SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  27
sweden
สวีเดน  ( Sweden)  หรือ ชื่ออย่างเป็นทางการ คือ  ราชอาณาจักรสวีเดน   เป็นประเทศกลุ่มนอร์ดิกตั้งอยู่บนคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย ในยุโรปเหนือ เขตแดนทางตะวันตกจรดประเทศนอร์เวย์ ทางตะวันออกเฉียงเหนือจรด ประเทศฟินแลนด์ และช่องแคบ สแกเกอร์แรก  ( Skagerrak)  ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดช่องแคบแคทีแกต   (Kattegat)  และทางตะวันออก จรดทะเลบอลติก และอ่าวบอทเนีย มีกรุงสตอกโฮล์มเป็นเมืองหลวง  ประเทศสวีเดนมีประชากรที่เบาบาง เว้นแต่ในเขตเมืองใหญ่ พื้นที่ส่วนใหญ่ ของประเทศประกอบด้วยป่าไม้ และภูเขาสูง สวีเดน
Swedish Krona (SEK)  อัตราแลกเปลี่ยน  1  โครน ประมาณ  5.00  บาท  9  โครน ประมาณ  1  ดอลลาร์สหรัฐ สกุลเงิน
กรุงสตอกโฮล์ม  ( Stockholm) เมืองหลวง
  ระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภาเดียว โดยมีกษัตริย์เป็นประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญ  ซึ่งสวีเดนมีรัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษรที่เก่าแก่ที่สุดในยุโรป ประกอบด้วยกฎหมาย ขั้นมูลฐาน รวม  4  ฉบับ เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี ค . ศ . 1809 ระบบการเมือง
สวีเดนตั้งอยู่บนคาบสมุทรสแกนดิเนเวียทางตอนเหนือของทวีปยุโรป  ทิศเหนือติดกับประเทศนอร์เวย์และฟินแลนด์ ทิศตะวันออกติดกับอ่าวบอทเนีย ทิศใต้ติดกับทะเลบอลติก ทิศตะวันตกติดกับประเทศนอร์เวย์ ที่ตั้ง
ตำแหน่งประมุขของสวีเดนเป็นของพระมหากษัตริย์โดยพระองค์ ปัจจุบันคือสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่  16  กุสตาฟ พระมหากษัตริย์ ทรงทำหน้าที่เป็นตัวแทนสูงสุดของประเทศ แต่ไม่มีอำนาจทางการ เมืองใดๆ รวมถึงไม่จำเป็นต้องลงพระนามในการตัดสินใจของรัฐสภาด้วย พระประมุข
รัฐธรรมนูญของสวีเดนประกอบด้วยกฎหมายมูลฐานสี่ฉบับ ได้แก่ Regeringsformen ( เครื่องมือของรัฐบาล พ . ศ . 2517) Successionsordningen ( กฎการสืบราชสมบัติ พ . ศ . 2353) Tryckfrihetsförordningen ( พระราชบัญญัติเสรีภาพสื่อ พ . ศ . 2309) Yttrandefrihetsgrundlagen ( กฎหมายมูลฐานว่าด้วยเสรีภาพในการแสดงออก พ . ศ . 2534) การแก้ไขหรือยกเลิกรัฐธรรมนูญ จะต้องได้รับความเห็นชอบตรงกันจากรัฐสภาสองครั้ง โดยมีการเลือกตั้งทั่วไปคั่นกลาง นอกจากนี้ยังมีพระราชบัญญัติรัฐสภา พ . ศ . 2517 ( Riksdagsordningen)  ซึ่งมีสถานะพิเศษ สูงกว่ากฎหมายทั่วไป แต่อยู่ต่ำกว่ารัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญ
รัฐสภาของสวีเดน เรียกในภาษาสวีเดนว่า  Riksdag  มีอำนาจนิติบัญญัติ  ใช้ระบบสภาเดี่ยวประกอบด้วยสมาชิก  349  คน มาจากการเลือกตั้งทุกๆ  4  ปี  การเลือกตั้งนั้นใช้ระบบสัดส่วน โดยพรรคการเมืองจะต้องได้รับเสียงจากทั่วประเทศ อย่างน้อยร้อยละ  4  หรืออย่างน้อยร้อยละ  12  ในเขตเลือกตั้ง จึงจะได้รับที่นั่งในรัฐสภา  การเลือกตั้งจัดขึ้นทุกๆ  4  ปี โดยครั้งต่อไปในวันที่  19  กันยายน พ . ศ . 2553 ผู้มีสิทธิเลือกตั้งจะต้องมีอายุอย่างน้อย  18  ปีในวันเลือกตั้ง ก่อนหน้านี้ สวีเดนเคยใช้ระบบสองสภามาตั้งแต่ปีพ . ศ . 2403  และได้ยกเลิกไปในการแก้ไขรัฐธรรมนูญเมื่อปีพ . ศ . 2511-2512 รัฐสภา
หลังจากการเลือกตั้ง พรรคหรือกลุ่มที่ได้มีจำนวนเสียงสูงสุดจะ จัดตั้งรัฐบาล โดยรัฐสภาจะเลือกนายกรัฐมนตรีทำหน้าที่เป็น หัวหน้ารัฐบาล และนายกรัฐมนตรีเลือกรัฐมนตรีเข้าร่วมรัฐบาล  นายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันได้แก่ เฟดริก รายน์เฟลท์  ( Fredrik Reinfeldt) หัวหน้าพรรคโมเดอเรตดำรงตำแหน่งตั้งแต่  5  ตุลาคม พ . ศ . 254 9 รัฐบาล
ภาษาสวีเดนเป็นภาษาราชการ นอกจากนี้ ใช้ภาษาซอมิและภาษาฟินแลนด์เป็นส่วนน้อย ภาษา
8.9  ล้านคน กลุ่มชนชาติ ชาวซอมิ  ( แลปป์ )  เป็นชนพื้นเมืองกลุ่มน้อยประมาณ  15,000  คน ประชากร
ร้อยละ  80  นับถือศาสนาคริสต์นิกาย  Lutheran State Church ศาสนา
สนามบินนานาชาติ คือ สนามบิน  Arlanda  ตั้งอยู่ห่างจากกรุงสตอกโฮล์ม ประมาณ  40  กม .  จากสนามบินมีรถไฟและรถเมล์โดยสารตรงเข้ากรุงสตอกโฮล์ม โดยรถไฟออกทุก   15  นาที ค่าโดยสารรถไฟ  190  โครนาสวีเดน ใช้เวลาเดินทาง  20  นาที และมีรถเมล์เข้ากรุงสตอกโฮล์มทุกๆ  5-10  นาที ค่าโดยสารรถเมล์  89  โครนาสวีเดน ค่าภาษีการใช้สนามบินมักจะรวมไว้ในราคาบัตรโดยสารเครื่องบินแล้ว เครือข่ายการบิน ในประเทศครอบคลุม รถประจำทางและระบบรถไฟสะดวกรวดเร็ว การคมนาคม
ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติต่อหัวประมาณ  28,400  เหรียญสหรัฐ อุตสาหกรรมหลักคือไม้สน เหล็ก ยานยนต์ การสื่อสาร ประเทศคู่ค้าที่สำคัญคือ สหภาพยุโรปและสหรัฐอเมริกา เศรษฐกิจ
สวีเดนเป็นสมาชิกของสหภาพยุโรป แต่มิได้เข้าร่วมใช้เงินสกุลยูโร และเป็นสมาชิกเชงเก้น  ( Schengen)  เมื่อวันที่  25  มีนาคม  2544  ดังนั้น ผู้ที่ถือหนังสือเดินทางไทยที่ขอวีซ่าเชงเก้นจากประเทศภาคีประเทศใด ประเทศหนึ่งแล้ว จะสามารถเดินทางไปยังประเทศสมาชิกเชงเก้นได้ทุกประเทศ แต่จะต้องเดินทางเข้าประเทศที่ได้รับการตรวจลงตราประเทศแรกก่อน และพำนักได้เป็นเวลา   3  เดือน ภายในช่วงระยะเวลา  6  เดือน การเข้าเมือง
สภาพภูมิอากาศ   ฤดูกาลในสวีเดน แบ่งออกเป็น  4   ฤดู ดังนี้
เดือนธันวาคม ถึงเดือนมีนาคม อากาศหนาวเย็นมากมีหิมะตกตอนกลางวัน จะสั้นแต่ตอนกลางคืนยาว อุณหภูมิระหว่าง  2   ถึง  – 7   องศาเซลเซียส  แต่สำหรับตอนเหนือสุดของสวีเดน ฤดูหนาวจะยาวนานถึง  8   เดือน ฤดูหนาว  ( Winter )
เดือนเมษายน ถึงเดือนพฤษภาคม อากาศเปลี่ยนแปลงง่าย โดยปกติจะมีฝนตกโปรยปรายและมีแสงแดด อุณหภูมิระหว่าง ตอนกลางวันและตอนกลางคืนจะแตกต่างกันมาก ประมาณ  5   ถึง  15   องศาเซลเซียส ฤดูใบไม้ผลิ  ( Spring )
เดือนมิถุนายน ถึงเดือนสิงหาคม อากาศอบอุ่น อุณหภูมิ  25   องศาเซลเซียส ขึ้นไป ตอนกลางวันจะยาวกว่า ตอนกลางคืนมาก จนแทบจะไม่มีกลางคืน ในช่วงต้นภาคฤดูร้อน คือเดือนมิถุนายน และเดือนกรกฎาคม จึงถือได้ว่าสวีเดน ก็เป็นดินแดนแห่งพระอาทิตย์เที่ยงคืนเช่นกัน ฤดูร้อน  ( Summer )
เดือนกันยายน ถึงเดือนพฤศจิกายน อากาศสดชื่นมีแสงแดดในตอนกลางวัน แต่อาจมีภัยพิบัติจากฝน อุณหภูมิระหว่าง  5   ถึง  18   องศาเซลเซียส ส่วนตอน กลางคืนอากาศเย็นสบาย  ฤดูใบไม้ร่วง  ( Autumn )
ระบอบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข มีรัฐสภาใน ระบบสภาเดียว สมาชิกรัฐสภา  349  คน มาจากการเลือกตั้งโดยตรง จากชาวสวีเดนอายุ  18  ปีขึ้นไป และจะอยู่ในตำแหน่งวาระ  4  ปี สำหรับ การปกครองส่วนท้องถิ่นสวีเดนมี  24  มณฑล และมีเทศบาล  288  แห่ง  โดยแต่ละเทศบาลมีสภาที่มาจากการเลือกตั้ง เพื่อทำหน้าที่บริการและอำนวย ความสะดวกแก่ชุมชนในเรื่องต่าง ๆ เช่น ที่อยู่อาศัย ถนน ระบบระบายน้ำ  การให้การศึกษาขั้นพื้นฐาน การดูแลคนชรา การให้สวัสดิการแก่เด็ก เป็นต้น   การปกครอง
สวีเดนเป็นหนึ่งในประเทศที่อยู่เหนือสุดของโลก มีขนาดพื้นที่ใกล้ เคียงกับประเทศไทย สวีเดนมีชายฝั่งที่ค่อนข้างยาว จรดทะเลบอลติก และอ่าวบอทเนีย ทางตะวันตกมีเทือกเขาสแกนดิเนเวีย ทอดตามแนว พรมแดนกับประเทศนอร์เวย์สวีเดนแบ่งออกเป็นสามภาคหลักๆ ได้แก่  Götaland  ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศ เป็นที่ราบและมีป่าไม้  Svealand  เป็นที่ราบอุดมสมบูรณ์ และมีทะเลสาบจำนวนมาก  และ   Norrland  เป็นภูมิภาคตอนเหนือของสวีเดน มีภูเขา ป่าไม้ และแร่ธาตุมาก ประมาณร้อยละสิบห้าของพื้นที่ทั้งหมดของประเทศตั้ง อยู่เหนือขึ้นไปจากอาร์กติกเซอร์เคิล ภูมิศาสตร์
อันดับ  5  จาก  177  ประเทศในดัชนีการพัฒนามนุษย์ พ . ศ . 2549  โดยสำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ อันดับ  5  จาก  169  ประเทศในดัชนีเสรีภาพสื่อ  พ . ศ . 2550  โดยองค์กรนักข่าวไร้พรมแดน อันดับ  4  จาก  179  ประเทศในดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชัน พ . ศ . 2550  โดยแทรนส์แพเรนซีอินเตอร์เนชันแนล อันดับ  3  จาก  125  ประเทศในรายงานขีดความสามารถในการแข่งขันสากล ของเวิลด์อิโคโนมิกฟอรัม 2006/2007 อันดับ  1  ในอันดับดัชนีมารดาและอันดับดัชนีสตรี และอันดับ  4 ในอันดับดัชนีเด็ก จากทั้งหมด 41  ประเทศในกลุ่มพัฒนาสูง โดยเซฟเดอะชิลเดรนพ . ศ . 2550 การจัดอันดับนานาชาติ
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ฮัลลันด์  ( Halland - N) เวสตรา เยอตาลันด์  ( Västra Götaland - O) แวร์มลันด์  ( Värmland - S) เออเรบรู  ( Örebro - T) แวสต์มันลันด์  ( Västmanland - U) ดอลาร์นา  ( Dalarna - W) แยฟเลบอร์ย  ( Gävleborg - X) เวสเตอร์นอร์ลันด์  ( Västernorrland - Y) แยมต์ลันด์  ( Jämtland - Z) เวสเตอร์บอตเตน  ( Västerbotten - AC) นอร์บอตเตน  ( Norrbotten - BD) การแบ่งเขตการปกครอง สวีเดนแบ่งเขตการปกครองออกเป็น  21  มณฑล โดยมีดังต่อไปนี้
บรรณนุกรม สารานุกรมเสรี .  ประเทศสวีเดน  24  พฤศจิกายน  2553  < http://www.vacationzone.co.th . >  1   ธันวาคม  2553 .   ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศพม่า .  (“ ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศสวีเดน .”)   1  ธันวาคม  2553 .  < http://www.xihalife.com >  1   ธันวาคม  2553.
จบการนำเสนอ   จัดทำโดย นางสาว  สุภาวรรณ  ดีแดงชั้น ม . 5 / 3  เลขที่ 29 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์  ร้อยเอ็ด

Contenu connexe

Tendances

เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาPavana Numampornsiri
 
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"kasidid20309
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 Bom Anuchit
 
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนการพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนDrsek Sai
 
โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กPloy Siriwanna
 
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียนการตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียนPrachyanun Nilsook
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
โครงงานคอมพิวเตอร์2
โครงงานคอมพิวเตอร์2โครงงานคอมพิวเตอร์2
โครงงานคอมพิวเตอร์2Ploy Wanida
 
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัยการกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัยDuangdenSandee
 
ประเภทห้องสมุด
ประเภทห้องสมุดประเภทห้องสมุด
ประเภทห้องสมุดSupaporn Khiewwan
 
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6KruGift Girlz
 
วัสดุศาสตร์1
วัสดุศาสตร์1วัสดุศาสตร์1
วัสดุศาสตร์1Areeya Navanuch
 
โครงงานโคมไฟไม้ไอติม
โครงงานโคมไฟไม้ไอติมโครงงานโคมไฟไม้ไอติม
โครงงานโคมไฟไม้ไอติมSupaluck
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ ม.6
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ ม.6ฟิสิกส์นิวเคลียร์ ม.6
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ ม.6Piyanuch Plaon
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมTa Lattapol
 
บทที่ 4 การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน
บทที่  4  การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงานบทที่  4  การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน
บทที่ 4 การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงานืnattakamon thongprung
 

Tendances (20)

เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
 
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนการพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
 
โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้ก
 
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียนการตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
เสียง
เสียงเสียง
เสียง
 
โครงงานคอมพิวเตอร์2
โครงงานคอมพิวเตอร์2โครงงานคอมพิวเตอร์2
โครงงานคอมพิวเตอร์2
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัยการกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
 
ประเภทห้องสมุด
ประเภทห้องสมุดประเภทห้องสมุด
ประเภทห้องสมุด
 
กสพท. ชีววิทยา 2555
กสพท. ชีววิทยา 2555กสพท. ชีววิทยา 2555
กสพท. ชีววิทยา 2555
 
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
 
วัสดุศาสตร์1
วัสดุศาสตร์1วัสดุศาสตร์1
วัสดุศาสตร์1
 
โครงงานโคมไฟไม้ไอติม
โครงงานโคมไฟไม้ไอติมโครงงานโคมไฟไม้ไอติม
โครงงานโคมไฟไม้ไอติม
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ ม.6
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ ม.6ฟิสิกส์นิวเคลียร์ ม.6
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ ม.6
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถม
 
บทที่ 4 การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน
บทที่  4  การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงานบทที่  4  การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน
บทที่ 4 การประเมินตามสภาพจริง การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน
 

Plus de SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

Plus de SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

สวีเดน

  • 2. สวีเดน ( Sweden)  หรือ ชื่ออย่างเป็นทางการ คือ ราชอาณาจักรสวีเดน เป็นประเทศกลุ่มนอร์ดิกตั้งอยู่บนคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย ในยุโรปเหนือ เขตแดนทางตะวันตกจรดประเทศนอร์เวย์ ทางตะวันออกเฉียงเหนือจรด ประเทศฟินแลนด์ และช่องแคบ สแกเกอร์แรก ( Skagerrak) ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดช่องแคบแคทีแกต (Kattegat) และทางตะวันออก จรดทะเลบอลติก และอ่าวบอทเนีย มีกรุงสตอกโฮล์มเป็นเมืองหลวง ประเทศสวีเดนมีประชากรที่เบาบาง เว้นแต่ในเขตเมืองใหญ่ พื้นที่ส่วนใหญ่ ของประเทศประกอบด้วยป่าไม้ และภูเขาสูง สวีเดน
  • 3. Swedish Krona (SEK) อัตราแลกเปลี่ยน 1 โครน ประมาณ 5.00 บาท 9 โครน ประมาณ 1 ดอลลาร์สหรัฐ สกุลเงิน
  • 4. กรุงสตอกโฮล์ม ( Stockholm) เมืองหลวง
  • 5. ระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภาเดียว โดยมีกษัตริย์เป็นประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญ ซึ่งสวีเดนมีรัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษรที่เก่าแก่ที่สุดในยุโรป ประกอบด้วยกฎหมาย ขั้นมูลฐาน รวม 4 ฉบับ เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี ค . ศ . 1809 ระบบการเมือง
  • 6. สวีเดนตั้งอยู่บนคาบสมุทรสแกนดิเนเวียทางตอนเหนือของทวีปยุโรป ทิศเหนือติดกับประเทศนอร์เวย์และฟินแลนด์ ทิศตะวันออกติดกับอ่าวบอทเนีย ทิศใต้ติดกับทะเลบอลติก ทิศตะวันตกติดกับประเทศนอร์เวย์ ที่ตั้ง
  • 7. ตำแหน่งประมุขของสวีเดนเป็นของพระมหากษัตริย์โดยพระองค์ ปัจจุบันคือสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟ พระมหากษัตริย์ ทรงทำหน้าที่เป็นตัวแทนสูงสุดของประเทศ แต่ไม่มีอำนาจทางการ เมืองใดๆ รวมถึงไม่จำเป็นต้องลงพระนามในการตัดสินใจของรัฐสภาด้วย พระประมุข
  • 8. รัฐธรรมนูญของสวีเดนประกอบด้วยกฎหมายมูลฐานสี่ฉบับ ได้แก่ Regeringsformen ( เครื่องมือของรัฐบาล พ . ศ . 2517) Successionsordningen ( กฎการสืบราชสมบัติ พ . ศ . 2353) Tryckfrihetsförordningen ( พระราชบัญญัติเสรีภาพสื่อ พ . ศ . 2309) Yttrandefrihetsgrundlagen ( กฎหมายมูลฐานว่าด้วยเสรีภาพในการแสดงออก พ . ศ . 2534) การแก้ไขหรือยกเลิกรัฐธรรมนูญ จะต้องได้รับความเห็นชอบตรงกันจากรัฐสภาสองครั้ง โดยมีการเลือกตั้งทั่วไปคั่นกลาง นอกจากนี้ยังมีพระราชบัญญัติรัฐสภา พ . ศ . 2517 ( Riksdagsordningen) ซึ่งมีสถานะพิเศษ สูงกว่ากฎหมายทั่วไป แต่อยู่ต่ำกว่ารัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญ
  • 9. รัฐสภาของสวีเดน เรียกในภาษาสวีเดนว่า Riksdag มีอำนาจนิติบัญญัติ ใช้ระบบสภาเดี่ยวประกอบด้วยสมาชิก 349 คน มาจากการเลือกตั้งทุกๆ 4 ปี การเลือกตั้งนั้นใช้ระบบสัดส่วน โดยพรรคการเมืองจะต้องได้รับเสียงจากทั่วประเทศ อย่างน้อยร้อยละ 4 หรืออย่างน้อยร้อยละ 12 ในเขตเลือกตั้ง จึงจะได้รับที่นั่งในรัฐสภา การเลือกตั้งจัดขึ้นทุกๆ 4 ปี โดยครั้งต่อไปในวันที่ 19 กันยายน พ . ศ . 2553 ผู้มีสิทธิเลือกตั้งจะต้องมีอายุอย่างน้อย 18 ปีในวันเลือกตั้ง ก่อนหน้านี้ สวีเดนเคยใช้ระบบสองสภามาตั้งแต่ปีพ . ศ . 2403 และได้ยกเลิกไปในการแก้ไขรัฐธรรมนูญเมื่อปีพ . ศ . 2511-2512 รัฐสภา
  • 10. หลังจากการเลือกตั้ง พรรคหรือกลุ่มที่ได้มีจำนวนเสียงสูงสุดจะ จัดตั้งรัฐบาล โดยรัฐสภาจะเลือกนายกรัฐมนตรีทำหน้าที่เป็น หัวหน้ารัฐบาล และนายกรัฐมนตรีเลือกรัฐมนตรีเข้าร่วมรัฐบาล นายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันได้แก่ เฟดริก รายน์เฟลท์ ( Fredrik Reinfeldt) หัวหน้าพรรคโมเดอเรตดำรงตำแหน่งตั้งแต่ 5 ตุลาคม พ . ศ . 254 9 รัฐบาล
  • 12. 8.9 ล้านคน กลุ่มชนชาติ ชาวซอมิ ( แลปป์ ) เป็นชนพื้นเมืองกลุ่มน้อยประมาณ 15,000 คน ประชากร
  • 13. ร้อยละ 80 นับถือศาสนาคริสต์นิกาย Lutheran State Church ศาสนา
  • 14. สนามบินนานาชาติ คือ สนามบิน Arlanda ตั้งอยู่ห่างจากกรุงสตอกโฮล์ม ประมาณ 40 กม . จากสนามบินมีรถไฟและรถเมล์โดยสารตรงเข้ากรุงสตอกโฮล์ม โดยรถไฟออกทุก 15 นาที ค่าโดยสารรถไฟ 190 โครนาสวีเดน ใช้เวลาเดินทาง 20 นาที และมีรถเมล์เข้ากรุงสตอกโฮล์มทุกๆ 5-10 นาที ค่าโดยสารรถเมล์ 89 โครนาสวีเดน ค่าภาษีการใช้สนามบินมักจะรวมไว้ในราคาบัตรโดยสารเครื่องบินแล้ว เครือข่ายการบิน ในประเทศครอบคลุม รถประจำทางและระบบรถไฟสะดวกรวดเร็ว การคมนาคม
  • 15. ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติต่อหัวประมาณ 28,400 เหรียญสหรัฐ อุตสาหกรรมหลักคือไม้สน เหล็ก ยานยนต์ การสื่อสาร ประเทศคู่ค้าที่สำคัญคือ สหภาพยุโรปและสหรัฐอเมริกา เศรษฐกิจ
  • 16. สวีเดนเป็นสมาชิกของสหภาพยุโรป แต่มิได้เข้าร่วมใช้เงินสกุลยูโร และเป็นสมาชิกเชงเก้น ( Schengen) เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2544 ดังนั้น ผู้ที่ถือหนังสือเดินทางไทยที่ขอวีซ่าเชงเก้นจากประเทศภาคีประเทศใด ประเทศหนึ่งแล้ว จะสามารถเดินทางไปยังประเทศสมาชิกเชงเก้นได้ทุกประเทศ แต่จะต้องเดินทางเข้าประเทศที่ได้รับการตรวจลงตราประเทศแรกก่อน และพำนักได้เป็นเวลา 3 เดือน ภายในช่วงระยะเวลา 6 เดือน การเข้าเมือง
  • 17. สภาพภูมิอากาศ ฤดูกาลในสวีเดน แบ่งออกเป็น 4 ฤดู ดังนี้
  • 18. เดือนธันวาคม ถึงเดือนมีนาคม อากาศหนาวเย็นมากมีหิมะตกตอนกลางวัน จะสั้นแต่ตอนกลางคืนยาว อุณหภูมิระหว่าง 2 ถึง – 7 องศาเซลเซียส แต่สำหรับตอนเหนือสุดของสวีเดน ฤดูหนาวจะยาวนานถึง 8 เดือน ฤดูหนาว ( Winter )
  • 19. เดือนเมษายน ถึงเดือนพฤษภาคม อากาศเปลี่ยนแปลงง่าย โดยปกติจะมีฝนตกโปรยปรายและมีแสงแดด อุณหภูมิระหว่าง ตอนกลางวันและตอนกลางคืนจะแตกต่างกันมาก ประมาณ 5 ถึง 15 องศาเซลเซียส ฤดูใบไม้ผลิ ( Spring )
  • 20. เดือนมิถุนายน ถึงเดือนสิงหาคม อากาศอบอุ่น อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ขึ้นไป ตอนกลางวันจะยาวกว่า ตอนกลางคืนมาก จนแทบจะไม่มีกลางคืน ในช่วงต้นภาคฤดูร้อน คือเดือนมิถุนายน และเดือนกรกฎาคม จึงถือได้ว่าสวีเดน ก็เป็นดินแดนแห่งพระอาทิตย์เที่ยงคืนเช่นกัน ฤดูร้อน ( Summer )
  • 21. เดือนกันยายน ถึงเดือนพฤศจิกายน อากาศสดชื่นมีแสงแดดในตอนกลางวัน แต่อาจมีภัยพิบัติจากฝน อุณหภูมิระหว่าง 5 ถึง 18 องศาเซลเซียส ส่วนตอน กลางคืนอากาศเย็นสบาย ฤดูใบไม้ร่วง ( Autumn )
  • 22. ระบอบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข มีรัฐสภาใน ระบบสภาเดียว สมาชิกรัฐสภา 349 คน มาจากการเลือกตั้งโดยตรง จากชาวสวีเดนอายุ 18 ปีขึ้นไป และจะอยู่ในตำแหน่งวาระ 4 ปี สำหรับ การปกครองส่วนท้องถิ่นสวีเดนมี 24 มณฑล และมีเทศบาล 288 แห่ง โดยแต่ละเทศบาลมีสภาที่มาจากการเลือกตั้ง เพื่อทำหน้าที่บริการและอำนวย ความสะดวกแก่ชุมชนในเรื่องต่าง ๆ เช่น ที่อยู่อาศัย ถนน ระบบระบายน้ำ การให้การศึกษาขั้นพื้นฐาน การดูแลคนชรา การให้สวัสดิการแก่เด็ก เป็นต้น การปกครอง
  • 23. สวีเดนเป็นหนึ่งในประเทศที่อยู่เหนือสุดของโลก มีขนาดพื้นที่ใกล้ เคียงกับประเทศไทย สวีเดนมีชายฝั่งที่ค่อนข้างยาว จรดทะเลบอลติก และอ่าวบอทเนีย ทางตะวันตกมีเทือกเขาสแกนดิเนเวีย ทอดตามแนว พรมแดนกับประเทศนอร์เวย์สวีเดนแบ่งออกเป็นสามภาคหลักๆ ได้แก่ Götaland ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศ เป็นที่ราบและมีป่าไม้ Svealand เป็นที่ราบอุดมสมบูรณ์ และมีทะเลสาบจำนวนมาก และ Norrland เป็นภูมิภาคตอนเหนือของสวีเดน มีภูเขา ป่าไม้ และแร่ธาตุมาก ประมาณร้อยละสิบห้าของพื้นที่ทั้งหมดของประเทศตั้ง อยู่เหนือขึ้นไปจากอาร์กติกเซอร์เคิล ภูมิศาสตร์
  • 24. อันดับ 5 จาก 177 ประเทศในดัชนีการพัฒนามนุษย์ พ . ศ . 2549 โดยสำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ อันดับ 5 จาก 169 ประเทศในดัชนีเสรีภาพสื่อ พ . ศ . 2550 โดยองค์กรนักข่าวไร้พรมแดน อันดับ 4 จาก 179 ประเทศในดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชัน พ . ศ . 2550 โดยแทรนส์แพเรนซีอินเตอร์เนชันแนล อันดับ 3 จาก 125 ประเทศในรายงานขีดความสามารถในการแข่งขันสากล ของเวิลด์อิโคโนมิกฟอรัม 2006/2007 อันดับ 1 ในอันดับดัชนีมารดาและอันดับดัชนีสตรี และอันดับ 4 ในอันดับดัชนีเด็ก จากทั้งหมด 41 ประเทศในกลุ่มพัฒนาสูง โดยเซฟเดอะชิลเดรนพ . ศ . 2550 การจัดอันดับนานาชาติ
  • 25.
  • 26. บรรณนุกรม สารานุกรมเสรี . ประเทศสวีเดน 24 พฤศจิกายน 2553 < http://www.vacationzone.co.th . > 1 ธันวาคม 2553 . ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศพม่า . (“ ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศสวีเดน .”) 1 ธันวาคม 2553 . < http://www.xihalife.com > 1 ธันวาคม 2553.
  • 27. จบการนำเสนอ จัดทำโดย นางสาว สุภาวรรณ ดีแดงชั้น ม . 5 / 3 เลขที่ 29 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ร้อยเอ็ด