SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  16
Télécharger pour lire hors ligne

แดน บีช บรัดเลย์

จัดทาโดย
นาย เทพศิริ ดาวเรือง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/3
เสนอ
คุณครู สฤษดิ์ศักดิ์ ชิ้นเขมจารี
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ร้อยเอ็ด
ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี
แดน บีช บรัดเลย์

แดน บีช บรัดเลย์
หมอบรัดเลย์ หรือ แดน บีช แบรดลีย์ แพทยศาสตร
ดุษฎีบัณฑิต (อังกฤษ: Dan Beach
Bradley) หรือบางคนเขียนเป็น หมอบรัดเล หมอ
ปลัดเล หมอปรัดเล หรือ หมอปรัดเลย์ เป็น
นายแพทย์ชาวอเมริกันที่เข้ามาเผยแพร่ศาสนาคริสต์ใน
ประเทศไทยสมัยรัชกาลที่ 3 และยังเป็นผู้เริ่มต้นการ
พิมพ์อักษรไทยในประเทศไทยเป็นครั้งแรก และทาการ
ผ่าตัดในประเทศไทยเป็นครั้งแรก

แดน บีช บรัดเลย์ เป็นชาวเมืองมาร์เซลลัส (Marcellus)
เกิดเมื่อ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2347 บุตรคนที่ห้าของนายแดน
บรัดเลย์และนางยูนิช บีช บรัดเลย์ สาเร็จการแพทย์
จาก มหาวิทยาลัยนิวยอร์กสมรสกับภรรยาคนแรก เอมิลี รอยส์
บรัดเลย์ และภรรยาคนที่สอง ซาราห์ แบลคลี บรัดเลย์
ประวัติ

 ทาการผ่าตัดแผนใหม่เป็นรายแรกของประเทศไทย
 ปลูกฝีป้องกันไข้ทรพิษสาเร็จเป็นรายแรกของประเทศไทย
 ตั้งโรงพิมพ์และตีพิมพ์ประกาศห้ามสูบฝิ่นซึ่งเป็นประกาศทางราชการที่ใช้วิธีตีพิมพ์เป็นครั้งแรก
 ริเริ่มนิตยสาร บางกอกรีคอเดอ (The Bangkok Recorder) หนังสือพิมพ์
ภาษาไทยฉบับแรก
 พิมพ์ปฏิทินสุริยคติเป็นภาษาไทยขึ้นเป็นครั้งแรก
 พิมพ์หนังสือคัมภีร์ครรภ์ทรักษา
 หนังสือบัญญัติสิบประการ (The Commandments) ซึ่งเป็นหนังสือสอนคริสต์
ศาสนามีทั้งหมด 12 หน้า
ผลงาน

หมอบรัดเลย์หรือ แดน บีช แบรดลีย์(Dan Beach Bradley, M.D.) หรือบาง
คนเขียนเป็น หมอบรัดเลหมอปลัดเล หมอปรัดเล หรือ หมอปรัดเลย์เป็น
นายแพทย์ชาวอเมริกันที่เข้ามาเผยแพร่ศาสนาคริสต์ในประเทศไทยสมัย
รัชกาลที่ 3 และยังเป็นผู้เริ่มต้นการพิมพ์อักษรไทยในประเทศไทยเป็นครั้ง
แรก และทาการผ่าตัดในประเทศไทยเป็นครั้งแรกแดน บีช บรัดเลย์เป็น
ชาวเมืองมาร์เซลลัส (Marcellus) เกิดเมื่อ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2347 บุตรคนที่
ห้าของนายแดน บรัดเลย์และนางยูนิช บีช บรัดเลย์สาเร็จการแพทย์จาก
มหาวิทยาลัยนิวยอร์ก สมรสกับภรรยาคนแรก เอมิลี รอยส์ บรัดเลย์และ
ภรรยาคนที่สอง ซาราห์ แบลคลี บรัดเลย์

 คนไทยกับคนอเมริกันได้พบเห็นหน้าอย่างเป็นทางการครั้งแรกเมื่อในรัชกาลที่ ๓ ในครั้ง
นั้นประธานาธิบดีแย็กสัน (Andrew Jackson) ได้แต่งตั้งให้เอมินราบัดหรือ เอดมันด์ รอ
เบิต (Edmond Roberts) เป็นทูตขี่เรือกาปั่นเข้ามาทาหนังสือสัญญาทางพระราชไมตรีและ
การค้าขายเมื่อ พ.ศ. ๒๓๗๕ (ภายหลังประเทศอังกฤษ) และต่อจากนั้น ๓ ปี หมอบรัดเลย์ก็
นั่งเรือใบเข้ามา
 หมอบรัดเลย์เป็นคนเมืองมาร์เซลลุส (Marcellus) ในมลรัฐนิวยอร์ก เป็นเมืองที่บิดา
มารดามาตั้งครอบครัวอยู่หลังจากอพยพมาจากนิวฮาเวน (New Haven) บิดาชื่อ แดน
บรัดเลย์มีอาชีพเป็นศาสนาจารย์, เกษตรกร, ผู้พิพากษา และบรรณาธิการวารสารทาง
เกษตรกรรม มารดาชื่อ ยูนิซ บีช บรัดเลย์(EuniceBeach Bradley) เมื่อนางให้กาเนิดหมอบ
รัดเลย์เมื่อวันที่ ๑๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๓๔๗

 นางก็สิ้นชีวิตในวันต่อมา หมอบรัดเลย์เป็นบุตรคนที่ ๕ ชื่อแรกมาจากชื่อของบิดาคือ
แดน และชื่อกลางมาจากชื่อสกุลมารดาคือ บีช รวมเป็นแดน บีชบรัดเลย์
 ต่อมาบิดาของท่านได้แต่งงานใหม่เมื่อ พ.ศ. ๒๓๔๘ ท่านจึงได้รับการเลี้ยงดูจาก
มารดาเลี้ยง และมีน้องที่เกิดจากแม่คนใหม่อีก ๕ คน แม้กระนั้นก็ได้ให้ความรักความ
เมตตาแก่ท่านเป็นอย่างดี ทาให้ไม่รู้สึกว้าเหว่แต่อย่างใด
 ท่านเป็นคนชอบอ่านหนังสือมาตั้งแต่เป็นเด็ก จึงอาจเป็นเหตุหนึ่งที่ทาให้ท่าน
สนใจในการพิมพ์หนังสือในสมัยต่อมา และอยากให้คนไทยอ่านหนังสือกันมาก ๆเผอิญ
สิ่งแวดล้อมในอเมริกาครั้งนั้นเป็นผลดีแก่เมืองไทย ที่จะได้คนดีอย่างหมอบรัดเลย์เข้ามา
คือในสมัยนั้นทางฝ่ายเผยแผ่ศาสนาคริสต์มีความต้องการมิชชันนารีที่เป็นแพทย์จานวน
มาก หมอบรัดเลย์จึงได้ตัดสินใจเข้าศึกษาวิชาแพทย์แทนที่จะทางานทางศาสนา และ
เนื่องจากขณะนั้นสุขภาพไม่ค่อยดี ในระยะแรกท่านจึงศึกษากับนายแพทย์โอลิเวอร์ (Dr.
A.F. Oliver) ที่เมือง Penn Yan แบบตามสบายเพื่อรอให้สุขภาพดีขึ้น

 จะสอบเพื่อรับปริญญา ท่านเคยไปฟังบรรยายทางการแพทย์ที่ Harvard ในปี ค.ศ. ๑๘๓๐
และกลับไปฝึกปฏิบัติงานการแพทย์สลับกับการเป็นครูในหมู่บ้าน เมื่อสะสมเงินได้
เพียงพอ จึงไปที่เมื่ออยู่ในวัยรุ่น ท่านมีข้อบกพร่องอยู่อย่างหนึ่งคือพูดติดอ่าง ซึ่งเป็น
อุปสรรคอย่างยิ่งในการเผยแผ่ศาสนาที่จะต้องพูดหรือบรรยายธรรม ฉะนั้นท่านจึงต้อง
รีบแก้ไขโดยการเข้ากลุ่มฝึกพูด ซึ่งก็เป็นผลดี
 ในหนังสือ ๕๐ ปีโรงพยาบาลกรุงเทพคริสเตียน นายแพทย์คทาวุธ โลกาพัฒนา ได้
กล่าวถึงการเรียนวิชาแพทย์ของหมอบรัดเลย์ไว้ตอนหนึ่งว่า
 "การศึกษาวิชาแพทย์ในสมัยนั้นเป็นการศึกษาแบบปฏิบัติกับแพทย์ที่ปฏิบัติงาน
อยู่ จนกระทั่งมีประสบการณ์เพียงพอจึงโรงเรียนแพทย์ในกรุงนิวยอร์กเพื่อเรียนและสอบ
ได้ปริญญาแพทย์ในเดือนเมษายนค.ศ. ๑๘๓๓

 ระหว่างอยู่ในนิวยอร์กยังได้ปฏิบัติงานหาความชานาญ และระหว่าง ๒ ปีนั้นอหิวาตกโรค
กาลังระบาดอยู่ในนิวยอร์ก โดยระบาดมาจากเมืองควิเบก ขณะศึกษาอยู่ในนิวยอร์กได้
สมัครเป็นแพทย์มิชชันนารีกับ ABCFM (American Board of Commissioners of Foreign
Missions) เพื่อทางานในอาเซีย
 ที่นิวยอร์ก หมอบรัดเลย์ได้รู้จักกับบุคคลสองคนซึ่งมีผลต่อการดาเนินชีวิตในระยะต่อมา
คนแรกคือ Charles Grandison Finneyซึ่งเป็นนักเทศน์และอาจารย์จาก Oberlin College มี
ความเชื่อว่า มนุษย์ควรจะดารงชีวิตโดยไม่มีบาป คือดารงชีวิตของตนเช่นเดียวกับพระ
คริสตเจ้า ความเชื่อนี้มีผลต่อการปฏิบัติงานของหมอบรัดเลย์ในเมืองไทย คนที่สองคือ
Reverend Charles Eddy แห่งคณะ ABCFM ซึ่งแนะนาว่าการทางานมิชชันนารีในต่างแดน
ควรจะมีผู้ช่วย"
 ในที่สุดหมอบรัดเลย์ได้เข้าศึกษาที่ College of Physicians ที่เมืองนิวยอร์ก และได้รับ
ปริญญา Doctor of Medicine เมื่อเดือนเมษายน ค.ศ. ๑๘๓๓ (พ.ศ. ๒๓๗๖) พร้อมที่จะเป็น
มิชชันนารีต่อไป

ในช่วงเวลาที่หมอบรัดเลย์เกิดจนถึงรุ่นหนุ่ม สังคมอเมริกันได้เกิดความ
เคลื่อนไหวที่สาคัญซึ่งมีอิทธิพลต่อแนวความคิดและวัฒนธรรมอเมริกัน คือ
การฟื้ นสานึกทางศาสนาครั้งใหญ่ เป้าหมายสาคัญคือการฟื้ นฟูหลักธรรม
ของศาสนาคริสต์โปรเตสแตนต์ โดยมีการเคลื่อนไหวเพื่อต่อต้านอบายมุข
การเคลื่อนไหวเพื่อการเลิกทาส และการรณรงค์เพื่อเดินทางออกไปเผยแพร่
ศาสนายังประเทศต่างๆทั่วโลก การฟื้ นสานึกทางศาสนาที่มีอิทธิพลต่อ
หมอบรัดเลย์โดยตรง หมอบรัดเลย์ในวัยหนุ่มตั้งใจจะศึกษาทางด้านอักษร
ศาสตร์ แต่ต้องประสบปัญหาทางด้านการพูดออกเสียงและมีอายุมากเกิน
จึงต้องเบนเข็มเข้าเรียนทางด้านการแพทย์แทน โดยเริ่มเข้าศึกษา

 ชั้นต้นกับคลินิกแพทย์คนหนึ่งที่ออเบิ์รน แต่ต้องพักการเรียนระยะหนึ่งเนื่องจากปัญหา
ด้านสุขภาพ ต่อมาเมื่อสุขภาพแข็งแรงแล้วก็คิดจะเรียนต่อทางด้านศาสนา เพื่อเป็นผู้สอน
ศาสนา แต่ก็ต้องประสบปัญหาทางด้านการเงินและอายุอีก จึงหันกลับมาเรียนต่อ ทางด้าน
การแพทย์อีกครั้ง โดยมุ่งหวังว่าจะทาให้สามารถทางานเผยแพร่ศาสนาได้ในที่สุด หมอบ
รัดเลย์ก็เรียนสาเร็จ ได้รับปริญญาทางการแพทย์จากมหาวิทยาลัยนิวยอร์ก ในปี 2376
 เมื่อได้ปริญญาทางการแพทย์แล้วหมอบรัดเลย์จึงสมัครเป็นมิชชันนารี กับคณะ เอ บี ซี
เอฟ เอ็ม (American Board of Commissioner Foreign Mission) คือคณะมิชชันนารีเพื่อ
พันธกิจต่างชาติ หรือที่เรียกกันสั้นๆว่า "คณะอเมริกันบอร์ด" คณะอเมริกันบอร์ดอนุมัติให้
หมอบรัดเลย์เดินทางมาเผยแผ่ศาสนาในเอเชียได้จุดหมายปลายทางคือ ประเทศสยาม ซึ่ง
กาลังเป็นที่รู้จัก ตามธรรมเนียมของการเดินทางมายังประเทศห่างไกลเช่นนี้ มิชชั่นนารี
จาเป็นต้องมีคู่แต่งงานเดินทางมาด้วย หมอบรัดเลย์จาเป็นต้องหาผู้หญิงที่พร้อมจะเป็น
คู่ชีวิตและยอมเป็นคู่ชีวิตและยอมเดินทาง

 1 กรกฎาคม 2377 หมอบรัดเลย์ออกเดินทางจากบอสตันมุ่งหน้าสู่สยาม โดย
เรือ "แคชเมียร์" ใช้เวลารอนแรมในทะเลเป็นเวลา 6 เดือน หมอบรัดเลย์ก็
มาถึงสิงคโปร์ในวันที่ 12 มกราคม 2378 และแวะพักอยู่ที่สิงค์โปร์อีก 6 เดือน
ก่อนจะเดินทางเข้าสู่สยามในวันที่ 18 กรกฎาคม 2378 เป็นวันเกิดปีที่ 31 ปี
พอดี
 เมื่อมาถึงสยามหมอบรัดเลย์ได้อาศัยพักรวมอยู่กับครอบครัวของศาสนา
จารย์สตีเฟน จอห์นสัน ที่ย่านวัดเกาะ โดยมีเป้าหมายเพื่อเผยแผ่ศาสนากับ
ชุมชนชาวจีนก่อนเป็นลาดับแรก ที่บ้านพักย่านวัดเกาะนี้ หมอบรัดเลย์ได้เปิด
โอสถสถาน ขึ้น เพื่อทาการรักษา จ่ายยา และหนังสือเกี่ยวกับศาสนาให้กับ
คนไข้

แต่ไม่นานกิจการนี้ก็ถูกเพ่งเล็ง ว่าอาจทาให้ชาวจีนกระด้างกระเดื่องต่อ
รัฐบาลสยามได้ จึงมีการกดดันเจ้าของที่ดินคือนายกลิ่นไม่ให้มิชชันนารีเช่าที่
ต่อไปอีก หมอบรัดเลย์จึงต้องย้ายมาเช่าที่ของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหา
ประยูรวงศ์ที่บริเวณหน้าวัดประยูรวงศาวาส เป็นที่ทาการแห่งใหม่
ที่อยู่แห่งใหม่นี้เองที่หมอบรัดเลย์ได้ทาการผ่าตัดครั้งสาคัญในประวัติศาสตร์
การแพทย์ของไทย คือการตัดแขนพระภิกษุรูปหนึ่งที่ได้รับอุบัติเหตุจาก
กระบอกบรรจุดินดาทาพลุแตกในงานฉลองที่วัดประยูรวงศาวาส หมอบ
รัดเลย์ต้องตัดแขนพระภิกษุรูปนี้เพื่อรักษาชีวิตไว้ทางการแพทย์ถือว่าเป็น
การผ่าตัดแผนปัจจุบันครั้งแรกของไทย เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 13
มกราคม2380

หลังจากที่หมอบรัดเลย์ประสบความสาเร็จอย่างมากในทางการแพทย์ก็เป็น
ที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางในบางกอก แต่นั่นกลับไม่ช่วยให้กิจกรรมทางด้าน
ศาสนาประสบความสาเร็จไปด้วย ตลอดชีวิตของหมอบรัดเลย์ในสยามซึ่ง
กินเวลาเกือบ 40 ปีนั้น ทาให้กลับใจเปลี่ยนศาสนาได้ไม่กี่คน หรือเรียกว่า
ล้มเหลวอย่างสิ้นเชิง แม้ว่าทุกสิ่งที่หมอบรัดเลย์ทานั้นล้วนแต่เพื่อสนับสนุน
กิจกรรมทางศ่าสนาทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นทางด้านการแพทย์หรือการพิมพ์ก็
ตาม
 ส่วนงานที่หมอบรัดเลย์ทาและพัฒนาขึ้นตลอดเวลาคือ การพิมพ์ สิ่งที่
น่าสนใจในงานพิมพ์ของหมอบรัดเลย์ก็เป็นเครื่องมือสาคัญในการเผยแผ่
ศาสนา เป็นสิ่งสนับสนุนทางการแพทย์ และยังเป็นรายได้เพื่อจุนเจือ
ครอบครัวอีกด้วย

ขอบคุณครับ

Contenu connexe

Tendances

คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดA-NKR Ning
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
การอ่านเพื่อคาดคะเนเหตุการณ์และแสดงความ
การอ่านเพื่อคาดคะเนเหตุการณ์และแสดงความการอ่านเพื่อคาดคะเนเหตุการณ์และแสดงความ
การอ่านเพื่อคาดคะเนเหตุการณ์และแสดงความSurapong Klamboot
 
ประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนพัน พัน
 
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่ายใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่ายkrunoree.wordpress.com
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงSurapong Klamboot
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นNattha Namm
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีMilky' __
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธาSantichon Islamic School
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมWatcharapol Wiboolyasarin
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองRung Kru
 
สารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยสารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยPoppy Nana
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดThiranan Suphiphongsakorn
 
สรุปนิราศภูเขาทอง
สรุปนิราศภูเขาทองสรุปนิราศภูเขาทอง
สรุปนิราศภูเขาทองkanchana13
 

Tendances (20)

คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1
 
สงครามโลก
สงครามโลกสงครามโลก
สงครามโลก
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
การอ่านเพื่อคาดคะเนเหตุการณ์และแสดงความ
การอ่านเพื่อคาดคะเนเหตุการณ์และแสดงความการอ่านเพื่อคาดคะเนเหตุการณ์และแสดงความ
การอ่านเพื่อคาดคะเนเหตุการณ์และแสดงความ
 
ประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อน
 
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่ายใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลง
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
สารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยสารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทย
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
 
สรุปนิราศภูเขาทอง
สรุปนิราศภูเขาทองสรุปนิราศภูเขาทอง
สรุปนิราศภูเขาทอง
 

Similaire à หมอบรัดเลย์

วิธีปฏิบัติตนให้มีอายุยืน
วิธีปฏิบัติตนให้มีอายุยืนวิธีปฏิบัติตนให้มีอายุยืน
วิธีปฏิบัติตนให้มีอายุยืนUtai Sukviwatsirikul
 
นาย คัมภีร์ ชุ่มชื่น
นาย คัมภีร์ ชุ่มชื่นนาย คัมภีร์ ชุ่มชื่น
นาย คัมภีร์ ชุ่มชื่นCampee Chumchuen
 
นาย คัมภีร์ ชุ่มชื่น
นาย คัมภีร์ ชุ่มชื่นนาย คัมภีร์ ชุ่มชื่น
นาย คัมภีร์ ชุ่มชื่นCampee Chumchuen
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ พลอธิป
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ พลอธิปคัมภีร์ฉันทศาสตร์ พลอธิป
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ พลอธิปJirakit Meroso
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ น้องฟลุ๊ค
คัมภีร์ฉันทศาสตร์  น้องฟลุ๊คคัมภีร์ฉันทศาสตร์  น้องฟลุ๊ค
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ น้องฟลุ๊คMooFlook Indy
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ทัศนะ แก้วช่วย
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 

Similaire à หมอบรัดเลย์ (15)

หมอ บรัดเลย์
หมอ บรัดเลย์หมอ บรัดเลย์
หมอ บรัดเลย์
 
หมอ บรัดเลย์1
หมอ บรัดเลย์1หมอ บรัดเลย์1
หมอ บรัดเลย์1
 
งาน ภาษาไทย กินิว
งาน ภาษาไทย กินิวงาน ภาษาไทย กินิว
งาน ภาษาไทย กินิว
 
งาน ภาษาไทย กินิว
งาน ภาษาไทย กินิวงาน ภาษาไทย กินิว
งาน ภาษาไทย กินิว
 
วิธีปฏิบัติตนให้มีอายุยืน
วิธีปฏิบัติตนให้มีอายุยืนวิธีปฏิบัติตนให้มีอายุยืน
วิธีปฏิบัติตนให้มีอายุยืน
 
นาย คัมภีร์ ชุ่มชื่น
นาย คัมภีร์ ชุ่มชื่นนาย คัมภีร์ ชุ่มชื่น
นาย คัมภีร์ ชุ่มชื่น
 
นาย คัมภีร์ ชุ่มชื่น
นาย คัมภีร์ ชุ่มชื่นนาย คัมภีร์ ชุ่มชื่น
นาย คัมภีร์ ชุ่มชื่น
 
พงษ์ศักดิ์ หนูนาค
พงษ์ศักดิ์  หนูนาคพงษ์ศักดิ์  หนูนาค
พงษ์ศักดิ์ หนูนาค
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ พลอธิป
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ พลอธิปคัมภีร์ฉันทศาสตร์ พลอธิป
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ พลอธิป
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ น้องฟลุ๊ค
คัมภีร์ฉันทศาสตร์  น้องฟลุ๊คคัมภีร์ฉันทศาสตร์  น้องฟลุ๊ค
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ น้องฟลุ๊ค
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 

Plus de SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

Plus de SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

หมอบรัดเลย์

  • 2.  จัดทาโดย นาย เทพศิริ ดาวเรือง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/3 เสนอ คุณครู สฤษดิ์ศักดิ์ ชิ้นเขมจารี โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ร้อยเอ็ด ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี แดน บีช บรัดเลย์
  • 3.  แดน บีช บรัดเลย์ หมอบรัดเลย์ หรือ แดน บีช แบรดลีย์ แพทยศาสตร ดุษฎีบัณฑิต (อังกฤษ: Dan Beach Bradley) หรือบางคนเขียนเป็น หมอบรัดเล หมอ ปลัดเล หมอปรัดเล หรือ หมอปรัดเลย์ เป็น นายแพทย์ชาวอเมริกันที่เข้ามาเผยแพร่ศาสนาคริสต์ใน ประเทศไทยสมัยรัชกาลที่ 3 และยังเป็นผู้เริ่มต้นการ พิมพ์อักษรไทยในประเทศไทยเป็นครั้งแรก และทาการ ผ่าตัดในประเทศไทยเป็นครั้งแรก
  • 4.  แดน บีช บรัดเลย์ เป็นชาวเมืองมาร์เซลลัส (Marcellus) เกิดเมื่อ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2347 บุตรคนที่ห้าของนายแดน บรัดเลย์และนางยูนิช บีช บรัดเลย์ สาเร็จการแพทย์ จาก มหาวิทยาลัยนิวยอร์กสมรสกับภรรยาคนแรก เอมิลี รอยส์ บรัดเลย์ และภรรยาคนที่สอง ซาราห์ แบลคลี บรัดเลย์ ประวัติ
  • 5.   ทาการผ่าตัดแผนใหม่เป็นรายแรกของประเทศไทย  ปลูกฝีป้องกันไข้ทรพิษสาเร็จเป็นรายแรกของประเทศไทย  ตั้งโรงพิมพ์และตีพิมพ์ประกาศห้ามสูบฝิ่นซึ่งเป็นประกาศทางราชการที่ใช้วิธีตีพิมพ์เป็นครั้งแรก  ริเริ่มนิตยสาร บางกอกรีคอเดอ (The Bangkok Recorder) หนังสือพิมพ์ ภาษาไทยฉบับแรก  พิมพ์ปฏิทินสุริยคติเป็นภาษาไทยขึ้นเป็นครั้งแรก  พิมพ์หนังสือคัมภีร์ครรภ์ทรักษา  หนังสือบัญญัติสิบประการ (The Commandments) ซึ่งเป็นหนังสือสอนคริสต์ ศาสนามีทั้งหมด 12 หน้า ผลงาน
  • 6.  หมอบรัดเลย์หรือ แดน บีช แบรดลีย์(Dan Beach Bradley, M.D.) หรือบาง คนเขียนเป็น หมอบรัดเลหมอปลัดเล หมอปรัดเล หรือ หมอปรัดเลย์เป็น นายแพทย์ชาวอเมริกันที่เข้ามาเผยแพร่ศาสนาคริสต์ในประเทศไทยสมัย รัชกาลที่ 3 และยังเป็นผู้เริ่มต้นการพิมพ์อักษรไทยในประเทศไทยเป็นครั้ง แรก และทาการผ่าตัดในประเทศไทยเป็นครั้งแรกแดน บีช บรัดเลย์เป็น ชาวเมืองมาร์เซลลัส (Marcellus) เกิดเมื่อ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2347 บุตรคนที่ ห้าของนายแดน บรัดเลย์และนางยูนิช บีช บรัดเลย์สาเร็จการแพทย์จาก มหาวิทยาลัยนิวยอร์ก สมรสกับภรรยาคนแรก เอมิลี รอยส์ บรัดเลย์และ ภรรยาคนที่สอง ซาราห์ แบลคลี บรัดเลย์
  • 7.   คนไทยกับคนอเมริกันได้พบเห็นหน้าอย่างเป็นทางการครั้งแรกเมื่อในรัชกาลที่ ๓ ในครั้ง นั้นประธานาธิบดีแย็กสัน (Andrew Jackson) ได้แต่งตั้งให้เอมินราบัดหรือ เอดมันด์ รอ เบิต (Edmond Roberts) เป็นทูตขี่เรือกาปั่นเข้ามาทาหนังสือสัญญาทางพระราชไมตรีและ การค้าขายเมื่อ พ.ศ. ๒๓๗๕ (ภายหลังประเทศอังกฤษ) และต่อจากนั้น ๓ ปี หมอบรัดเลย์ก็ นั่งเรือใบเข้ามา  หมอบรัดเลย์เป็นคนเมืองมาร์เซลลุส (Marcellus) ในมลรัฐนิวยอร์ก เป็นเมืองที่บิดา มารดามาตั้งครอบครัวอยู่หลังจากอพยพมาจากนิวฮาเวน (New Haven) บิดาชื่อ แดน บรัดเลย์มีอาชีพเป็นศาสนาจารย์, เกษตรกร, ผู้พิพากษา และบรรณาธิการวารสารทาง เกษตรกรรม มารดาชื่อ ยูนิซ บีช บรัดเลย์(EuniceBeach Bradley) เมื่อนางให้กาเนิดหมอบ รัดเลย์เมื่อวันที่ ๑๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๓๔๗
  • 8.   นางก็สิ้นชีวิตในวันต่อมา หมอบรัดเลย์เป็นบุตรคนที่ ๕ ชื่อแรกมาจากชื่อของบิดาคือ แดน และชื่อกลางมาจากชื่อสกุลมารดาคือ บีช รวมเป็นแดน บีชบรัดเลย์  ต่อมาบิดาของท่านได้แต่งงานใหม่เมื่อ พ.ศ. ๒๓๔๘ ท่านจึงได้รับการเลี้ยงดูจาก มารดาเลี้ยง และมีน้องที่เกิดจากแม่คนใหม่อีก ๕ คน แม้กระนั้นก็ได้ให้ความรักความ เมตตาแก่ท่านเป็นอย่างดี ทาให้ไม่รู้สึกว้าเหว่แต่อย่างใด  ท่านเป็นคนชอบอ่านหนังสือมาตั้งแต่เป็นเด็ก จึงอาจเป็นเหตุหนึ่งที่ทาให้ท่าน สนใจในการพิมพ์หนังสือในสมัยต่อมา และอยากให้คนไทยอ่านหนังสือกันมาก ๆเผอิญ สิ่งแวดล้อมในอเมริกาครั้งนั้นเป็นผลดีแก่เมืองไทย ที่จะได้คนดีอย่างหมอบรัดเลย์เข้ามา คือในสมัยนั้นทางฝ่ายเผยแผ่ศาสนาคริสต์มีความต้องการมิชชันนารีที่เป็นแพทย์จานวน มาก หมอบรัดเลย์จึงได้ตัดสินใจเข้าศึกษาวิชาแพทย์แทนที่จะทางานทางศาสนา และ เนื่องจากขณะนั้นสุขภาพไม่ค่อยดี ในระยะแรกท่านจึงศึกษากับนายแพทย์โอลิเวอร์ (Dr. A.F. Oliver) ที่เมือง Penn Yan แบบตามสบายเพื่อรอให้สุขภาพดีขึ้น
  • 9.   จะสอบเพื่อรับปริญญา ท่านเคยไปฟังบรรยายทางการแพทย์ที่ Harvard ในปี ค.ศ. ๑๘๓๐ และกลับไปฝึกปฏิบัติงานการแพทย์สลับกับการเป็นครูในหมู่บ้าน เมื่อสะสมเงินได้ เพียงพอ จึงไปที่เมื่ออยู่ในวัยรุ่น ท่านมีข้อบกพร่องอยู่อย่างหนึ่งคือพูดติดอ่าง ซึ่งเป็น อุปสรรคอย่างยิ่งในการเผยแผ่ศาสนาที่จะต้องพูดหรือบรรยายธรรม ฉะนั้นท่านจึงต้อง รีบแก้ไขโดยการเข้ากลุ่มฝึกพูด ซึ่งก็เป็นผลดี  ในหนังสือ ๕๐ ปีโรงพยาบาลกรุงเทพคริสเตียน นายแพทย์คทาวุธ โลกาพัฒนา ได้ กล่าวถึงการเรียนวิชาแพทย์ของหมอบรัดเลย์ไว้ตอนหนึ่งว่า  "การศึกษาวิชาแพทย์ในสมัยนั้นเป็นการศึกษาแบบปฏิบัติกับแพทย์ที่ปฏิบัติงาน อยู่ จนกระทั่งมีประสบการณ์เพียงพอจึงโรงเรียนแพทย์ในกรุงนิวยอร์กเพื่อเรียนและสอบ ได้ปริญญาแพทย์ในเดือนเมษายนค.ศ. ๑๘๓๓
  • 10.   ระหว่างอยู่ในนิวยอร์กยังได้ปฏิบัติงานหาความชานาญ และระหว่าง ๒ ปีนั้นอหิวาตกโรค กาลังระบาดอยู่ในนิวยอร์ก โดยระบาดมาจากเมืองควิเบก ขณะศึกษาอยู่ในนิวยอร์กได้ สมัครเป็นแพทย์มิชชันนารีกับ ABCFM (American Board of Commissioners of Foreign Missions) เพื่อทางานในอาเซีย  ที่นิวยอร์ก หมอบรัดเลย์ได้รู้จักกับบุคคลสองคนซึ่งมีผลต่อการดาเนินชีวิตในระยะต่อมา คนแรกคือ Charles Grandison Finneyซึ่งเป็นนักเทศน์และอาจารย์จาก Oberlin College มี ความเชื่อว่า มนุษย์ควรจะดารงชีวิตโดยไม่มีบาป คือดารงชีวิตของตนเช่นเดียวกับพระ คริสตเจ้า ความเชื่อนี้มีผลต่อการปฏิบัติงานของหมอบรัดเลย์ในเมืองไทย คนที่สองคือ Reverend Charles Eddy แห่งคณะ ABCFM ซึ่งแนะนาว่าการทางานมิชชันนารีในต่างแดน ควรจะมีผู้ช่วย"  ในที่สุดหมอบรัดเลย์ได้เข้าศึกษาที่ College of Physicians ที่เมืองนิวยอร์ก และได้รับ ปริญญา Doctor of Medicine เมื่อเดือนเมษายน ค.ศ. ๑๘๓๓ (พ.ศ. ๒๓๗๖) พร้อมที่จะเป็น มิชชันนารีต่อไป
  • 11.  ในช่วงเวลาที่หมอบรัดเลย์เกิดจนถึงรุ่นหนุ่ม สังคมอเมริกันได้เกิดความ เคลื่อนไหวที่สาคัญซึ่งมีอิทธิพลต่อแนวความคิดและวัฒนธรรมอเมริกัน คือ การฟื้ นสานึกทางศาสนาครั้งใหญ่ เป้าหมายสาคัญคือการฟื้ นฟูหลักธรรม ของศาสนาคริสต์โปรเตสแตนต์ โดยมีการเคลื่อนไหวเพื่อต่อต้านอบายมุข การเคลื่อนไหวเพื่อการเลิกทาส และการรณรงค์เพื่อเดินทางออกไปเผยแพร่ ศาสนายังประเทศต่างๆทั่วโลก การฟื้ นสานึกทางศาสนาที่มีอิทธิพลต่อ หมอบรัดเลย์โดยตรง หมอบรัดเลย์ในวัยหนุ่มตั้งใจจะศึกษาทางด้านอักษร ศาสตร์ แต่ต้องประสบปัญหาทางด้านการพูดออกเสียงและมีอายุมากเกิน จึงต้องเบนเข็มเข้าเรียนทางด้านการแพทย์แทน โดยเริ่มเข้าศึกษา
  • 12.   ชั้นต้นกับคลินิกแพทย์คนหนึ่งที่ออเบิ์รน แต่ต้องพักการเรียนระยะหนึ่งเนื่องจากปัญหา ด้านสุขภาพ ต่อมาเมื่อสุขภาพแข็งแรงแล้วก็คิดจะเรียนต่อทางด้านศาสนา เพื่อเป็นผู้สอน ศาสนา แต่ก็ต้องประสบปัญหาทางด้านการเงินและอายุอีก จึงหันกลับมาเรียนต่อ ทางด้าน การแพทย์อีกครั้ง โดยมุ่งหวังว่าจะทาให้สามารถทางานเผยแพร่ศาสนาได้ในที่สุด หมอบ รัดเลย์ก็เรียนสาเร็จ ได้รับปริญญาทางการแพทย์จากมหาวิทยาลัยนิวยอร์ก ในปี 2376  เมื่อได้ปริญญาทางการแพทย์แล้วหมอบรัดเลย์จึงสมัครเป็นมิชชันนารี กับคณะ เอ บี ซี เอฟ เอ็ม (American Board of Commissioner Foreign Mission) คือคณะมิชชันนารีเพื่อ พันธกิจต่างชาติ หรือที่เรียกกันสั้นๆว่า "คณะอเมริกันบอร์ด" คณะอเมริกันบอร์ดอนุมัติให้ หมอบรัดเลย์เดินทางมาเผยแผ่ศาสนาในเอเชียได้จุดหมายปลายทางคือ ประเทศสยาม ซึ่ง กาลังเป็นที่รู้จัก ตามธรรมเนียมของการเดินทางมายังประเทศห่างไกลเช่นนี้ มิชชั่นนารี จาเป็นต้องมีคู่แต่งงานเดินทางมาด้วย หมอบรัดเลย์จาเป็นต้องหาผู้หญิงที่พร้อมจะเป็น คู่ชีวิตและยอมเป็นคู่ชีวิตและยอมเดินทาง
  • 13.   1 กรกฎาคม 2377 หมอบรัดเลย์ออกเดินทางจากบอสตันมุ่งหน้าสู่สยาม โดย เรือ "แคชเมียร์" ใช้เวลารอนแรมในทะเลเป็นเวลา 6 เดือน หมอบรัดเลย์ก็ มาถึงสิงคโปร์ในวันที่ 12 มกราคม 2378 และแวะพักอยู่ที่สิงค์โปร์อีก 6 เดือน ก่อนจะเดินทางเข้าสู่สยามในวันที่ 18 กรกฎาคม 2378 เป็นวันเกิดปีที่ 31 ปี พอดี  เมื่อมาถึงสยามหมอบรัดเลย์ได้อาศัยพักรวมอยู่กับครอบครัวของศาสนา จารย์สตีเฟน จอห์นสัน ที่ย่านวัดเกาะ โดยมีเป้าหมายเพื่อเผยแผ่ศาสนากับ ชุมชนชาวจีนก่อนเป็นลาดับแรก ที่บ้านพักย่านวัดเกาะนี้ หมอบรัดเลย์ได้เปิด โอสถสถาน ขึ้น เพื่อทาการรักษา จ่ายยา และหนังสือเกี่ยวกับศาสนาให้กับ คนไข้
  • 14.  แต่ไม่นานกิจการนี้ก็ถูกเพ่งเล็ง ว่าอาจทาให้ชาวจีนกระด้างกระเดื่องต่อ รัฐบาลสยามได้ จึงมีการกดดันเจ้าของที่ดินคือนายกลิ่นไม่ให้มิชชันนารีเช่าที่ ต่อไปอีก หมอบรัดเลย์จึงต้องย้ายมาเช่าที่ของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหา ประยูรวงศ์ที่บริเวณหน้าวัดประยูรวงศาวาส เป็นที่ทาการแห่งใหม่ ที่อยู่แห่งใหม่นี้เองที่หมอบรัดเลย์ได้ทาการผ่าตัดครั้งสาคัญในประวัติศาสตร์ การแพทย์ของไทย คือการตัดแขนพระภิกษุรูปหนึ่งที่ได้รับอุบัติเหตุจาก กระบอกบรรจุดินดาทาพลุแตกในงานฉลองที่วัดประยูรวงศาวาส หมอบ รัดเลย์ต้องตัดแขนพระภิกษุรูปนี้เพื่อรักษาชีวิตไว้ทางการแพทย์ถือว่าเป็น การผ่าตัดแผนปัจจุบันครั้งแรกของไทย เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 13 มกราคม2380
  • 15.  หลังจากที่หมอบรัดเลย์ประสบความสาเร็จอย่างมากในทางการแพทย์ก็เป็น ที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางในบางกอก แต่นั่นกลับไม่ช่วยให้กิจกรรมทางด้าน ศาสนาประสบความสาเร็จไปด้วย ตลอดชีวิตของหมอบรัดเลย์ในสยามซึ่ง กินเวลาเกือบ 40 ปีนั้น ทาให้กลับใจเปลี่ยนศาสนาได้ไม่กี่คน หรือเรียกว่า ล้มเหลวอย่างสิ้นเชิง แม้ว่าทุกสิ่งที่หมอบรัดเลย์ทานั้นล้วนแต่เพื่อสนับสนุน กิจกรรมทางศ่าสนาทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นทางด้านการแพทย์หรือการพิมพ์ก็ ตาม  ส่วนงานที่หมอบรัดเลย์ทาและพัฒนาขึ้นตลอดเวลาคือ การพิมพ์ สิ่งที่ น่าสนใจในงานพิมพ์ของหมอบรัดเลย์ก็เป็นเครื่องมือสาคัญในการเผยแผ่ ศาสนา เป็นสิ่งสนับสนุนทางการแพทย์ และยังเป็นรายได้เพื่อจุนเจือ ครอบครัวอีกด้วย