SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  21
Télécharger pour lire hors ligne
 นางสาวนันทิกานต์ เพ็งปอภาร
 ชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่5/2 เลขที่16
 คุณครูพระเจนฯ ที่ครูชลหมู่เอ่ยถึงนั้น คือ ศาสตราจารย์พระเจน
ดุริยางค์ (ปิ ติ วาทยะกร - นามเดิม ปีเตอร์ ไฟท์) ผู้มีคุณูปการต่อ
วงการดนตรีสากลของประเทศไทยในอดีตอย่างล้นพ้น ชื่อเสียง
และเกียรติคุณของท่านมีมากมายเกินจะกล่าว ไม่ว่าจะเป็นผู้
บุกเบิกวิชาความรู้ด้านทฤษฎีดนตรีสากลจนเป็นที่แพร่หลายใน
กรุงสยาม เป็นผู้เรียบเรียงตาราว่าด้วยหลักวิชาการเรียบเรียง
เสียงประสาน เป็นผู้ที่อยู่เบื้องหลังการพัฒนา วงดนตรีเครื่องสาย
ฝรั่งมาตั้งแต่ยุคกรมมหรสพครั้งรัชกาลที่ ๖
 พระเจนดุริยางค์ (ปิติ วาทยะกร) เกิดวันที่ 13 กรกฏาคม 2426
ที่บ้านญาติของมารดา ตาบลทวาย ใกล้กับถนนสาธร เดิมบิดาตั้งชื่อให้ว่า
"ปิเตอร์ไฟท์" (Peter Feit) ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็นไทยว่า ปิติ วาทะยะกร
บิดาของท่านชื่อ จาค๊อบ ไฟท์ เป็นผู้มีความรู้ความสามารถด้านดนตรีได้
เดินทางเข้ามาในประเทศไทยในฐานะนักท่องเที่ยว และได้รับราชการเป็น
ครูแตรวงในพระราชสานักของ สมเด็จพระบัณฑูรย์กรมพระราชวังบวร
มหาวิชัยชาญ ก่อมาได้เป็นครูแตรวง ทหารบกในรัชกาลที่ 5 ส่วนมารดา
เป็นคนไทย เชื้อสายรามัญชื่อ ทองอยู่
 เมื่ออายุ 7 ขวบ ท่านเริ่มรับการศึกษาวิชาสามัญที่โรงเรียนอัสสัมชัญ ใน
ชั้นต้นได้เข้าเรียนในแผนกภาษาฝรั่งเศส จนจบหลักสูตร แล้วจึงได้เข้า
เรียนต่อในแผนกวิชาภาษาอังกฤษรวมเวลาที่อยู่ในโรงเรียนนี้ 11 ปี
ระหว่างนี้ท่านก็ได้ศึกษาวิชาดนตรีจากบิดาพร้อมกับพี่ชายอีก 2 คน ซึ่ง
ปัจจุบันได้ถึงแก่กรรมไปหมดแล้ว เมื่อพระเจนดุริยางค์อายุได้ 10 ขวบ
ท่านได้ฝึกหัดเชลโล เป็นเครื่องดนตรีประจาตัวต่อไป จากการฝึกหัดอย่าง
จริงจัง ทาให้ท่านมีความสามารถในการเล่นดนตรีอย่างยอดเยี่ยม และ
ก่อให้เกิดความรักอันซาบซึ้งในดนตรีแบบ คลาสสิค ขึ้นอย่างมาก
 พออายุ 17 ปี จึงได้หัดเรียนเปียโนอีกอย่างหนึ่ง พร้อมกันนี้ท่านก็ได้เริ่ม
แสวงหาความรู้ทาง "ดุริยางค์ศาสตร์" อย่างกว้างขวาง รวมทั้งเริ่มหัด
เครื่องดนตรีชนิดอื่นอีกหลายอย่างเช่น คลาริเนท ฟรุต และทรอมโบน ใน
ปี พ.ศ. 2444 ท่านได้เป็นครูสอนภาษาอังกฤษที่โรงเรียนอัสสัมชัญ จนถึง
พ.ศ. 2445 เป็นครูอยู่ 2 ปีก็ลาออกจากนั้นก็สมัครเข้ารับราชการในกรม
รถไฟหลวงแผนกเดินรถ ถึง พ.ศ. 2456 ท่านได้รับพระราชทาน
บรรดาศักดิ์ เป็น "ขุนเจนรถรัฐ" ท่านรับราชการอย่างสามารถอยู่ที่กรม
รถไฟหลวงเป็นเวลา 14 ปี
 ด้วยความอัจฉริยะทางดนตรีอันเป็นที่รู้จักกันกว้างขวาง จากนั้นเมื่อวันที่
13 สิงหาคม พ.ศ. 2460 รัชกาลที่ 6 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ย้าย
ไปรับราชการในกรมมหรสพ มีตาแหน่งเป็นผู้ช่วยปลัดกรมกอง
เครื่องสายฝรั่ง มีหน้าที่ฝึกฝนอบรมนักดนตรีทางการปฏิบัติเครื่องดนตรี
สาหรับวงดนตรีฝรั่งหลวงแห่งราชสานัก แล้วได้รับพระราชทานนามใหม่
ว่า "หลวงเจนดุริยางค์"
 เมื่อได้รับการทาบทามให้ไปอยู่กรมมหรสพนั้นท่านลังเลใจอยู่ เนื่องจาก
ราลึกถึงคากาชับของบิดาว่ามิให้ยึดถือและอาศัยวิชาดนตรีที่ท่านได้ให้ไว้
นั้นเป็นอาชีพอย่างเด็ดขาด เพราะ "คนไทยเราไม่ใคร่สนใจในการดนตรี
เท่าใดนัก ชอบทากันเล่น ๆ สนุก ๆ ไปชั่วคราว แล้วก็ทอดทิ้ง" แต่
เนื่องจากเป็นพระบรมราชโองการจึงต้องไป ท่านได้ทุ่มเทเวลา
ความสามารถทุกสิ่งทุกอย่างที่มีอยู่ฝึกฝนนักดนตรีรุ่นใหม่ได้บังคับ
บัญชาอย่างกวดขัน ชั่วเวลาเพียง 2 - 3 ปีเท่านั้น วงดุริยางค์สากลวงแรก
ของไทยก็สามารถออกบรรเลงโชว์ฝีมือในงานพระราชพิธีต่าง ๆ
 จนได้รับคาชมเชยจากผู้ฟังทั้งชาวไทยและต่างประเทศมากมาย ถึงกับ
กล่าวกันว่า เป็นวงเก่งที่สุดในภาคตะวันออก จากความสามารถดังกล่าวนี้
เองท่านก็ได้รับพระราชทานเลื่อนบรรดาศักดิ์เป็น "พระเจนดุริยางค์"
ตาแหน่งปลัดกรมกองดนตรีฝรั่งหลวงเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 24 ทาให้
กิจการดนตรีสากลของไทยมีมาขึ้นทัดเทียมกับต่างประเทศ และจาก
ความสามารถในการจัดสร้างวงดุริยางค์สากลได้สาเร็จเป็นอย่างดีขั้นต้น
ในปี 2470 ท่านจึงได้ถูกขอร้องให้ไปช่วยเหลือปรับปรุงวงดนตรีของ
กองทัพเรือ ฃึ่งมีวงโยธวาทิต (แตรวง) และวงดุริยางค์
 ปี พ.ศ. 2473 สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ ากรมพระยาดารง
ราชานุภาพ นายกราชบัณฑิตสภา ได้ทรงเริ่มจัดการให้พระยาวรพงศ์
พิพัฒน์ เสนากระทรวงวัง เจ้าสังกัดวงปี่พาทย์และโขนหลวง สั่งให้ครู
ดุริยางค์ดนตรีและผู้ชานาญการจดโน้ตเพลงมาร่วมกันบรรเลง และ
บันทึกเป็นตัวโน้ตไว้ทั้งนี้กระทากัน ณ วังวรดิศ สัปดาห์ละ 2 วัน จนถึง
พ.ศ. 2475 ก็หยุดชงักไปชั่วคราว พระเจนดุริยางค์ก็มีส่วนร่วมในการ
บันทึกโน้ตคือ มีหน้าที่เป็นผู้ควบคุมการบันทึกโน้ต
 ซึ่งเป็นผลงานที่ท่านภาคภูมิในยิ่งอีกชิ้นหนึ่ง มาเมื่อปลายปี 2474 พระ
เจนฯได้พบปะกับเพื่อนายทหารเรือชั้นผู้ใหญ่ผู้หนึ่ง ซึ่งสนิทสนมกันมา
ก่อนคือ นาวาตรี หลวงวินิจเทศกลกิจ (กลาง โรจนเสนา) ซึ่งเป็นผู้ขอร้อง
ให้พระเจนฯ แต่งเพลงให้บทหนึ่งให้มีทานองเป็นเพลงที่มีความ
คล้ายคลึงกับเพลงชาติฝรั่งเศส ท่านก็ตอบว่าไม่จาเป็นต้องมีก็ได้ เพราะ
เพลงชาติที่มีชื่อ สรรเสริญพระบารมีของเราก็มีอยู่แล้ว นายทหารเรือผู้
นั้นก็ตอบว่า อยากจะให้ไทยเรามีเพลงปลุกใจเพิ่มขึ้นอีกบ้าง เพราะเพลง
สรรเสริญพระบารมีนั้นเป็นเพลงของพระเจ้าแผ่นดิน ส่วนเพลงของ
ประชาชนนั้นไม่มี พระเจนก็ได้ตอบปฎิเสธไป
 เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ปรากฎว่าเพื่อนคนนั้นได้ร่วมในคณะ
ผู้ก่อการด้วย และขอร้องให้ท่านแต่งทานองเพลงเพลงชาติให้ได้โดยบอก
ว่าเป็นความประสงค์ของผู้ก่อการท่านจึงยากที่จะปฏิเสธ และท่านได้
ขอให้เวลาสาหรับแต่งเพลงสาคัญนี้ 7 วัน แต่พอจะครบกาหนดท่านก็ยัง
ไม่สามารถแต่งได้จนกระทั่งถึงวันสุดท้าย ขณะที่ท่านกาลังนั่งรถรางสาย
บางขุนพรหมจะไปทางานตามปกติ
 ท่านจึงเกิดนึกทานองเพลงชาติขึ้นมาได้พอไปถึงที่ทางานจึงลองเล่น
เปียโนดูพร้อมกับจดโน้ตไว้ ปรากฏว่าสามารถใช้ได้ทันการพอดีดังนั้น
ท่านจึงได้แต่งทานองเพลงชาติขึ้นเป็นทานองเพลงมารช์ใช้ได้คึกคักเร่ง
เร้าใจ ดังที่เราได้ยินได้ฟังกันอยู่อย่างทุกวันนี้สาหรับเนื้อร้องของเพลง
ชาตินั้นเดิมเป็นของขุนวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาคพันธุ์) และนาย
ฉันท์ ขาวิไล ต่อมาจึงเปลี่ยนเป็นของ พ.อ. หลวงสารานุประพันธ์ ทั้งร้อง
อยู่ในปัจจุบัน
 พระเจนดุริยางค์ได้แต่งบทเพลงอันไพเราะไว้มากพร้อมทั้งแยก
เสียงประสาน เพื่อใช้เล่นกับวงดุริยางค์สากลได้อีกด้วย บทเพลงเหล่านี้
ได้แก่ เพลงประกอบภาพยนตร์เรื่องบ้านไร่นาเรา เรื่องพระเจ้าช้างเผือก
และบทเพลงในมหาอุปรากรเรื่อง "มหาดารณี" เป็นต้นนอกจากนี้ท่านยัง
ได้นาเพลงไทยเดิมแยกประสานเสียง สาหรับบรรเลงด้วยวงดุริยางค์
สากลหลายเพลงเช่น เพลงเขมรไทรโยค แขกเชิญเจ้า ต้นบรเทศ สุธา
กันแสง มหาฤกษ์ มหาชัย เป็นต้น
 ท่านได้แต่งตาราวิชาการดนตรีสากลไว้หลายเล่ม ซึ่งล้วนมีคุณค่าสาหรับ
ประเทศไทย เช่น การดนตรี หลักวิชาการดนตรี และการขับร้อง
แบบเรียนวิชาการประสานเสียงเล่ม 1 และ เล่ม 2 แบบเรียนดุริยางค์สากล
ท่านได้อบรมลูกศิษย์ให้มีความรู้ ความสามารถในเรื่องดนตรีสากลเป็น
จานวนมากมายหลายคนกาลังเป็นนักดนตรี นักแต่งเพลงหรือหัวหน้าวง
ที่มีชื่อเช่น เอื้อ สุนทรสนาน ,สง่า อารัมภีร์, ชลหมู่ ชลานุเคราะห์, สุรพล
แสงเอก และเรืออากาศโท ประกิจ วาทะยากร (บุตรของท่านเอง)
 มรณกรรมของคุณพระเจนดุริยางค์ ปรมาจารย์ทางดนตรีสากล เจ้าของ
ทานองเพลงชาติไทย อันเร้าใจและอมตะ และเป็นผู้วางรากฐานทาง
ดนตรีสากลในเมืองไทยให้เป็นหลัก นับเป็นการสูญเสียงครั้งยิ่งใหญ่ใน
การดนตรีไทย แม้ว่าตัวของท่านจะจากไป แต่ผลงานอันเป็นอมตะของ
ท่านก็ยังคงอยู่ในความทรงจาของพวกเราชาวไทยตลอดไป

 เพลงชาติไทย ฉบับ พ.ศ. 2477
 ประพันธ์ทานองโดยพระเจนดุริยางค์ใช้เป็นเพลงชาติไทยตั้งแต่ พ.ศ.
2475 (ในลักษณะไม่เป็นทางการ) โดยช่วงแรกใช้คาร้องที่ประพันธ์โดย
ขุนวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาคพันธุ์)
 ต่อมาปลายปี พ.ศ. 2476 รัฐบาลได้จัดการประกวดเนื้อร้องเพลงชาติ และ
ประกาศรับรองเนื้อร้องที่แก้ไขเพิ่มเติมใหม่โดยขุนวิจิตรมาตรา และเนื้อ
ร้องที่แต่งโดยนายฉันท์ขาวิไล ซึ่งเป็นฉบับที่ชนะการประกวด เป็นเนื้อ
ร้องเพลงชาติฉบับทางราชการ เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2477
พระเจนดุริยางค์
พระเจนดุริยางค์

Contenu connexe

Similaire à พระเจนดุริยางค์

วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลอำนาจ ศรีทิม
 
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากลการประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากลThanakrit Muangjun
 
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์kruood
 
นำเสนอพระเจนดุริยางค์Finish
นำเสนอพระเจนดุริยางค์Finishนำเสนอพระเจนดุริยางค์Finish
นำเสนอพระเจนดุริยางค์FinishSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docxสังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docxpinglada1
 
เอกสารสังคีตนิยม
เอกสารสังคีตนิยมเอกสารสังคีตนิยม
เอกสารสังคีตนิยมRuz' Glaow
 
เพลงชาติไทย
เพลงชาติไทยเพลงชาติไทย
เพลงชาติไทยKrumai Kjna
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมอำนาจ ศรีทิม
 
ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3Kruanchalee
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2bmbeam
 
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากลการประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากลThanakrit Muangjun
 
ภูมิปัญญาท้องถิ่นตำบลเทพราช อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา
ภูมิปัญญาท้องถิ่นตำบลเทพราช อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทราภูมิปัญญาท้องถิ่นตำบลเทพราช อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา
ภูมิปัญญาท้องถิ่นตำบลเทพราช อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทราnungruthai2513
 
ที่มาของนาฏศิลป์ไทย
ที่มาของนาฏศิลป์ไทยที่มาของนาฏศิลป์ไทย
ที่มาของนาฏศิลป์ไทยnasaporn
 

Similaire à พระเจนดุริยางค์ (20)

วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
 
นายเอื้อ สุนทรสนาน
นายเอื้อ สุนทรสนานนายเอื้อ สุนทรสนาน
นายเอื้อ สุนทรสนาน
 
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากลการประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
 
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
 
งาน ปุ๋ย
งาน ปุ๋ยงาน ปุ๋ย
งาน ปุ๋ย
 
นำเสนอพระเจนดุริยางค์Finish
นำเสนอพระเจนดุริยางค์Finishนำเสนอพระเจนดุริยางค์Finish
นำเสนอพระเจนดุริยางค์Finish
 
สังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docxสังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docx
 
เอกสารสังคีตนิยม
เอกสารสังคีตนิยมเอกสารสังคีตนิยม
เอกสารสังคีตนิยม
 
เพลงชาติไทย
เพลงชาติไทยเพลงชาติไทย
เพลงชาติไทย
 
Ppt เตย สังคม
Ppt เตย สังคมPpt เตย สังคม
Ppt เตย สังคม
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
 
ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3
 
ยุคสมัยของดนตรีไทย
ยุคสมัยของดนตรีไทยยุคสมัยของดนตรีไทย
ยุคสมัยของดนตรีไทย
 
Art
ArtArt
Art
 
Art
ArtArt
Art
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2
 
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากลการประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
 
ภูมิปัญญาท้องถิ่นตำบลเทพราช อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา
ภูมิปัญญาท้องถิ่นตำบลเทพราช อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทราภูมิปัญญาท้องถิ่นตำบลเทพราช อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา
ภูมิปัญญาท้องถิ่นตำบลเทพราช อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา
 
ดนตรีไทยสมัยรัตน
ดนตรีไทยสมัยรัตนดนตรีไทยสมัยรัตน
ดนตรีไทยสมัยรัตน
 
ที่มาของนาฏศิลป์ไทย
ที่มาของนาฏศิลป์ไทยที่มาของนาฏศิลป์ไทย
ที่มาของนาฏศิลป์ไทย
 

Plus de SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

Plus de SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

พระเจนดุริยางค์

  • 1.
  • 2.  นางสาวนันทิกานต์ เพ็งปอภาร  ชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่5/2 เลขที่16
  • 3.  คุณครูพระเจนฯ ที่ครูชลหมู่เอ่ยถึงนั้น คือ ศาสตราจารย์พระเจน ดุริยางค์ (ปิ ติ วาทยะกร - นามเดิม ปีเตอร์ ไฟท์) ผู้มีคุณูปการต่อ วงการดนตรีสากลของประเทศไทยในอดีตอย่างล้นพ้น ชื่อเสียง และเกียรติคุณของท่านมีมากมายเกินจะกล่าว ไม่ว่าจะเป็นผู้ บุกเบิกวิชาความรู้ด้านทฤษฎีดนตรีสากลจนเป็นที่แพร่หลายใน กรุงสยาม เป็นผู้เรียบเรียงตาราว่าด้วยหลักวิชาการเรียบเรียง เสียงประสาน เป็นผู้ที่อยู่เบื้องหลังการพัฒนา วงดนตรีเครื่องสาย ฝรั่งมาตั้งแต่ยุคกรมมหรสพครั้งรัชกาลที่ ๖
  • 4.  พระเจนดุริยางค์ (ปิติ วาทยะกร) เกิดวันที่ 13 กรกฏาคม 2426 ที่บ้านญาติของมารดา ตาบลทวาย ใกล้กับถนนสาธร เดิมบิดาตั้งชื่อให้ว่า "ปิเตอร์ไฟท์" (Peter Feit) ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็นไทยว่า ปิติ วาทะยะกร บิดาของท่านชื่อ จาค๊อบ ไฟท์ เป็นผู้มีความรู้ความสามารถด้านดนตรีได้ เดินทางเข้ามาในประเทศไทยในฐานะนักท่องเที่ยว และได้รับราชการเป็น ครูแตรวงในพระราชสานักของ สมเด็จพระบัณฑูรย์กรมพระราชวังบวร มหาวิชัยชาญ ก่อมาได้เป็นครูแตรวง ทหารบกในรัชกาลที่ 5 ส่วนมารดา เป็นคนไทย เชื้อสายรามัญชื่อ ทองอยู่
  • 5.  เมื่ออายุ 7 ขวบ ท่านเริ่มรับการศึกษาวิชาสามัญที่โรงเรียนอัสสัมชัญ ใน ชั้นต้นได้เข้าเรียนในแผนกภาษาฝรั่งเศส จนจบหลักสูตร แล้วจึงได้เข้า เรียนต่อในแผนกวิชาภาษาอังกฤษรวมเวลาที่อยู่ในโรงเรียนนี้ 11 ปี ระหว่างนี้ท่านก็ได้ศึกษาวิชาดนตรีจากบิดาพร้อมกับพี่ชายอีก 2 คน ซึ่ง ปัจจุบันได้ถึงแก่กรรมไปหมดแล้ว เมื่อพระเจนดุริยางค์อายุได้ 10 ขวบ ท่านได้ฝึกหัดเชลโล เป็นเครื่องดนตรีประจาตัวต่อไป จากการฝึกหัดอย่าง จริงจัง ทาให้ท่านมีความสามารถในการเล่นดนตรีอย่างยอดเยี่ยม และ ก่อให้เกิดความรักอันซาบซึ้งในดนตรีแบบ คลาสสิค ขึ้นอย่างมาก
  • 6.  พออายุ 17 ปี จึงได้หัดเรียนเปียโนอีกอย่างหนึ่ง พร้อมกันนี้ท่านก็ได้เริ่ม แสวงหาความรู้ทาง "ดุริยางค์ศาสตร์" อย่างกว้างขวาง รวมทั้งเริ่มหัด เครื่องดนตรีชนิดอื่นอีกหลายอย่างเช่น คลาริเนท ฟรุต และทรอมโบน ใน ปี พ.ศ. 2444 ท่านได้เป็นครูสอนภาษาอังกฤษที่โรงเรียนอัสสัมชัญ จนถึง พ.ศ. 2445 เป็นครูอยู่ 2 ปีก็ลาออกจากนั้นก็สมัครเข้ารับราชการในกรม รถไฟหลวงแผนกเดินรถ ถึง พ.ศ. 2456 ท่านได้รับพระราชทาน บรรดาศักดิ์ เป็น "ขุนเจนรถรัฐ" ท่านรับราชการอย่างสามารถอยู่ที่กรม รถไฟหลวงเป็นเวลา 14 ปี
  • 7.  ด้วยความอัจฉริยะทางดนตรีอันเป็นที่รู้จักกันกว้างขวาง จากนั้นเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2460 รัชกาลที่ 6 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ย้าย ไปรับราชการในกรมมหรสพ มีตาแหน่งเป็นผู้ช่วยปลัดกรมกอง เครื่องสายฝรั่ง มีหน้าที่ฝึกฝนอบรมนักดนตรีทางการปฏิบัติเครื่องดนตรี สาหรับวงดนตรีฝรั่งหลวงแห่งราชสานัก แล้วได้รับพระราชทานนามใหม่ ว่า "หลวงเจนดุริยางค์"
  • 8.
  • 9.  เมื่อได้รับการทาบทามให้ไปอยู่กรมมหรสพนั้นท่านลังเลใจอยู่ เนื่องจาก ราลึกถึงคากาชับของบิดาว่ามิให้ยึดถือและอาศัยวิชาดนตรีที่ท่านได้ให้ไว้ นั้นเป็นอาชีพอย่างเด็ดขาด เพราะ "คนไทยเราไม่ใคร่สนใจในการดนตรี เท่าใดนัก ชอบทากันเล่น ๆ สนุก ๆ ไปชั่วคราว แล้วก็ทอดทิ้ง" แต่ เนื่องจากเป็นพระบรมราชโองการจึงต้องไป ท่านได้ทุ่มเทเวลา ความสามารถทุกสิ่งทุกอย่างที่มีอยู่ฝึกฝนนักดนตรีรุ่นใหม่ได้บังคับ บัญชาอย่างกวดขัน ชั่วเวลาเพียง 2 - 3 ปีเท่านั้น วงดุริยางค์สากลวงแรก ของไทยก็สามารถออกบรรเลงโชว์ฝีมือในงานพระราชพิธีต่าง ๆ
  • 10.  จนได้รับคาชมเชยจากผู้ฟังทั้งชาวไทยและต่างประเทศมากมาย ถึงกับ กล่าวกันว่า เป็นวงเก่งที่สุดในภาคตะวันออก จากความสามารถดังกล่าวนี้ เองท่านก็ได้รับพระราชทานเลื่อนบรรดาศักดิ์เป็น "พระเจนดุริยางค์" ตาแหน่งปลัดกรมกองดนตรีฝรั่งหลวงเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 24 ทาให้ กิจการดนตรีสากลของไทยมีมาขึ้นทัดเทียมกับต่างประเทศ และจาก ความสามารถในการจัดสร้างวงดุริยางค์สากลได้สาเร็จเป็นอย่างดีขั้นต้น ในปี 2470 ท่านจึงได้ถูกขอร้องให้ไปช่วยเหลือปรับปรุงวงดนตรีของ กองทัพเรือ ฃึ่งมีวงโยธวาทิต (แตรวง) และวงดุริยางค์
  • 11.  ปี พ.ศ. 2473 สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ ากรมพระยาดารง ราชานุภาพ นายกราชบัณฑิตสภา ได้ทรงเริ่มจัดการให้พระยาวรพงศ์ พิพัฒน์ เสนากระทรวงวัง เจ้าสังกัดวงปี่พาทย์และโขนหลวง สั่งให้ครู ดุริยางค์ดนตรีและผู้ชานาญการจดโน้ตเพลงมาร่วมกันบรรเลง และ บันทึกเป็นตัวโน้ตไว้ทั้งนี้กระทากัน ณ วังวรดิศ สัปดาห์ละ 2 วัน จนถึง พ.ศ. 2475 ก็หยุดชงักไปชั่วคราว พระเจนดุริยางค์ก็มีส่วนร่วมในการ บันทึกโน้ตคือ มีหน้าที่เป็นผู้ควบคุมการบันทึกโน้ต
  • 12.  ซึ่งเป็นผลงานที่ท่านภาคภูมิในยิ่งอีกชิ้นหนึ่ง มาเมื่อปลายปี 2474 พระ เจนฯได้พบปะกับเพื่อนายทหารเรือชั้นผู้ใหญ่ผู้หนึ่ง ซึ่งสนิทสนมกันมา ก่อนคือ นาวาตรี หลวงวินิจเทศกลกิจ (กลาง โรจนเสนา) ซึ่งเป็นผู้ขอร้อง ให้พระเจนฯ แต่งเพลงให้บทหนึ่งให้มีทานองเป็นเพลงที่มีความ คล้ายคลึงกับเพลงชาติฝรั่งเศส ท่านก็ตอบว่าไม่จาเป็นต้องมีก็ได้ เพราะ เพลงชาติที่มีชื่อ สรรเสริญพระบารมีของเราก็มีอยู่แล้ว นายทหารเรือผู้ นั้นก็ตอบว่า อยากจะให้ไทยเรามีเพลงปลุกใจเพิ่มขึ้นอีกบ้าง เพราะเพลง สรรเสริญพระบารมีนั้นเป็นเพลงของพระเจ้าแผ่นดิน ส่วนเพลงของ ประชาชนนั้นไม่มี พระเจนก็ได้ตอบปฎิเสธไป
  • 13.  เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ปรากฎว่าเพื่อนคนนั้นได้ร่วมในคณะ ผู้ก่อการด้วย และขอร้องให้ท่านแต่งทานองเพลงเพลงชาติให้ได้โดยบอก ว่าเป็นความประสงค์ของผู้ก่อการท่านจึงยากที่จะปฏิเสธ และท่านได้ ขอให้เวลาสาหรับแต่งเพลงสาคัญนี้ 7 วัน แต่พอจะครบกาหนดท่านก็ยัง ไม่สามารถแต่งได้จนกระทั่งถึงวันสุดท้าย ขณะที่ท่านกาลังนั่งรถรางสาย บางขุนพรหมจะไปทางานตามปกติ
  • 14.  ท่านจึงเกิดนึกทานองเพลงชาติขึ้นมาได้พอไปถึงที่ทางานจึงลองเล่น เปียโนดูพร้อมกับจดโน้ตไว้ ปรากฏว่าสามารถใช้ได้ทันการพอดีดังนั้น ท่านจึงได้แต่งทานองเพลงชาติขึ้นเป็นทานองเพลงมารช์ใช้ได้คึกคักเร่ง เร้าใจ ดังที่เราได้ยินได้ฟังกันอยู่อย่างทุกวันนี้สาหรับเนื้อร้องของเพลง ชาตินั้นเดิมเป็นของขุนวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาคพันธุ์) และนาย ฉันท์ ขาวิไล ต่อมาจึงเปลี่ยนเป็นของ พ.อ. หลวงสารานุประพันธ์ ทั้งร้อง อยู่ในปัจจุบัน
  • 15.
  • 16.  พระเจนดุริยางค์ได้แต่งบทเพลงอันไพเราะไว้มากพร้อมทั้งแยก เสียงประสาน เพื่อใช้เล่นกับวงดุริยางค์สากลได้อีกด้วย บทเพลงเหล่านี้ ได้แก่ เพลงประกอบภาพยนตร์เรื่องบ้านไร่นาเรา เรื่องพระเจ้าช้างเผือก และบทเพลงในมหาอุปรากรเรื่อง "มหาดารณี" เป็นต้นนอกจากนี้ท่านยัง ได้นาเพลงไทยเดิมแยกประสานเสียง สาหรับบรรเลงด้วยวงดุริยางค์ สากลหลายเพลงเช่น เพลงเขมรไทรโยค แขกเชิญเจ้า ต้นบรเทศ สุธา กันแสง มหาฤกษ์ มหาชัย เป็นต้น
  • 17.  ท่านได้แต่งตาราวิชาการดนตรีสากลไว้หลายเล่ม ซึ่งล้วนมีคุณค่าสาหรับ ประเทศไทย เช่น การดนตรี หลักวิชาการดนตรี และการขับร้อง แบบเรียนวิชาการประสานเสียงเล่ม 1 และ เล่ม 2 แบบเรียนดุริยางค์สากล ท่านได้อบรมลูกศิษย์ให้มีความรู้ ความสามารถในเรื่องดนตรีสากลเป็น จานวนมากมายหลายคนกาลังเป็นนักดนตรี นักแต่งเพลงหรือหัวหน้าวง ที่มีชื่อเช่น เอื้อ สุนทรสนาน ,สง่า อารัมภีร์, ชลหมู่ ชลานุเคราะห์, สุรพล แสงเอก และเรืออากาศโท ประกิจ วาทะยากร (บุตรของท่านเอง)
  • 18.  มรณกรรมของคุณพระเจนดุริยางค์ ปรมาจารย์ทางดนตรีสากล เจ้าของ ทานองเพลงชาติไทย อันเร้าใจและอมตะ และเป็นผู้วางรากฐานทาง ดนตรีสากลในเมืองไทยให้เป็นหลัก นับเป็นการสูญเสียงครั้งยิ่งใหญ่ใน การดนตรีไทย แม้ว่าตัวของท่านจะจากไป แต่ผลงานอันเป็นอมตะของ ท่านก็ยังคงอยู่ในความทรงจาของพวกเราชาวไทยตลอดไป 
  • 19.  เพลงชาติไทย ฉบับ พ.ศ. 2477  ประพันธ์ทานองโดยพระเจนดุริยางค์ใช้เป็นเพลงชาติไทยตั้งแต่ พ.ศ. 2475 (ในลักษณะไม่เป็นทางการ) โดยช่วงแรกใช้คาร้องที่ประพันธ์โดย ขุนวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาคพันธุ์)  ต่อมาปลายปี พ.ศ. 2476 รัฐบาลได้จัดการประกวดเนื้อร้องเพลงชาติ และ ประกาศรับรองเนื้อร้องที่แก้ไขเพิ่มเติมใหม่โดยขุนวิจิตรมาตรา และเนื้อ ร้องที่แต่งโดยนายฉันท์ขาวิไล ซึ่งเป็นฉบับที่ชนะการประกวด เป็นเนื้อ ร้องเพลงชาติฉบับทางราชการ เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2477