อายุส้ ันลง

เอกสารประกอบการเรี ยนการสอน รายวิชาเพิ่มเติม(คอมพิวเตอร์ 2) โดย นายชาตรี หัสสะโร                    หน้า 6
• อย่าเปิ ดฝาหลัง Monitor ซ่อมเอง เพราะจะเป็ นอันตรายจากกระแสไฟฟ้ าแรงสู ง
• เมื่อมีการเปิ ดจอภาพทิ้งไว้นานๆ ควรจะมีการเรี ยกโปรแกมถนอมจอภาพ (Screen Sever) ขึ้นมาทางานเพื่อยืดอายุ
การใช้งาน
ของจอภาพ




                    การบารุ งรักษา Inkjet & Dotmatrix Printer

    เครื่ องพิมพ์เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับแสดงผล รายงาน ของข้อมูลต่างๆทางกระดาษ การที่จะใช้เครื่ องพิมพ์ทางาน
ได้เป็ นปกติ
ผูใช้คอมพิวเตอร์ ควรหมันดูแลรักษาดังนี้
  ้                        ่
•รักษาความสะอาดโดยดูดฝุ่ นเศษกระดาษที่ติดอยูในเครื่ องพิมพ์ทุกเดือนหรื อใช้แปรงขนนุ่มปั ดฝุ่ นเศษกระดาษออก
                                                    ่
จากเครื่ อง
พิมพ์อย่าใช้แปรงชนิดแข็งเพราะอาจทาให้เครื่ องเป็ นรอยได้
• ถ้าตัวเครื่ องพิมพ์มีความสกปรกอาจ ใช้ผานุ่มหรื อฟองน้ าชุบน้ ายาทาความสะอาดเครื่ องใช้สานักงานเช็ดถูส่วนที่เป
                                            ้
นพลาสติก
แต่ตองระมัดระวัง อย่าใช้น้ าเข้าตัวเครื่ องพิมพ์ได้ และควร หลีกเลี่ยงการใช้น้ ามันหล่อลื่นทุกชนิด ในตัวเครื่ อง
       ้
เพราะ อาจทาให้
ระบบกลไกเสี ยหายได้
• ก่อนพิมพ์ทุกครั้งควรปรับความแรง ของหัวเข็มให้พอเหมาะกับความหนาของกระดาษ
• ระหว่างพิมพ์ควรระวังหัวพิมพ์จะติดกระดาษ เช่น การพิมพ์ซองจดหมาย หรื อกระดาษที่มีความหนาหรื อบาง
เกินไป
• อย่าถอดหรื อเสี ยบสาย Cable ในขณะที่เครื่ องพิมพ์ หรื อเครื่ องคอมพิวเตอร์ กาลังทางานอยู่
• ไม่ควรพิมพ์กระดาษติดต่อกันนานเกินไปเพราะอาจทาให้หวอ่านร้อนมากทาให้เครื่ องชะงักหยุดพิมพ์กระดาษ
                                                               ั
• เมื่อเลิกพิมพ์งานควรนากระดาษออกจากถาดกระดาษ และช่องนากระดาษ
• ไม่ควรใช้กระดาษไข(Stencil Paper)แบบธรรมดากับเครื่ องพิมพ์ประเภทแบบกระแทก(Dotmatrix Printer)
เนื่องจากเศษของ
กระดาษไขอาจจะไปอุดตันเข็มพิมพ์ อาจทาให้เข็มพิมพ์อาจหักได ้้ควรใช้กระดาษไขสาหรับเครื่ องพิมพ ้์แทน
เพื่อป้ องกันการ
ชารุ ดของเฟื องที่ใช้หมุนกระดาษ



เอกสารประกอบการเรี ยนการสอน รายวิชาเพิ่มเติม(คอมพิวเตอร์ 2) โดย นายชาตรี หัสสะโร                          หน้า 7
การบารุ งรักษา Laser Printer

   Laser Printer เป็ นเครื่ องพิมพ์ที่มีประสิ ทธิ ภาพสู งสามารถพิมพ์ภาพได้อย่างคมชัดมากมีความละเอียดสวยงาม แต่
ราคาค่อน
          ้                                                    ่
ข้างสู งผูใช้คอมพิวเตอร์ จึงควรระมัดระวังในการใช้งานแม้วาโอกาสจะเสี ยหายมีนอยก็ตาม ข้อควรปฏิบติดงนี้
                                                                                  ้                 ั ั
• การเลือกใช้กระดาษไม่ควรใช้กระดาษ ที่หนาเกินไปจะทาให้กระดาษติดเครื่ องพิมพ์ได้
• ควรกรี ดกระดาษให้ด ้ี อย่าให้กระดาษติดกัน เพราะอาจจะเป็ นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้กระดาษติดในตัวเครื่ องพิมพ์ได้
• การใช้พิมพ์ Laser Printer พิมพ์ลงในแผ่นใส ก็ตองเลือกใช้แผ่นใสที่ใช้ถ่ายเอกสารได้เท่านั้นหากใช่แผ่นใสแบบ
                                                      ้
ธรรดาซึ่งไม
้่สามารถทนความร้อนได้อาจจะหลอมละลายติดเครื่ องพิมพ์ทาให้เกิดความเสี ยหาย

http://www.dnp15.com/informational/it2.htm




เอกสารประกอบการเรี ยนการสอน รายวิชาเพิ่มเติม(คอมพิวเตอร์ 2) โดย นายชาตรี หัสสะโร                        หน้า 8

Contenu connexe

Similaire à 2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์

บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์Timmy Printhong
 
กลุ่ม1ชั้นม.301
กลุ่ม1ชั้นม.301กลุ่ม1ชั้นม.301
กลุ่ม1ชั้นม.301Nattarika Somkrua
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีKawinTheSinestron
 
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์Pokypoky Leonardo
 
เรียบร้อย
เรียบร้อยเรียบร้อย
เรียบร้อยArnan Khankham
 
เรียบร้อย
เรียบร้อยเรียบร้อย
เรียบร้อยArnan Khankham
 
การแก้ไขและฟื้นฟูระบบไฟฟ้ากำลัง เครื่องจักรและอุปกรณ์หลังวิกฤติน้ำท่วม โดยสมา...
การแก้ไขและฟื้นฟูระบบไฟฟ้ากำลัง เครื่องจักรและอุปกรณ์หลังวิกฤติน้ำท่วม โดยสมา...การแก้ไขและฟื้นฟูระบบไฟฟ้ากำลัง เครื่องจักรและอุปกรณ์หลังวิกฤติน้ำท่วม โดยสมา...
การแก้ไขและฟื้นฟูระบบไฟฟ้ากำลัง เครื่องจักรและอุปกรณ์หลังวิกฤติน้ำท่วม โดยสมา...Natkon Woraputthirunmas
 
บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)
บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)
บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)Nattipong Siangyen
 
งานนำเสนอ1 อ. อรรวรรณ
งานนำเสนอ1 อ. อรรวรรณงานนำเสนอ1 อ. อรรวรรณ
งานนำเสนอ1 อ. อรรวรรณklang10201
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงานsangzaclub
 
สุขภาพของผู้ทำงานกับคอมฯ
สุขภาพของผู้ทำงานกับคอมฯสุขภาพของผู้ทำงานกับคอมฯ
สุขภาพของผู้ทำงานกับคอมฯอำพร มะนูรีม
 
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_Rattanathon Phetthom
 
Pratom computer 01
Pratom computer 01Pratom computer 01
Pratom computer 01pavinee1234
 
บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)
บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)
บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)Nattipong Siangyen
 
เรียบร้อย
เรียบร้อยเรียบร้อย
เรียบร้อยArnan Khankham
 
เรียบร้อย
เรียบร้อยเรียบร้อย
เรียบร้อยArnan Khankham
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Da Arsisa
 

Similaire à 2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์ (20)

บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
 
Learnning01
Learnning01Learnning01
Learnning01
 
กลุ่ม1ชั้นม.301
กลุ่ม1ชั้นม.301กลุ่ม1ชั้นม.301
กลุ่ม1ชั้นม.301
 
onet-Work4-49
onet-Work4-49onet-Work4-49
onet-Work4-49
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
 
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
 
เรียบร้อย
เรียบร้อยเรียบร้อย
เรียบร้อย
 
เรียบร้อย
เรียบร้อยเรียบร้อย
เรียบร้อย
 
การแก้ไขและฟื้นฟูระบบไฟฟ้ากำลัง เครื่องจักรและอุปกรณ์หลังวิกฤติน้ำท่วม โดยสมา...
การแก้ไขและฟื้นฟูระบบไฟฟ้ากำลัง เครื่องจักรและอุปกรณ์หลังวิกฤติน้ำท่วม โดยสมา...การแก้ไขและฟื้นฟูระบบไฟฟ้ากำลัง เครื่องจักรและอุปกรณ์หลังวิกฤติน้ำท่วม โดยสมา...
การแก้ไขและฟื้นฟูระบบไฟฟ้ากำลัง เครื่องจักรและอุปกรณ์หลังวิกฤติน้ำท่วม โดยสมา...
 
บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)
บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)
บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)
 
งานนำเสนอ1 อ. อรรวรรณ
งานนำเสนอ1 อ. อรรวรรณงานนำเสนอ1 อ. อรรวรรณ
งานนำเสนอ1 อ. อรรวรรณ
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
สุขภาพของผู้ทำงานกับคอมฯ
สุขภาพของผู้ทำงานกับคอมฯสุขภาพของผู้ทำงานกับคอมฯ
สุขภาพของผู้ทำงานกับคอมฯ
 
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_
 
Pratom computer 01
Pratom computer 01Pratom computer 01
Pratom computer 01
 
บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)
บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)
บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)
 
แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1
แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1
แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1
 
เรียบร้อย
เรียบร้อยเรียบร้อย
เรียบร้อย
 
เรียบร้อย
เรียบร้อยเรียบร้อย
เรียบร้อย
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 

Plus de Chatree MChatree

กุลกันยา เอียดศรี เลขที่30 ป.5
กุลกันยา   เอียดศรี  เลขที่30  ป.5กุลกันยา   เอียดศรี  เลขที่30  ป.5
กุลกันยา เอียดศรี เลขที่30 ป.5Chatree MChatree
 
2.3 การติดตั้งอุปกรณ์ต่อพ่วง
2.3 การติดตั้งอุปกรณ์ต่อพ่วง2.3 การติดตั้งอุปกรณ์ต่อพ่วง
2.3 การติดตั้งอุปกรณ์ต่อพ่วงChatree MChatree
 
2.3 การติดตั้งอุปกรณ์ต่อพ่วง
2.3 การติดตั้งอุปกรณ์ต่อพ่วง2.3 การติดตั้งอุปกรณ์ต่อพ่วง
2.3 การติดตั้งอุปกรณ์ต่อพ่วงChatree MChatree
 
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์Chatree MChatree
 
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์Chatree MChatree
 
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์Chatree MChatree
 
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์Chatree MChatree
 
1.3 ทักษะการใช้เมาส์และแป้นพิมพ์
1.3 ทักษะการใช้เมาส์และแป้นพิมพ์1.3 ทักษะการใช้เมาส์และแป้นพิมพ์
1.3 ทักษะการใช้เมาส์และแป้นพิมพ์Chatree MChatree
 
1.2 การเปิด ปิดคอมพิวเตอร์และแก้ปัญหาเบื้องต้น
1.2 การเปิด ปิดคอมพิวเตอร์และแก้ปัญหาเบื้องต้น1.2 การเปิด ปิดคอมพิวเตอร์และแก้ปัญหาเบื้องต้น
1.2 การเปิด ปิดคอมพิวเตอร์และแก้ปัญหาเบื้องต้นChatree MChatree
 
1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์Chatree MChatree
 

Plus de Chatree MChatree (10)

กุลกันยา เอียดศรี เลขที่30 ป.5
กุลกันยา   เอียดศรี  เลขที่30  ป.5กุลกันยา   เอียดศรี  เลขที่30  ป.5
กุลกันยา เอียดศรี เลขที่30 ป.5
 
2.3 การติดตั้งอุปกรณ์ต่อพ่วง
2.3 การติดตั้งอุปกรณ์ต่อพ่วง2.3 การติดตั้งอุปกรณ์ต่อพ่วง
2.3 การติดตั้งอุปกรณ์ต่อพ่วง
 
2.3 การติดตั้งอุปกรณ์ต่อพ่วง
2.3 การติดตั้งอุปกรณ์ต่อพ่วง2.3 การติดตั้งอุปกรณ์ต่อพ่วง
2.3 การติดตั้งอุปกรณ์ต่อพ่วง
 
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
 
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
1.3 ทักษะการใช้เมาส์และแป้นพิมพ์
1.3 ทักษะการใช้เมาส์และแป้นพิมพ์1.3 ทักษะการใช้เมาส์และแป้นพิมพ์
1.3 ทักษะการใช้เมาส์และแป้นพิมพ์
 
1.2 การเปิด ปิดคอมพิวเตอร์และแก้ปัญหาเบื้องต้น
1.2 การเปิด ปิดคอมพิวเตอร์และแก้ปัญหาเบื้องต้น1.2 การเปิด ปิดคอมพิวเตอร์และแก้ปัญหาเบื้องต้น
1.2 การเปิด ปิดคอมพิวเตอร์และแก้ปัญหาเบื้องต้น
 
1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
 

2.2 การปฏิบัติ การบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์

  • 1. การบารุงรักษาคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เมื่อใช้ไประยะหนึ่งจะมีการเสื่ อมชารุ ดไปตามสภาพระยะเวลาที่ใช้งานผูใช้คอมพิวเตอร์ จึงควร ้ เอาใจใส่ ดูแลและบารุ งรักษาอย่างเหมาะสม สม่าเสมอเพื่อเพิ่มอายุ การใช้งานของเครื่ องคอมพิวเตอร์ ซ่ ึ งจะช่วยให้ สามารถ ประหยัดงบประมาณในการซ่อมบารุ งหรื อการเปลี่ยนอุปกรณ์สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมที่คอมพิวเตอร์ ของคุณ จะทางานได้ดีน้ นคือ อย่างไรเช่นในห้องคอมพิวเตอร์ ของคุณ ควรจะมีอุณหภูมิสูงเท่าไร มีความชื้นไม่เกินเท่าไร ั ขีดจากัดของการทางานเป็ นอย่างไร ระยะเวลาในการทางานของเครื่ องเป็ นอย่างไร ดังนั้น ห้องทางานด้าน คอมพิวเตอร์จึงควรเป็ น ห้องปรับอากาศที่ปราศจากฝุ่ น และความชื้น ซอฟแวร์ แผ่นดิสก์ที่เก็บซอฟแวร์ และ ไฟล์ขอมูล หรื อสารสนเทศนั้นอาจเสี ยหายได้ ถ้าหากว่าแผ่นดิสต์ได้รับการขีดข่วนได้รับความร้อนสู ง หรื อ ตก ้ กระทบกระแทกแรง ๆ สิ่ งที่ทาลายซอฟแวร์ ได้แก่ ความร้อน ความชื้น ฝุ่ น ควัน และการฉี ดสเปรย์พวก น้ ายาหรื อน้ าหอม ต่าง ๆ เป็ นต้น การทาความสะอาดระบบคอมพิวเตอร์ ่ ้ 1. ไม่ควรทาความสะอาดเครื่ องคอมพิวเตอร์ ขณะที่เครื่ องยังเปิ ดอยูถาคุณจะทาความ สะอาดเครื่ อง ควรปิ ดเครื่ องทิง ้ ไว้ 5 นาที ก่อนลงมือทาความสะอาด 2. อย่าใช้ผาเปี ยก ผ้าชุ่มน้ า เช็ดคอมพิวเตอร์ อย่างเด็ดขาด ใช้ผาแห้งดีกว่า ้ ้ 3. อย่าใช้สบู่ น้ ายาทาความสะอาดใด ๆ กับคอมพิวเตอร์ เพราะจะทาให้ระบบของเครื่ อง เกิดความเสี ยหาย 4. ไม่ควรฉี ดสเปรย์ใด ๆ ไปที่คอมพิวเตอร์ แป้ นพิมพ์ และอุปกรณ์ต่าง ๆ 5. ไม่ควรใช้เครื่ องดูดฝุ่ นกับคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ประกอบอื่น ๆ 6. ถ้าคุณจาเป็ นต้องทาความสะอาดเครื่ องคอมพิวเตอร์ โปรดใช้อุปกรณ์ทาความสะอาด ที่คู่มือแนะนาไว้เท่านั้น 7. ไม่ควรดื่มน้ าชา กาแฟ เครื่ องดื่มต่าง ๆ ในขณะที่ใช้คอมพิวเตอร์ 8. ไม่ควรกินของคบเคี้ยวหรื ออาหารใด ๆ ขณะทางานด้วยเครื่ องคอมพิวเตอร์ เอกสารประกอบการเรี ยนการสอน รายวิชาเพิ่มเติม(คอมพิวเตอร์ 2) โดย นายชาตรี หัสสะโร หน้า 1
  • 2. สาเหตุททาให้ เครื่องพีซีเกิดความเสี ยหาย ี่ 1. ความร้ อน ความร้อน ที่เป็ นสาเหตุทาให้คอมพิวเตอร์ มีปัญหาส่ วนใหญ่ เกิดจากความร้อนของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์บน เมนบอร์ ดของคอมพิวเตอร์ เองวิธีแก้ปัญหาคือจะต้องรี บระบายความร้อนที่เกิดจากอุปกรณื ต่างๆ ออกไปให้เร็ วที่สุด วิธีแก้ปัญหา • พัดลมระบายความร้อนทุกตัวในระบบต้องอยูในสภาพดี 100 เปอร์ เซนต์ อุณหภูมิที่เหมาะสมที่สุดควรจะอยู่ ่ ระหว่าง 60-70 องศาฟาเรนไฮต์ • ใช้เพาเวอร์ซพพลาย ในขนาดที่ถูกต้อง ั ่ • ใช้งานเครื่ องในย่านอุณหภูมิที่ปลอดภัย อย่าตั้งอยูในบริ เวณที่มีแสงแดดส่ องถึงเป็ นเวลานานๆ 2. ฝุ่ นผง ่ ่ ่ เป็ นที่ทราบกันดีวาในอากาศมีฝนผงกระจัดกระจายอยูในทุกๆที่ฝนผงที่เกาะติดอยูบนแผงวงจรของคอมพิวเตอร์ ุ่ ุ่ ทาหน้าที่เสมือนฉนวนป้ องกันความร้อน ทาให้ความร้อนที่เกิดขึ้นในระบบไม่สามารถระบายออกสู่ สภาพแวดล้อม ่ ภายนอกนอกจากนี้อาจไปอุดตันช่องระบายอากาศของเพาเวอร์ ซพพลาย หรื อฮาร์ดดิสค์ หรื ออาจเข้าไปอยูระหว่าง ั ั แผ่นดิสค์กบหัวอ่าน ทาให้แผ่นดิสค์หรื อหัวอ่านเกิดความเสี ยหายได้ วิธีแก้ไข • ควรทาความสะอาดภายในเครื่ องทุก 6 เดือน หรื อทุกครั้งที่ถอดฝาครอบ • ตัวถัง หรื อ ชิ้นส่ วนภายนอกอาจใช้สเปรย์ทาความสะอาด • วงจรภายในให้ใช้ลมเป่ าและใช้แปรงขนอ่อนๆ ปั ดฝุ่ นออก • อย่าสู บบุหรี่ ใกล้เครื่ องคอมพิวเตอร์ 3. สนามแม่ เหล็ก แม่เหล็กสามารถทาให้ขอมูลในแผ่นดิสก์หรื อฮาร์ ดดิสก็สูญหายได้อย่างถาวรแหล่งที่ให้กาเนิดสนามแม่เหล็กใน ้ ่ สานักงานมีอยูมากมาหลายประเภท อาทิเช่น • แม่เหล็กติดกระดาษบันทึกบนตูเ้ ก็บแฟ้ ม • คลิปแขวนกระดาษแบบแม่เหล็ก เอกสารประกอบการเรี ยนการสอน รายวิชาเพิ่มเติม(คอมพิวเตอร์ 2) โดย นายชาตรี หัสสะโร หน้า 2
  • 3. • ไขควงหัวแม่เหล็ก • ลาโพง • มอเตอร์ในพริ นเตอร์ • UPS วิธีแก้ไข • ควรโยกย้ายอุปกรณ์ที่มีกาลังแม่เหล็กมากๆ ให้ห่างจากระบบคอมพิวเตอร์ สัญญาณรบกวนในสายไฟฟ้ า สัญญาณรบกวนในสายไฟฟ้ ามีหลายลักษณะ อาทิเช่น • แรงดันเกิน • แรงดันตก • ทรานเชียนต์ • ไฟกระเพื่อม 1. แรงดันเกิน ในกรณี ท่ีเครื่ องของท่านได้รับแรงดันไฟฟ้ าเกินจากปกติเป็ นเวลานานกว่า วินาที จะมีผลทาให้อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ภายในเครื่ องเกิดความเสี ยหายได้ 2. แรงดันตก ในกรณี ท่ีมีการใช้ไฟฟ้ ากันมากเกินความสามารถในการจ่ายพลังงานไฟฟ้ าจะมีผลทาให้เกิดเหตุการณ์ไฟตกได้ไฟ ตกอาจทาให้การทางานของเพาเวอร์ซพพลายผิดพลาดได้ เนื่องจากเพาเวอร์ ซพพลายพยายามจ่ายพลังงานให้กบ ั ั ั วงจรอย่างสม่าเสมอโดยไปเพิ่มกระแส แต่การเพิ่มกระแสทาให้ตวนาเพาเวอร์ ซพพลายและอุปกรณ์ต่าง ๆ ร้อนขึ้น ั ั ซึ่ งมีผลทาให้อุปกรณ์ต่างๆ เกิดความเสี ยหายได้ 3. ทรานเชียนต์ ทรานเชียนต์หมายถึง การที่ไฟฟ้ ามีแรงดันสุ ง(sags)หรื อต่ากว่าปกติ(surge)ในช่วงระยะเวลาสั้นๆทรานเชียนต์ที่ ่ ่ เกิดในบางครั้งจะมีความถี่สูงมากจนกระทังสามารถ เคลื่อนที่ผานตัวเก็บประจุไฟฟ้ าในเพาเวอร์ ซพพลาย เข้าไปทา ั ความเสี ยหาย ให้แก่อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ได้ 4. ไฟกระเพือม ่ ทุกครั้งที่ท่านเปิ ดเครื่ องใช้ไฟฟ้ าจะทาให้กาลังไฟเกิดการกระเพื่อม เครื่ องใช้ไฟฟ้ ที่ตองการกระแสไฟฟ้ ามาก ๆ ก็ ้ จะทาให้ความแรงของการกระเพื่อมมีค่ามากตามไปด้วย จากการศึกษาพบว่าการเปิ ดใช้งานเครื่ องใช้ไฟฟ้ าแต่ละครั้ง จะทาให้เกิดการกระเพื่อมภายในเสี้ ยววินาทีการกระเพื่อมจะมีผลต่อทุกๆส่ วนภายในตัวเครื่ อง รวมทั้งหัวอ่านข้อมูล ของฮาร์ดดิสค์ดวย ้ เอกสารประกอบการเรี ยนการสอน รายวิชาเพิ่มเติม(คอมพิวเตอร์ 2) โดย นายชาตรี หัสสะโร หน้า 3
  • 4. วิธีแก้ไข • ในกรณี ไฟเกิน ไฟตก และทรานเชียนต์ แก้ไขได้โดยการใช้เครื่ องควบคุมกระแสไฟฟ้ า หรื อ ที่เรี ยกว่า Stabilizer • ส่ วนไปกระเพื่อม แก้ได้โดยการลดจานวนครั้งในการปิ ดเปิ ดเครื่ อง ไฟฟาสถิตย์ ้ ไฟฟ้ าสถิตย์สามารถเกิดขึ้นได้ทุกฤดูกาลแต่ในสภาวะที่อากาศแห้งจะส่ งผลให้ความเป็ นฉนวนไฟฟ้ าสู งประจุของ ไฟฟ้ าสถิตย์จะสะสมอยูเ่ ป็ นจานวนมาก และหาทางวิงผ่านตัวนาไปยังบริ เวณที่มีศกย์ไฟฟ้ าต่ากว่า ดังนั้นเมื่อท่านไป ่ ั จับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ประจุของไฟฟ้ าสถิตย์จากตัวท่านจะวิงไปยังอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เหล่านั้นทาให้อุปกรณ์ ่ เกิดความเสี ยหายได้ แต่ในสภาวะที่มีความชื้นสู ง ไฟฟ้ าสถิตย์ที่เกิดขึ้นจะรั่วไหลหายไปในระยะเวลาอันสั้น วิธีแก้ไข • ควรทาการคายประจุไฟฟ้ าสถิตย์ ด้วยการจับต้องโลหะอื่นที่ไม่ใช้ตวถังเครื่ องคอมพิวเตอร์ ก่อนจะสัมผัสอุปกรณ์ ั ต่างๆ ในระบบคอมพิวเตอร์ นาและสนิม ้ น้ าและสนิมเป็ นศัตรู ตวร้ายของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ทุกชนิดสนิมที่พบในเมนบอร์ ดของคอมพิวเตอร์ มกจะเกิด ั ั จากการรั่วซึ มของแบตเตอรี่ บนเมนบอร์ ดซึ่ งถ้าเกิดปั ญหานี้ข้ ึน นันหมายความว่าท่านจะต้องควักกระเป๋ าซื้ อ ่ เมนบอร์ ดตัวใหม่มาทดแทนตัวเก่าที่ตองทิงลงถังขยะสถานเดียว ้ ้ วิธีแก้ไข • หลีกเลี่ยงการนาของเหลวทุกชนิดมาวางบนโต๊ะคอมพิวเตอร์ ของท่าน • กรณี การรั่วซึ มของแบตเตอรี่ แก้ไขได้โดยการเปลี่ยนแบตเตอรี่ ใหม่ เมื่อเครื่ องของท่านมีอายุการใช้งานได้ ประมาณ 1-2 ปี เป็ นต้นไป เอกสารประกอบการเรี ยนการสอน รายวิชาเพิ่มเติม(คอมพิวเตอร์ 2) โดย นายชาตรี หัสสะโร หน้า 4
  • 5. การบารุ งรักษาตัวเครื่องทัวๆไป ่ • เครื่ องจ่ายไฟสารอง (UPS) ถ้ามีงบประมาณเพียงพอควรติดตั้งร่ วมกับตัวเครื่ องคอมพิวเตอร์ ด้วยเพราะ UPS จะ ่ ช่วยป้ องกันและแก้ปัญหาทางไฟฟ้ าไม่วาจะเป็ นไฟตก ไฟเกิน หรื อไฟกระชาก อันเป็ นสาเหตุที่จะทาให้เกิดความ เสี ยหายของข้อมูลและชิ้นส่ วนอื่นๆ • การติดตั้งตัวเครื่ องคอมพิวเตอร์ ควรติดตั้งในห้องที่มีเครื่ องปรับอากาศหรื อถ้ามีไม่มีเครื่ องปรับอากาศควรเลือก ห้องที่ปลอดฝุ่ นมากที่สุดและการติดตั้งตัวเครื่ อง ควรจากผนังพอสมควรเพื่อการระบายความร้อนที่ดี • การต่อสาย Cable ระหว่างเครื่ องคอมพิวเตอร์ กบอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น Printer Modem Fax หรื อ ส่ วนอื่น ๆ จะต้อง ั กระทาเมื่อ power off เท่านั้น • อย่าปิ ด - เปิ ดเครื่ องบ่อยๆ เกินความจาเป็ น เพราะจะทาให้เกิดความเสี ยหายแก่โปรแกรมที่กาลังทางานอยู่ • ไม่เคลื่อนย้ายเครื่ องคอมพิวเตอร์ ขณะที่เครื่ องทางานอยู่ เพราะจะทาให้อุปกรณ์บางตัวเกิดความเสี ยหายได้ • อย่าเปิ ดฝาเครื่ องขณะใช้งานอยู่ ถ้าต้องการเปิ ดต้อง power off และถอดปลักไฟก่อน ๊ • ควรศึกษาจากคู่มือก่อนหรื อการอบรมการใช้งาน Software ก่อนการใช้งาน ตัวถังภายนอกของเครื่ องคอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่เป็ นส่ วนประกอบของเหล็กกับพลาสติกเมื่อใช้นานๆจะมีฝุ่นและ คราบรอยนิ้วมือ มาติดทาให้ดูไม่สวยงามและถ้าปล่อยไว้นานๆจะทาความสะอาดยากจึงควรทาความสะอาดบ่อยๆ อย่างน้อย1-2เดือนต่อครั้งโดยใช้ผาชุบน้ าหมาดๆ เช็ดที่ตวเครื่ องหรื อใช้น้ ายาทาความสะอาดเครื่ อง คอมพิวเตอร์ ้ ั โดยเฉพาะและที่สาคัญคือควรใช้ผาคลุมเครื่ องให้เรี ยบร้อยหลังเลิกใช้งานทุกครั้งเพื่อป้ องกันฝุ่ นผงต่างๆ ้ การบารุ งรักษา Hard Disk ฮาร์ ดดิสก์เป็ นอุปกรณ์ที่มีอายุยนมากยากจะบารุ งรักษาด้วยตัวเอง ผูใช้คอมพิวเตอร์ จึงควรระมัดระวังไม่ให้เกิด ื ้ ความเสี ยหาย ซึ่ งควรปฏิบติดงต่อไปนี้ ั ั • การติดตั้งเครื่ องคอมพิวเตอร์ ควรติดตั้งเครื่ องคอมพิวเตอร์ โดยให้ดานหลังของตัวเครื่ องคอมพิวเตอร์ ห่างจากฝา ้ ผนังไม่นอย ้ กว่า 3 นิ้ว เพื่อการระบายความร้อน เป็ นอย่างปกติไม่ทาให้เครื่ องร้อนได้ • ควรเลือกใช้โตีะทางานที่แข็งแรงป้ องกันการโยกไปมาเพราะทาให้หวอ่านของฮาร์ ดดิสก์ถูกกระทบกระเทือนได้ ั เอกสารประกอบการเรี ยนการสอน รายวิชาเพิ่มเติม(คอมพิวเตอร์ 2) โดย นายชาตรี หัสสะโร หน้า 5
  • 6. • ควรมีการตรวจสอบสถานภาพของ Hard Disk ด้วยโปรแกรม Utility ต่างๆว่ายังสามารถใช้งานได้ครบ 100 % หรื อ มีส่วนใด ของ Hard Disk ที่ใช้งานไม่ได้ การบารุ งรักษา Disk Drive ช่องอ่านดิสก์เมื่อทางานไปนานๆหัวอ่านแผ่นดิสก์อาจจะเสื่ อมสภาพไปได้ หัวอ่านดิสก์เกิดความสกปรกเน่องจาก มีฝนละออง ุ่ เข้าไปเกาะที่หวอ่านหรื อเกิดจากความสกปรกของแผ่นดิสก์ที่มีฝน หรื อคราบไขมันจากมือ ผลที่เกิดขึ้นทาให้การ ั ุ่ บันทึกหรื ออ่าน ข้อมูลจากแผ่นดิสก์ไม่สามารถดาเนินการได้ การดูแลรักษา Disk Drive ควรปฏิบติดงนี้ ั ั • เลือกใช้แผ่นดิสก์ที่สะอาดคือไม่มีคราบฝุ่ น ไขมัน หรื อรอยขูดขีดใดๆ • ใช้น้ ายาล้างหัวอ่านดิสก์ทุกๆเดือน • หลีกเลี่ยงการใช้แผ่นดิสก์เก่าที่เก็บไว้นานๆ เพราะจะทาให้หวอ่าน Disk Drive สกปรกได้ง่าย ั การบารุ งรักษา Monitor ในส่ วนของจอภาพนั้นอาจเสี ยหายได้เช่น ภาพอาการเลื่อนไหลภาพล้ม ภาพเต้นหรื อไม่มีภาพเลย ซึ่ งความเสี ยหาย ดังกล่าวจะ ต้องให้ช่างเท่านั้นเป็ นผูแก้ไขผูใช้คอมพิวเคอร์ ควรระมัดระวัง โดยปฏิบติดงนี้ ้ ้ ั ั • อย่าให้วตถุหรื อน้ าไปกระทบหน้าจอคอมพิวเตอร์ ั • ควรเปิ ดไฟที่จอก่อนที่สวิซไฟที่ CPU เพื่อ boot เครื่ อง • ไม่ควรปิ ดๆ เปิ ดๆ เครื่ องติดๆกัน เมื่อปิ ดเครื่ องแล้วทิ้งระยะไว้เล็กน้อยก่อนเปิ ดใหม่ • ควรปรับความสว่างของจอภาพให้เหมาะสมกับสภาพของห้องทางาน เพราะถ้าสว่างมากเกินไปย่อมทาให้จอภาพ อายุส้ ันลง เอกสารประกอบการเรี ยนการสอน รายวิชาเพิ่มเติม(คอมพิวเตอร์ 2) โดย นายชาตรี หัสสะโร หน้า 6
  • 7. • อย่าเปิ ดฝาหลัง Monitor ซ่อมเอง เพราะจะเป็ นอันตรายจากกระแสไฟฟ้ าแรงสู ง • เมื่อมีการเปิ ดจอภาพทิ้งไว้นานๆ ควรจะมีการเรี ยกโปรแกมถนอมจอภาพ (Screen Sever) ขึ้นมาทางานเพื่อยืดอายุ การใช้งาน ของจอภาพ การบารุ งรักษา Inkjet & Dotmatrix Printer เครื่ องพิมพ์เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับแสดงผล รายงาน ของข้อมูลต่างๆทางกระดาษ การที่จะใช้เครื่ องพิมพ์ทางาน ได้เป็ นปกติ ผูใช้คอมพิวเตอร์ ควรหมันดูแลรักษาดังนี้ ้ ่ •รักษาความสะอาดโดยดูดฝุ่ นเศษกระดาษที่ติดอยูในเครื่ องพิมพ์ทุกเดือนหรื อใช้แปรงขนนุ่มปั ดฝุ่ นเศษกระดาษออก ่ จากเครื่ อง พิมพ์อย่าใช้แปรงชนิดแข็งเพราะอาจทาให้เครื่ องเป็ นรอยได้ • ถ้าตัวเครื่ องพิมพ์มีความสกปรกอาจ ใช้ผานุ่มหรื อฟองน้ าชุบน้ ายาทาความสะอาดเครื่ องใช้สานักงานเช็ดถูส่วนที่เป ้ นพลาสติก แต่ตองระมัดระวัง อย่าใช้น้ าเข้าตัวเครื่ องพิมพ์ได้ และควร หลีกเลี่ยงการใช้น้ ามันหล่อลื่นทุกชนิด ในตัวเครื่ อง ้ เพราะ อาจทาให้ ระบบกลไกเสี ยหายได้ • ก่อนพิมพ์ทุกครั้งควรปรับความแรง ของหัวเข็มให้พอเหมาะกับความหนาของกระดาษ • ระหว่างพิมพ์ควรระวังหัวพิมพ์จะติดกระดาษ เช่น การพิมพ์ซองจดหมาย หรื อกระดาษที่มีความหนาหรื อบาง เกินไป • อย่าถอดหรื อเสี ยบสาย Cable ในขณะที่เครื่ องพิมพ์ หรื อเครื่ องคอมพิวเตอร์ กาลังทางานอยู่ • ไม่ควรพิมพ์กระดาษติดต่อกันนานเกินไปเพราะอาจทาให้หวอ่านร้อนมากทาให้เครื่ องชะงักหยุดพิมพ์กระดาษ ั • เมื่อเลิกพิมพ์งานควรนากระดาษออกจากถาดกระดาษ และช่องนากระดาษ • ไม่ควรใช้กระดาษไข(Stencil Paper)แบบธรรมดากับเครื่ องพิมพ์ประเภทแบบกระแทก(Dotmatrix Printer) เนื่องจากเศษของ กระดาษไขอาจจะไปอุดตันเข็มพิมพ์ อาจทาให้เข็มพิมพ์อาจหักได ้้ควรใช้กระดาษไขสาหรับเครื่ องพิมพ ้์แทน เพื่อป้ องกันการ ชารุ ดของเฟื องที่ใช้หมุนกระดาษ เอกสารประกอบการเรี ยนการสอน รายวิชาเพิ่มเติม(คอมพิวเตอร์ 2) โดย นายชาตรี หัสสะโร หน้า 7
  • 8. การบารุ งรักษา Laser Printer Laser Printer เป็ นเครื่ องพิมพ์ที่มีประสิ ทธิ ภาพสู งสามารถพิมพ์ภาพได้อย่างคมชัดมากมีความละเอียดสวยงาม แต่ ราคาค่อน ้ ่ ข้างสู งผูใช้คอมพิวเตอร์ จึงควรระมัดระวังในการใช้งานแม้วาโอกาสจะเสี ยหายมีนอยก็ตาม ข้อควรปฏิบติดงนี้ ้ ั ั • การเลือกใช้กระดาษไม่ควรใช้กระดาษ ที่หนาเกินไปจะทาให้กระดาษติดเครื่ องพิมพ์ได้ • ควรกรี ดกระดาษให้ด ้ี อย่าให้กระดาษติดกัน เพราะอาจจะเป็ นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้กระดาษติดในตัวเครื่ องพิมพ์ได้ • การใช้พิมพ์ Laser Printer พิมพ์ลงในแผ่นใส ก็ตองเลือกใช้แผ่นใสที่ใช้ถ่ายเอกสารได้เท่านั้นหากใช่แผ่นใสแบบ ้ ธรรดาซึ่งไม ้่สามารถทนความร้อนได้อาจจะหลอมละลายติดเครื่ องพิมพ์ทาให้เกิดความเสี ยหาย http://www.dnp15.com/informational/it2.htm เอกสารประกอบการเรี ยนการสอน รายวิชาเพิ่มเติม(คอมพิวเตอร์ 2) โดย นายชาตรี หัสสะโร หน้า 8