SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  14
Télécharger pour lire hors ligne
• เกิดเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 20 เมษายน 2454 ที่จังหวัดสิงห์บุรี เป็นบุตรคน
สุดท้องของ พลโท พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าคํารบ กับหม่อมแดง
ปราโมช สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชชนนี (พระพันปีหลวง)
พระราชทานชื่อว่า 'คึกฤทธิ์' นักปราชญ์นักเขียน นักการเมือง และศิลปิน
แห่งชาตินับเป็นปูชนียบุคคลท่านหนึ่งของไทย เป็นน้องชายแท้ๆ
ของ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ปราโมชอดีตนายกรัฐมนตรี 4 สมัย สื่อมวลชน
จึงนิยมเรียกทั้งคู่ว่า "หม่อมพี่ หม่อมน้อง" นอกจากนี้ หม่อมราชวงศ์คึก
ฤทธิ์ และ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ยังมีพี่สาวคือ หม่อมราชวงศ์บุญรับ พินิจ
ชนคดี (สมรสกับ พลตํารวจเอกพระพินิจชนคดี หรือ พินิจ อินทรทูต)
• ในเบื้องต้น ท่านได้เข้าศึกษาในโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย (วังหลัง) จากนั้น
ได้เข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และเดินทางไปศึกษาต่อ
ในประเทศอังกฤษ ที่โรงเรียน Trent College จากนั้น ได้สอบเข้า
'วิทยาลัยควีนส์' (The Queen's College) มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด เพื่อ
ศึกษาวิชาปรัชญา,เศรษฐศาสตร์ และการเมือง (Philosophy, Politics and
Economics - PPE) โดยสําเร็จปริญญาตรีเกียรตินิยม (และ 3 ปีต่อมา ก็
ได้รับปริญญาโทจากมหาวิทยาลัยดังกล่าว ตามธรรมเนียมสําหรับผู้สําเร็จ
ปริญญาเกียรตินิยม และได้ผ่านการใช้ความรู้ความสามารถในวิชาที่รํ่า
เรียนมาจนมีประสบการณ์ชํ่าชองมาระยะหนึ่ง)
• นวนิยาย
• สี่แผ่นดิน
• ไผ่แดง
• กาเหว่าที่บางเพลง
• ซูสีไทเฮา
• สามก๊กฉบับนายทุน
• ราโชมอน
• ฮวนนั้ง
• โจโฉ นายกตลอดกาล
• รวมเรื่องสั้น
• มอม
• เพื่อนนอน
• หลายชีวิต
• สารคดี
• ฉากญี่ปุ่น
• ยิว
• เจ้าโลก
• สงครามผิว
• คนของโลก
• ชมสวน
• ธรรมคดี
• นํ้าพริก
• ฝรั่งศักดินา
• สรรพสัตว์
• สัพเพเหระคดี
• ข้อคิดเรื่อง เกิด แก่ เจ็บ ตาย
• โครงกระดูกในตู้
• พม่าเสียเมือง
• ถกเขมร
• เก็บเล็กผสมน้อย
• เบ้งเฮ็ก ผู้ถูกกลืนทั้งเป็น
• เมืองมายา
• เรื่องขําขัน
• -รับราชการที่กรมสรรพากร
-เลขานุการที่ปรึกษากระทรวงการคลัง
-ผู้จัดการธนาคารพาณิชย์สาขาลําปาง
-รับราชการทหาร[ เมื่อเกิดสงครามอินโดจีนและสงครามมหาเอเชียบูรพา]
-หัวหน้าฝ่ายสํานักผู้ว่าการและหัวหน้าฝ่ายออกบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย
-ประธานกรรมการ ธนาคารกรุงเทพฯ พาณิชย์การจํากัด
-เขียนบทความลงในคอลัมน์ "ซอยสวนพลู"
-พ.ศ. 2531 ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนยศเป็นพลตรี (ทหารราช
องครักษ์พิเศษ)
-พ.ศ. 2488-2489 เป็นผู้ริเริ่มจัดตั้งพรรคการเมืองพรรคแรกในเมืองไทย
ชื่อ "พรรคก้าวหน้า"
-ได้ร่วมในคณะผู้ก่อตั้งพรรคประชาธิปัตย์
-ได้ริเริ่มจัดตั้งพรรคกิจสังคม
-พ.ศ. 2518 ได้จัดตั้งรัฐบาลผสมขึ้น และได้เข้ารับตําแหน่งนายกรัฐมนตรี
-พ.ศ. 2519 ได้ตัดสินใจยุบสภาผู้แทนราษฎร บริหารประเทศประมาณ 9 เดือน
เศษ
• -ได้ดําเนินการเปิดสัมพันธ์ทางการทูตกับสาธารณรัฐประชาชนจีน โดย
เดินทางไปเยือนกรุงปักกิ่ง ตามนโยบายการอยู่ร่วมกันอย่างปกติ และเป็น
มิตรกับทุกประเทศที่มีเจตนาดีต่อประเทศไทยโดยไม่คํานึงถึง ความ
แตกต่างทางอุดมการณ์ทางการเมืองในด้านการพัฒนาประเทศ
-เริ่มโครงการผันเงินชนบท เพื่อปรับปรุง และสร้างสิ่งสาธารณูปโภค ที่
จําเป็นในชนบทเพื่อปรับปรุงสภาพความเป็นอยู่ และสร้างงานชนบท โดย
การสร้างในงบประมาณรายจ่ายเพื่อปรับปรุงและสร้างสิ่ง สาธารณูปโภค
ที่จําเป็นต่อชนบท มีผลให้ประชาชนในชนบทมีงานทํา และมีรายได้เป็น
การยกฐานเศรษฐกิจของชาวชนบทให้ดีขึ้น
• -ส่งเสริมการพัฒนาสภาตําบลอย่างจริงจัง รวมทั้งจัดให้มีโครงการ
ช่วยเหลือ ผู้มีรายได้น้อย
-ดําเนินการซื้อสัมปทานเดินรถของเอกชนรวมเป็นของรัฐบาล ภายใต้การ
ดําเนินงานขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ
-เป็นผู้ก่อตั้งหนังสือพิมพ์สยามรัฐขึ้น เมื่อ พ.ศ.2493 และเริ่มบทบาทของ
การเป็นนักเขียนและนักหนังสือพิมพ์อย่างจริงจัง
• -ได้รับการยกย่องให้เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ใน พ.ศ.2528
โดยท่านมีผลงานด้านวรรณศิลป์ที่โดดเด่นมากกว่า 200 เรื่อง ทั้งนวนิยาย
เรื่องสั้น เรื่องแปล เช่น สี่แผ่นดิน ไผ่แดง หลายชีวิต ซูสีไทเฮา เป็นต้น
-เป็นผู้ก่อตั้งสถาบันไทยคดีศึกษา ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อ
พ.ศ.2513
-เป็นผู้ก่อตั้งโขนธรรมศาสตร์ เมื่อ พ.ศ.2509 เพื่อฟื้นฟูการแสดงโขนให้
เป็นที่รู้จักของประชาชนทั่วไป และเพื่ออบรมให้เยาวชนเข้าใจในเรื่อง
วัฒนธรรมไทย
• สุลักษณ์ ศิวรักษ์ได้วิพากษ์วิจารณ์ผลงานของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ โดยเฉพาะ
สี่แผ่นดินว่า "ใช้เล่ห์เพทุบาย ในการมอมเมาผู้คนยิ่งกว่าให้ข้อเท็จจริงอย่าง
สุจริตใจ" ส่วน ไผ่แดง กาเหว่าที่บางเพลง ฮวนนั้ง และซูสีไทเฮา สุลักษณ์
กล่าวว่าเป็นบทประพันธ์ที่ลอกเลียนมาจากภาษาต่างประเทศระดับ "ขโมย
หรือปล้นสดมภ์มาเลยทีเดียว" คําวิพากษ์วิจารณ์นี้อยู่บนพื้นฐานของการ
วิจัยปัญญาชนไทย 10 คน ซึ่งมีอิทธิพลกับการสร้างจิตสํานึกให้คนไทย
ร่วมสมัย ซึ่ง ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ และ หลวงวิจิตรวาทการ ก็อยู่ในรายชื่อ
ปัญญาชนของการวิจัยดังกล่าวด้วย
ศาสตราจารย์ พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช

Contenu connexe

Similaire à ศาสตราจารย์ พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช

ศาสตราจารย์คึกฤทธิ์ ปราโมท
ศาสตราจารย์คึกฤทธิ์ ปราโมท ศาสตราจารย์คึกฤทธิ์ ปราโมท
ศาสตราจารย์คึกฤทธิ์ ปราโมท SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง มนาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง มSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 
ทำเนียบนายกรัฐมนตรีของไทย
ทำเนียบนายกรัฐมนตรีของไทยทำเนียบนายกรัฐมนตรีของไทย
ทำเนียบนายกรัฐมนตรีของไทยสมใจ จันสุกสี
 

Similaire à ศาสตราจารย์ พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช (8)

ศาสตราจารย์คึกฤทธิ์ ปราโมท
ศาสตราจารย์คึกฤทธิ์ ปราโมท ศาสตราจารย์คึกฤทธิ์ ปราโมท
ศาสตราจารย์คึกฤทธิ์ ปราโมท
 
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง มนาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
ทำเนียบนายกรัฐมนตรีของไทย
ทำเนียบนายกรัฐมนตรีของไทยทำเนียบนายกรัฐมนตรีของไทย
ทำเนียบนายกรัฐมนตรีของไทย
 

Plus de SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

Plus de SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

ศาสตราจารย์ พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช

  • 1.
  • 2.
  • 3.
  • 4. • เกิดเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 20 เมษายน 2454 ที่จังหวัดสิงห์บุรี เป็นบุตรคน สุดท้องของ พลโท พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าคํารบ กับหม่อมแดง ปราโมช สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชชนนี (พระพันปีหลวง) พระราชทานชื่อว่า 'คึกฤทธิ์' นักปราชญ์นักเขียน นักการเมือง และศิลปิน แห่งชาตินับเป็นปูชนียบุคคลท่านหนึ่งของไทย เป็นน้องชายแท้ๆ ของ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ปราโมชอดีตนายกรัฐมนตรี 4 สมัย สื่อมวลชน จึงนิยมเรียกทั้งคู่ว่า "หม่อมพี่ หม่อมน้อง" นอกจากนี้ หม่อมราชวงศ์คึก ฤทธิ์ และ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ยังมีพี่สาวคือ หม่อมราชวงศ์บุญรับ พินิจ ชนคดี (สมรสกับ พลตํารวจเอกพระพินิจชนคดี หรือ พินิจ อินทรทูต)
  • 5. • ในเบื้องต้น ท่านได้เข้าศึกษาในโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย (วังหลัง) จากนั้น ได้เข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และเดินทางไปศึกษาต่อ ในประเทศอังกฤษ ที่โรงเรียน Trent College จากนั้น ได้สอบเข้า 'วิทยาลัยควีนส์' (The Queen's College) มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด เพื่อ ศึกษาวิชาปรัชญา,เศรษฐศาสตร์ และการเมือง (Philosophy, Politics and Economics - PPE) โดยสําเร็จปริญญาตรีเกียรตินิยม (และ 3 ปีต่อมา ก็ ได้รับปริญญาโทจากมหาวิทยาลัยดังกล่าว ตามธรรมเนียมสําหรับผู้สําเร็จ ปริญญาเกียรตินิยม และได้ผ่านการใช้ความรู้ความสามารถในวิชาที่รํ่า เรียนมาจนมีประสบการณ์ชํ่าชองมาระยะหนึ่ง)
  • 6. • นวนิยาย • สี่แผ่นดิน • ไผ่แดง • กาเหว่าที่บางเพลง • ซูสีไทเฮา • สามก๊กฉบับนายทุน • ราโชมอน • ฮวนนั้ง • โจโฉ นายกตลอดกาล • รวมเรื่องสั้น • มอม • เพื่อนนอน • หลายชีวิต
  • 7. • สารคดี • ฉากญี่ปุ่น • ยิว • เจ้าโลก • สงครามผิว • คนของโลก • ชมสวน • ธรรมคดี • นํ้าพริก • ฝรั่งศักดินา • สรรพสัตว์ • สัพเพเหระคดี • ข้อคิดเรื่อง เกิด แก่ เจ็บ ตาย • โครงกระดูกในตู้ • พม่าเสียเมือง • ถกเขมร • เก็บเล็กผสมน้อย • เบ้งเฮ็ก ผู้ถูกกลืนทั้งเป็น • เมืองมายา • เรื่องขําขัน
  • 8. • -รับราชการที่กรมสรรพากร -เลขานุการที่ปรึกษากระทรวงการคลัง -ผู้จัดการธนาคารพาณิชย์สาขาลําปาง -รับราชการทหาร[ เมื่อเกิดสงครามอินโดจีนและสงครามมหาเอเชียบูรพา] -หัวหน้าฝ่ายสํานักผู้ว่าการและหัวหน้าฝ่ายออกบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย -ประธานกรรมการ ธนาคารกรุงเทพฯ พาณิชย์การจํากัด -เขียนบทความลงในคอลัมน์ "ซอยสวนพลู" -พ.ศ. 2531 ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนยศเป็นพลตรี (ทหารราช องครักษ์พิเศษ)
  • 9. -พ.ศ. 2488-2489 เป็นผู้ริเริ่มจัดตั้งพรรคการเมืองพรรคแรกในเมืองไทย ชื่อ "พรรคก้าวหน้า" -ได้ร่วมในคณะผู้ก่อตั้งพรรคประชาธิปัตย์ -ได้ริเริ่มจัดตั้งพรรคกิจสังคม -พ.ศ. 2518 ได้จัดตั้งรัฐบาลผสมขึ้น และได้เข้ารับตําแหน่งนายกรัฐมนตรี -พ.ศ. 2519 ได้ตัดสินใจยุบสภาผู้แทนราษฎร บริหารประเทศประมาณ 9 เดือน เศษ
  • 10. • -ได้ดําเนินการเปิดสัมพันธ์ทางการทูตกับสาธารณรัฐประชาชนจีน โดย เดินทางไปเยือนกรุงปักกิ่ง ตามนโยบายการอยู่ร่วมกันอย่างปกติ และเป็น มิตรกับทุกประเทศที่มีเจตนาดีต่อประเทศไทยโดยไม่คํานึงถึง ความ แตกต่างทางอุดมการณ์ทางการเมืองในด้านการพัฒนาประเทศ -เริ่มโครงการผันเงินชนบท เพื่อปรับปรุง และสร้างสิ่งสาธารณูปโภค ที่ จําเป็นในชนบทเพื่อปรับปรุงสภาพความเป็นอยู่ และสร้างงานชนบท โดย การสร้างในงบประมาณรายจ่ายเพื่อปรับปรุงและสร้างสิ่ง สาธารณูปโภค ที่จําเป็นต่อชนบท มีผลให้ประชาชนในชนบทมีงานทํา และมีรายได้เป็น การยกฐานเศรษฐกิจของชาวชนบทให้ดีขึ้น
  • 11. • -ส่งเสริมการพัฒนาสภาตําบลอย่างจริงจัง รวมทั้งจัดให้มีโครงการ ช่วยเหลือ ผู้มีรายได้น้อย -ดําเนินการซื้อสัมปทานเดินรถของเอกชนรวมเป็นของรัฐบาล ภายใต้การ ดําเนินงานขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ -เป็นผู้ก่อตั้งหนังสือพิมพ์สยามรัฐขึ้น เมื่อ พ.ศ.2493 และเริ่มบทบาทของ การเป็นนักเขียนและนักหนังสือพิมพ์อย่างจริงจัง
  • 12. • -ได้รับการยกย่องให้เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ใน พ.ศ.2528 โดยท่านมีผลงานด้านวรรณศิลป์ที่โดดเด่นมากกว่า 200 เรื่อง ทั้งนวนิยาย เรื่องสั้น เรื่องแปล เช่น สี่แผ่นดิน ไผ่แดง หลายชีวิต ซูสีไทเฮา เป็นต้น -เป็นผู้ก่อตั้งสถาบันไทยคดีศึกษา ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อ พ.ศ.2513 -เป็นผู้ก่อตั้งโขนธรรมศาสตร์ เมื่อ พ.ศ.2509 เพื่อฟื้นฟูการแสดงโขนให้ เป็นที่รู้จักของประชาชนทั่วไป และเพื่ออบรมให้เยาวชนเข้าใจในเรื่อง วัฒนธรรมไทย
  • 13. • สุลักษณ์ ศิวรักษ์ได้วิพากษ์วิจารณ์ผลงานของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ โดยเฉพาะ สี่แผ่นดินว่า "ใช้เล่ห์เพทุบาย ในการมอมเมาผู้คนยิ่งกว่าให้ข้อเท็จจริงอย่าง สุจริตใจ" ส่วน ไผ่แดง กาเหว่าที่บางเพลง ฮวนนั้ง และซูสีไทเฮา สุลักษณ์ กล่าวว่าเป็นบทประพันธ์ที่ลอกเลียนมาจากภาษาต่างประเทศระดับ "ขโมย หรือปล้นสดมภ์มาเลยทีเดียว" คําวิพากษ์วิจารณ์นี้อยู่บนพื้นฐานของการ วิจัยปัญญาชนไทย 10 คน ซึ่งมีอิทธิพลกับการสร้างจิตสํานึกให้คนไทย ร่วมสมัย ซึ่ง ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ และ หลวงวิจิตรวาทการ ก็อยู่ในรายชื่อ ปัญญาชนของการวิจัยดังกล่าวด้วย