SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  27
จังหวัดกาฬสินธ์
              สมัย กรุงธนบุรีประมาณ พ . ศ . 2310  พระเจ้าองค์เวียนดาแห่งนครเวียงจันทน์  ได้สิ้นพระชนม์ โอรสท้าวเพี้ยเมืองแสนได้ยกกองทัพเข้ายึดเมืองเวียงจันทน์ และได้สถาปนา ขึ้นเป็น พระเจ้าแผ่นดินสืบแทน ทรงพระนามว่า " พระเจ้าศิริบุญสาร "  พ . ศ .  2320  ท้าวโสมพะมิตร และ อุปราชเมืองแสนฆ้องโปง เมืองแสนหน้าง้ำเกิดขัดใจกับพระเจ้าศิริบุญสาร จึงรวบรวมผู้คนอพยพจากดินแดนทางฝั่งซ้ายแม่น้ำโขง ข้ามมาตั้งบ้านเรือนบริเวณลุ่มน้ำก่ำแถบบ้านพรรณนา ( ปัจจุบันอยู่ในเขตจังหวัดสกลนคร )  ต่อมาท้าวศิริบุญสารได้ยกกองทัพติดตามมา  ท้าวโสมพะมิตรจึงอพยพต่อไปโดยแยกเป็น  2  สาย คือ  ประวัติจังหวัดกาฬสินธ์
สายที่  1  มี เมืองแสนหน้าง้ำเป็นหัวหน้า  อพยพไปทางทิศตะวันออกสมทบกับพระวอหลบหนีไปจนถึงนครจำปาศักดิ์ขอพึ่งบารมี  ของ     พระเจ้าหลวงแห่งนครจำปาศักดิ์ และตั้งบ้านเรือน ณ ดอนค้อนกอง ต่อมาเรียกว่า      " ค่ายบ้านดู่บ้านแก "  ในปี พ . ศ .  2321  พระเจ้าศิริบุญสาร    ให้เพี้ยสรรคสุโภย  ยกกองทัพมาปราบ พระวอตายในสนามรบ ผู้คนที่เหลือจึงอพยพไป อยู่ในเกาะกลางลำแม่น้ำมูลชื่อว่า  " ดอนมดแดง "  ( ปัจจุบันอยู่ในเขตจังหวัดอุบลราชธานี )
                        สายที่  2  มีท้าวโสพะมิตรเป็นหัวหน้า ได้อพยพข้ามสันเขาภูพานลงมาทางใต้  และตั้งบ้านเรือนอยู่ที่บ้านกลางหมื่น ต่อมาท้าวโสมพะมิตร   ได้ส่งท้าวตรัยและคณะ ออกเสาะหาชัยภูมิที่จะสร้างเมืองใหม่ใช้เวลา ประมาณปีเศษจึงพบทำเลที่เหมาะสม  คือบริเวณลำน้ำปาวและเห็นว่าแก่งสำโรงชายสงเปลือยมีดิน  น้ำอุดมสมบูรณ์ จึงอพยพผู้คนมาตั้งบ้านเรือนและได้จัดตั้งศาลเจ้าพ่อหลักเมือง
พ . ศ .  2336  ท้าวโสมพะมิตรได้ นำเครื่องบรรณาการ คือ กาน้ำสัมฤทธิ์  เข้าถวายสวามิภักดิ์ต่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่  1  แห่งราชวงศ์จักรี และขอตั้งบ้านแก่งสำโรงขึ้นเป็นเมือง  ได้รับพระราชทานนามว่า   " กาฬสินธุ์ "  และได้แต่งตั้งให้ ท้าวโสมพะมิตรเป็น   " พระยาชัยสุนทร   พ . ศ .  2437  สมัยพระยาชัยสุนทร  ( ท้าวเก )  ได้มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการปกครองเป็นแบบเทศาภิบาล มี มณฑล จังหวัด อำเภอ ตำบล และให้เมืองกาฬสินธุ์ เป็น  " อำเภออุทัยกาฬสินธุ์ "  ขึ้นกับจังหวัดร้อยเอ็ด             วันที่  1  สิงหาคม  2456  ได้ยกฐานะอำเภออุทัยกาฬสินธุ์เป็น " จังหวัดกาฬสินธุ์ "  ให้มีอำนาจปกครอง อำเภออุทัยกาฬสินธุ์ อำเภอสหัสขันธ์ อำเภอกุฉินารายณ์ อำเภอ กมลาไสย  และอำเภอยางตลาด โดยให้ขึ้นต่อมณฑลร้อยเอ็ด
             กาฬสินธุ์เป็นจังหวัดที่มีความอุดมสมบูรณ์จังหวัดหนึ่งในภาคอีสาน จากหลักฐานทางโบราณคดีบ่งบอกว่าเคยเป็นที่อยู่อาศัยของเผ่าละว้า  ซึ่งมีความเจริญทางด้านอารยธรรมประมาณ  1,600  ปี จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์เริ่มตั้งเป็นเมืองในสมัยรัตนโกสินทร์  เมื่อปี พ . ศ .  2336  โดยท้าวโสมพะมิตร ได้อพยพหลบภัยมาจากดินแดน ฝั่งซ้ายแม่น้ำโขงพร้อมไพร่พล และมาตั้งบ้านเรือนอยู่ริมน้ำปาว เรียกว่า  “ บ้านแก่งสำโรง ”  แล้วได้นำเครื่องบรรณาการเข้าถวาย สวามิภักดิ์ต่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกมหาราช  ต่อมาได้รับพระกรุณาโปรดเกล้า ยกฐานะบ้านแก่งสำโรงขึ้นเป็นเมือง  และพระราชทานนามว่า  “ เมืองกาฬสินธุ์ ”  หรือ  “ เมืองน้ำดำ ”  ซึ่งเป็นเมืองที่สำคัญทางประวัติศาสตร์มาตั้งแต่สมัยโบราณกาล “ กาฬ ”  แปลว่า  “ ดำ ” “ สินธุ์ ”  แปลว่า  “ น้ำ ”  กาฬสินธุ์จึงแปลว่า  “ น้ำดำ ”  ทั้งมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้ง ให้ท้าวโสมพะมิตรเป็น  “ พระยาชัยสุนทร ”  ครองเมืองกาฬสินธุ์เป็นคนแรก
จังหวัดมหาสารคาม โดยมีลำน้ำชีเป็นเส้นแบ่งเขตและบางส่วนติดต่อกับจังหวัดขอนแก่น ติดต่อกับ  ทิศตะวันตก  จังหวัดสกลนครและจังหวัดมุกดาหาร โดยมี สันปันน้ำของเทือกเขาภูพานเป็นแนวแบ่งเขต  ติดต่อกับ  ทิศตะวันออก  จังหวัดร้อยเอ็ดและจังหวัดมหาสารคาม  ติดต่อกับ  ทิศใต้  จังหวัดสกลนคร และ จังหวัดอุดรธานี โดยมีลำน้ำปาวและ   ห้วยลำพันชาดเป็นแนวกั้นแบ่งเขต  ติดต่อกับ  ทิศเหนือ
ลักษณะภูมิอากาศและสภาพน้ำฝน   สภาพดินฟ้าอากาศของจังหวัดกาฬสินธุ์ โดยทั่วไป ฝนตกเฉลี่ย  1,400  มม ./ ปี   อุณภูมิต่ำสุด  19  องศาเซลเซียส อุณภูมิสูงสุด  31.9  องศาเซลเซียส   -  ฤดูร้อน เริ่ม เดือนมีนาคม ถึง เดือน พฤษภาคม อุณภูมิสูงสุดเฉลี่ย  31.9 C.  -  ฤดูฝน เริ่ม เดือน มิถุนายน ถึง เดือน ตุลาคม อุณภูมิต่ำสุด  23.5 C.  -  ฤดูหนาว เริ่ม เดือนตุลาคม ถึง เดือนกุมภาพันธ์ อุณภูมิสูงสุดเฉลี่ย  18 C.
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
3.  ทางรถไฟ ออกจากสถานีรถไฟกรุงเทพ ต้องเดินทางจากกรุงเทพฯ - สถานีรถไฟขอนแก่น  จากขอนแก่นต่อรถประจำทางเข้ากาฬสินธุ์อีก  79  กิโลเมตร  สำหรับกรุงเทพฯ - ขอนแก่นนั้น การรถไฟแห่งประเทศไทยเปิดบริการ ทั้งขบวนรถเร็ว รถด่วน และรถดีเซลราง ปรับอากาศ  รายละเอียดเพิ่มเติมติดต่อสอบถามได้ที่ หน่วยบริการเดินทาง ของการรถไฟแห่งประเทศไทย โทร . 02-2237020 ,  02-2204334  สายด่วน  1690 4.  ทางเครื่องบิน   จากท่าอากาศยานกรุงเทพฯ ต้องไปลงที่จังหวัดขอนแก่น  แล้วต่อรถยนต์โดยสารเข้ากาฬสินธุ์ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ บริษัท การบินไทย จำกัด  ( มหาชน )  
สัญลักษณ์ประจำจังหวัด  : ตราประจำจังหวัดกาฬสินธุ์         เป็นรูปบึงใหญ่ ตฤณชาติ และเมฆพยับฝน ตราประจำจังหวัด หมายถึง สัญลักษณ์ของความชุ่มชื่น และอุดมสมบูรณ์ของภูมิภาค ทิวเขาตรงแนวสุดขอบฟ้าคือแนว  กั้นเขตแดนกับจังหวัดใกล้เคียงน้ำในบึงที่มีสีดำ เพื่อให้ตรงกับชื่อของจังหวัดกาฬสินธุ์ ตั้งเป็นเมืองเมื่อ พ . ศ .2336 เพราะมีชาวเมืองเวียงจันทร์อพยพมาตั้งบ้านเรือนอยู่มากที่บ้านสงเปลือย ทางฝั่งตะวันออกของริมแม่น้ำปาว จังหวัดกาฬสินธุ์แยกตัวออกจากจังหวัดมหาสารคาม เมื่อ พ . ศ .2490
อาชีพ  : ข้าวเป็นพืชที่สำคัญของจังหวัด ส่วนมากนิยมทำนาดำ มีการทำนาหว่านบ้างในเขตที่ลุ่มริมฝั่งน้ำปาว และแม่น้ำชี มีการปลูกข้าวเหนียวเป็นส่วนใหญ่ รองลงมาเป็นมันสำปะหลัง ปอ อ้อย ยาสูบ ถั่วลิสง ฝ้าย และการทำไร่แตงโม  พื้นที่ใช้ทำนาประมาณ  25 % ของพื้นที่ทั้งหมด  แม้ว่าจะเป็นจังหวัดเล็กแต่มีการเพาะปลูก และเลี้ยงสัตว์มากพอสมควร การเลี้ยงสัตว์มีในบริเวณที่ราบสูง เนินเขา รวมถึงการหาของป่า ตามแหล่งน้ำมีการทำประมงและการเพาะเลี้ยงปลาน้ำจืด ส่วนอุตสาหกรรมในครัวเรือน ได้แก่การทอผ้าไหม ทอเสื่อ  เครื่องปั้นดินเผาเศรษฐกิจของจังหวัดกาฬสินธุ์นับอยู่ในระดับปานกลางค่อนข้างต่ำ
เทศกาล งานประเพณี  : งานประเพณีน้ำตกตาดสูง เป็นประเพณีของหมู่บ้านวัฒนธรรมผู้ไทยโคกโก่ง จัดขึ้นในวันเสาร์แรกของเดือนตุลาคมทุกปี  มีการทำบุญ พีธีเซ่นไหว้เจ้าปู่ การแสดงศิลปวัฒนธรรมผู้ไทย และมหรสพให้มตลอด วัน
 
สถานที่ท่องเที่ยว จ .  กาฬสินธ์
พระพุทธไสยาสน์ภูค่าว
พระพุทธไสยาสน์ภูค่าว พระพุทธไสยาสน์ภูค่าว บ้านนาสีนวล ตำบลโนนศิลา อำเภอสหัสขันธ์   ( ห่างจากจังหวัดประมาณ  36  กม .)  มีสิ่งสำคัญได้แก่ พระพุทธไสยาสน์ ที่นาแปลกคือตะแคงซ้าย ไม่มีพระเกตุมาลา สร้างขึ้นเมื่อ พุทธศักราช  2235  อุโบสถสร้างด้วยไม้ใต้น้ำจากอ่างเก็บน้ำ ลำปาว มีลักษณะเปิดโล่งระเบียงปูด้วยศิลาแลง ซึ่งแกะสลักลวดลายไทย เป็นสามมิติศิลปผสมผสานระหว่างภาคเหนือและภาคกลาง  อย่างกลมกลืน นอกจากนี้ยังมีวิหารสังฆนิมิตซึ่งเป็นที่เก็บพระพุทธรูป และพระเครื่องเรือนแสน
เขื่อนลำปาว
เขื่อนลำปาว          เขื่อนลำปาว เป็นเขื่อนดิน   สร้างปิดกั้นลำน้ำปาวและห้วยยาง ที่ต่อเนื่องถึงกันบริเวณเขตติดต่อระหว่างตำบลลำปาว อำเภอเมือง  จังหวัดกาฬสินธุ์ ตำบลหนองบัว อำเภอหนองกรุงศรี และตำบลเว่อ  อำเภอยางตลาด ความยาวตามสันเขื่อน  7.9  ก . ม .  ความสูงของเขื่อนตรงส่วนที่สูงที่สุด  30.7  เมตร สันเขื่อน  กว้าง  8  เมตร ฐานเขื่อนตอนที่กว้างที่สุด  125  เมตร เก็บกัก น้ำ ได้  430  ล้านลูกบาศก์เมตร ในเนื้อที่ประมาณ  5,960  ตารางกิโลเมตร โครงการลำปาวเป็นโครงการชลประทาน เพื่อการเกษตร และบรรเทาอุทกภัยในลุ่มน้ำปาวและน้ำชี ทดส่งและระบายน้ำในคลองซอยต่าง ๆ บริเวณใต้เขื่อนให้ประชาชนในเขตอำเภอเมืองกาฬสินธุ์ อำเภอยางตลาด และอำเภอกมลาไสย
พิพิธภัณฑ์สิรินทร์
พิพิธภัณฑ์สิรินทร์   ตั้งอยู่ที่เชิงภูกุ้มข้าว อำเภอสหัสขันธ์ สามารถเดินทางโดยใช้เส้นทางกาฬสินธุ์ - สหัสขันธ์  วัดนี้เป็นสถานที่ค้นพบกระดูกไดโนเสาร์จำนวนมาก  โดยซากกระดูกบางส่วนได้นำมาจัดแสดงที่ศาลาวัด  มีการจัดนิทรรศการแสดงความเป็นมาของการเกิดไดโนเสาร์ยุคต่างๆ รวมทั้ง รูปภาพการขุดค้นพบซากกระดูกเหล่านี้ นอกจากนั้น ห่างจากศาลาวัดไปประมาณ  100  เมตร มีโครงกระดูกไดโนเสาร์ฝังอยู่ในพื้นดิน บริเวณเชิงเขา ได้รับการขุดแต่งโดยเจ้าหน้าที่กรมทรัพยากรธรณีเป็นซากกระดูกไดโนเสาร์ ชนิดซอโรพอต    ประมาณ  7  ตัว ซึ่งอยู่ในยุค ครีเทเชียส อายุประมาณ  130  ล้านปี  และในพิพิธภัณฑ์ฯยังมีซากปลาโบราณพันธุ์ใหม่ของโลกซึ่งอยู่ในสภาพสมบูรณ์ซึ่งเป็นปลาน้ำจืด
ผ้าไหมแพรววา
ผ้าไหมแพรวา เป็นศิลปหัตถกรรมพื้นบ้านที่เป็นเอกลัษณ์ของชาวบ้านโพน  ตำบลโพน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นผ้าที่ทอด้วยฝีมือที่มีความ วิจิตรสวยงาม ของชาวบ้าน ซึ่งเป็นที่นิยมและต้องการของนักท่องเที่ยว หรือสุภาพสตรี คหบดีที่นิยม นำผ้าไหมแพรวาไปตัดเย็บเครื่องแต่งกาย จนกระทั่งผ้าไหมแพรวาได้สร้างชื่อเสียง ให้กับชาวกาฬสินธุ์  เป็นเมืองท่องเที่ยวในด้านสินค้าหัตถกรรมพื้นบ้าน ดั่งคำขวัญ ของจังหวัดที่ว่า " กาฬสินธุ์เมืองฟ้าแดดสงยาง โปงลางเลิศล้ำ วัฒนธรรมผู้ไทย ผ้าไหมแพรวา "  ด้วยความสำคัญของผ้าไหมจึงถือว่าเป็นศิลปหัตถกรรม  เป็นวัฒนธรรม ที่สำคัญ สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ  ทรงประทับพระทัย จึงทรงรับอุปการะ การทอผ้าไหมแพรวาเข้าโครงการ มูลนิธิศิลปาชีพ ทรงพัฒนาการทอผ้าไหมแพรวา  ไปตัดฉลองพระองค์เพื่อเป็นแบบอย่างแก่ชาวไทย และชาวต่างประเทศผ้าแพรวา มักนิยมทอด้วยฝ้าย และด้ายไหม ถ้าทอด้วยด้ายฝ้าย เรียกชื่อว่า ผ้าแพรวา
จังหวัดกาฬสินธ์
 
บรรณนุกรม สารานุกรมเสรี .  “ จังหวัดกาฬสินธุ์ .”   9  ธันวาคม  2553 .  < http://th.wikipedia.org/wiki. > 11  ธันวาคม  2553. จังหวัดกาฬสินธุ์ .  “ จังหวัดกาฬสินธุ์ .”   11  ธันวาคม  2553.  < http://www.norsorpor.com/tags/. > 11  ธันวาคม  2553.
จบการนำเสนอ จัดทำโดย นายยุทธนา  ไชยะโอชะ ชั้น ม . 5 / 3

Contenu connexe

Similaire à จังหวัดกาฬสินธิ

งานครั้งที่ 4
งานครั้งที่ 4งานครั้งที่ 4
งานครั้งที่ 4madatik
 
งานครั้งที่ 4
งานครั้งที่ 4งานครั้งที่ 4
งานครั้งที่ 4madatik
 
โครงการเขื่อนขุนด่านปราการชล
โครงการเขื่อนขุนด่านปราการชลโครงการเขื่อนขุนด่านปราการชล
โครงการเขื่อนขุนด่านปราการชลG'ad Smile
 
ชื่อไสลด์ที่อยากให้คนค้นเจอ
ชื่อไสลด์ที่อยากให้คนค้นเจอชื่อไสลด์ที่อยากให้คนค้นเจอ
ชื่อไสลด์ที่อยากให้คนค้นเจอsutthiprapha2011
 
ด.ญ ชนากานต์ พิสุทธิ์
ด.ญ ชนากานต์ พิสุทธิ์ด.ญ ชนากานต์ พิสุทธิ์
ด.ญ ชนากานต์ พิสุทธิ์sutthiprapha2011
 
โครงานคอมSlide
โครงานคอมSlideโครงานคอมSlide
โครงานคอมSlidecom_2556
 
โครงานคอมSlide
โครงานคอมSlideโครงานคอมSlide
โครงานคอมSlidecom_2556
 
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัดเที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัดslide-001
 
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11teacherhistory
 
โครงการเขื่อนแควน้อย
โครงการเขื่อนแควน้อยโครงการเขื่อนแควน้อย
โครงการเขื่อนแควน้อยnatsuda_naey
 

Similaire à จังหวัดกาฬสินธิ (20)

งานครั้งที่ 4
งานครั้งที่ 4งานครั้งที่ 4
งานครั้งที่ 4
 
งานครั้งที่ 4
งานครั้งที่ 4งานครั้งที่ 4
งานครั้งที่ 4
 
สมุทรสงคราม
สมุทรสงครามสมุทรสงคราม
สมุทรสงคราม
 
นำเสนอนครนายก
นำเสนอนครนายกนำเสนอนครนายก
นำเสนอนครนายก
 
โครงการเขื่อนขุนด่านปราการชล
โครงการเขื่อนขุนด่านปราการชลโครงการเขื่อนขุนด่านปราการชล
โครงการเขื่อนขุนด่านปราการชล
 
ราชบุรี
ราชบุรีราชบุรี
ราชบุรี
 
ราชบุรี
ราชบุรีราชบุรี
ราชบุรี
 
ชื่อไสลด์ที่อยากให้คนค้นเจอ
ชื่อไสลด์ที่อยากให้คนค้นเจอชื่อไสลด์ที่อยากให้คนค้นเจอ
ชื่อไสลด์ที่อยากให้คนค้นเจอ
 
ด.ญ ชนากานต์ พิสุทธิ์
ด.ญ ชนากานต์ พิสุทธิ์ด.ญ ชนากานต์ พิสุทธิ์
ด.ญ ชนากานต์ พิสุทธิ์
 
โครงานคอมSlide
โครงานคอมSlideโครงานคอมSlide
โครงานคอมSlide
 
โครงานคอมSlide
โครงานคอมSlideโครงานคอมSlide
โครงานคอมSlide
 
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัดเที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
 
พระนครศรีอยุธยา
พระนครศรีอยุธยาพระนครศรีอยุธยา
พระนครศรีอยุธยา
 
การสถาปนา..
การสถาปนา..การสถาปนา..
การสถาปนา..
 
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11
 
จังหวัดนครนายก
จังหวัดนครนายกจังหวัดนครนายก
จังหวัดนครนายก
 
โครงการเขื่อนแควน้อย
โครงการเขื่อนแควน้อยโครงการเขื่อนแควน้อย
โครงการเขื่อนแควน้อย
 
จ.นครพนม
จ.นครพนมจ.นครพนม
จ.นครพนม
 
จ.ขอนเเก่น
จ.ขอนเเก่นจ.ขอนเเก่น
จ.ขอนเเก่น
 
จังหวัดอุบลราชธานี
จังหวัดอุบลราชธานีจังหวัดอุบลราชธานี
จังหวัดอุบลราชธานี
 

Plus de SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

Plus de SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

จังหวัดกาฬสินธิ

  • 2.              สมัย กรุงธนบุรีประมาณ พ . ศ . 2310 พระเจ้าองค์เวียนดาแห่งนครเวียงจันทน์ ได้สิ้นพระชนม์ โอรสท้าวเพี้ยเมืองแสนได้ยกกองทัพเข้ายึดเมืองเวียงจันทน์ และได้สถาปนา ขึ้นเป็น พระเจ้าแผ่นดินสืบแทน ทรงพระนามว่า &quot; พระเจ้าศิริบุญสาร &quot; พ . ศ . 2320 ท้าวโสมพะมิตร และ อุปราชเมืองแสนฆ้องโปง เมืองแสนหน้าง้ำเกิดขัดใจกับพระเจ้าศิริบุญสาร จึงรวบรวมผู้คนอพยพจากดินแดนทางฝั่งซ้ายแม่น้ำโขง ข้ามมาตั้งบ้านเรือนบริเวณลุ่มน้ำก่ำแถบบ้านพรรณนา ( ปัจจุบันอยู่ในเขตจังหวัดสกลนคร ) ต่อมาท้าวศิริบุญสารได้ยกกองทัพติดตามมา ท้าวโสมพะมิตรจึงอพยพต่อไปโดยแยกเป็น 2 สาย คือ ประวัติจังหวัดกาฬสินธ์
  • 3. สายที่ 1 มี เมืองแสนหน้าง้ำเป็นหัวหน้า อพยพไปทางทิศตะวันออกสมทบกับพระวอหลบหนีไปจนถึงนครจำปาศักดิ์ขอพึ่งบารมี ของ    พระเจ้าหลวงแห่งนครจำปาศักดิ์ และตั้งบ้านเรือน ณ ดอนค้อนกอง ต่อมาเรียกว่า     &quot; ค่ายบ้านดู่บ้านแก &quot; ในปี พ . ศ . 2321 พระเจ้าศิริบุญสาร   ให้เพี้ยสรรคสุโภย ยกกองทัพมาปราบ พระวอตายในสนามรบ ผู้คนที่เหลือจึงอพยพไป อยู่ในเกาะกลางลำแม่น้ำมูลชื่อว่า &quot; ดอนมดแดง &quot;  ( ปัจจุบันอยู่ในเขตจังหวัดอุบลราชธานี )
  • 4.                        สายที่ 2 มีท้าวโสพะมิตรเป็นหัวหน้า ได้อพยพข้ามสันเขาภูพานลงมาทางใต้ และตั้งบ้านเรือนอยู่ที่บ้านกลางหมื่น ต่อมาท้าวโสมพะมิตร   ได้ส่งท้าวตรัยและคณะ ออกเสาะหาชัยภูมิที่จะสร้างเมืองใหม่ใช้เวลา ประมาณปีเศษจึงพบทำเลที่เหมาะสม คือบริเวณลำน้ำปาวและเห็นว่าแก่งสำโรงชายสงเปลือยมีดิน น้ำอุดมสมบูรณ์ จึงอพยพผู้คนมาตั้งบ้านเรือนและได้จัดตั้งศาลเจ้าพ่อหลักเมือง
  • 5. พ . ศ . 2336 ท้าวโสมพะมิตรได้ นำเครื่องบรรณาการ คือ กาน้ำสัมฤทธิ์ เข้าถวายสวามิภักดิ์ต่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 แห่งราชวงศ์จักรี และขอตั้งบ้านแก่งสำโรงขึ้นเป็นเมือง ได้รับพระราชทานนามว่า &quot; กาฬสินธุ์ &quot; และได้แต่งตั้งให้ ท้าวโสมพะมิตรเป็น   &quot; พระยาชัยสุนทร พ . ศ . 2437 สมัยพระยาชัยสุนทร ( ท้าวเก ) ได้มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการปกครองเป็นแบบเทศาภิบาล มี มณฑล จังหวัด อำเภอ ตำบล และให้เมืองกาฬสินธุ์ เป็น &quot; อำเภออุทัยกาฬสินธุ์ &quot; ขึ้นกับจังหวัดร้อยเอ็ด             วันที่ 1 สิงหาคม 2456 ได้ยกฐานะอำเภออุทัยกาฬสินธุ์เป็น &quot; จังหวัดกาฬสินธุ์ &quot; ให้มีอำนาจปกครอง อำเภออุทัยกาฬสินธุ์ อำเภอสหัสขันธ์ อำเภอกุฉินารายณ์ อำเภอ กมลาไสย และอำเภอยางตลาด โดยให้ขึ้นต่อมณฑลร้อยเอ็ด
  • 6.             กาฬสินธุ์เป็นจังหวัดที่มีความอุดมสมบูรณ์จังหวัดหนึ่งในภาคอีสาน จากหลักฐานทางโบราณคดีบ่งบอกว่าเคยเป็นที่อยู่อาศัยของเผ่าละว้า ซึ่งมีความเจริญทางด้านอารยธรรมประมาณ 1,600 ปี จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์เริ่มตั้งเป็นเมืองในสมัยรัตนโกสินทร์ เมื่อปี พ . ศ . 2336 โดยท้าวโสมพะมิตร ได้อพยพหลบภัยมาจากดินแดน ฝั่งซ้ายแม่น้ำโขงพร้อมไพร่พล และมาตั้งบ้านเรือนอยู่ริมน้ำปาว เรียกว่า “ บ้านแก่งสำโรง ” แล้วได้นำเครื่องบรรณาการเข้าถวาย สวามิภักดิ์ต่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกมหาราช ต่อมาได้รับพระกรุณาโปรดเกล้า ยกฐานะบ้านแก่งสำโรงขึ้นเป็นเมือง และพระราชทานนามว่า “ เมืองกาฬสินธุ์ ” หรือ “ เมืองน้ำดำ ” ซึ่งเป็นเมืองที่สำคัญทางประวัติศาสตร์มาตั้งแต่สมัยโบราณกาล “ กาฬ ” แปลว่า “ ดำ ” “ สินธุ์ ” แปลว่า “ น้ำ ” กาฬสินธุ์จึงแปลว่า “ น้ำดำ ” ทั้งมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้ง ให้ท้าวโสมพะมิตรเป็น “ พระยาชัยสุนทร ” ครองเมืองกาฬสินธุ์เป็นคนแรก
  • 7. จังหวัดมหาสารคาม โดยมีลำน้ำชีเป็นเส้นแบ่งเขตและบางส่วนติดต่อกับจังหวัดขอนแก่น ติดต่อกับ ทิศตะวันตก จังหวัดสกลนครและจังหวัดมุกดาหาร โดยมี สันปันน้ำของเทือกเขาภูพานเป็นแนวแบ่งเขต ติดต่อกับ ทิศตะวันออก จังหวัดร้อยเอ็ดและจังหวัดมหาสารคาม ติดต่อกับ ทิศใต้ จังหวัดสกลนคร และ จังหวัดอุดรธานี โดยมีลำน้ำปาวและ ห้วยลำพันชาดเป็นแนวกั้นแบ่งเขต ติดต่อกับ ทิศเหนือ
  • 8. ลักษณะภูมิอากาศและสภาพน้ำฝน สภาพดินฟ้าอากาศของจังหวัดกาฬสินธุ์ โดยทั่วไป ฝนตกเฉลี่ย 1,400 มม ./ ปี อุณภูมิต่ำสุด 19 องศาเซลเซียส อุณภูมิสูงสุด 31.9 องศาเซลเซียส   - ฤดูร้อน เริ่ม เดือนมีนาคม ถึง เดือน พฤษภาคม อุณภูมิสูงสุดเฉลี่ย 31.9 C.  - ฤดูฝน เริ่ม เดือน มิถุนายน ถึง เดือน ตุลาคม อุณภูมิต่ำสุด 23.5 C.  - ฤดูหนาว เริ่ม เดือนตุลาคม ถึง เดือนกุมภาพันธ์ อุณภูมิสูงสุดเฉลี่ย 18 C.
  • 9.
  • 10. 3. ทางรถไฟ ออกจากสถานีรถไฟกรุงเทพ ต้องเดินทางจากกรุงเทพฯ - สถานีรถไฟขอนแก่น จากขอนแก่นต่อรถประจำทางเข้ากาฬสินธุ์อีก 79 กิโลเมตร สำหรับกรุงเทพฯ - ขอนแก่นนั้น การรถไฟแห่งประเทศไทยเปิดบริการ ทั้งขบวนรถเร็ว รถด่วน และรถดีเซลราง ปรับอากาศ รายละเอียดเพิ่มเติมติดต่อสอบถามได้ที่ หน่วยบริการเดินทาง ของการรถไฟแห่งประเทศไทย โทร . 02-2237020 , 02-2204334 สายด่วน 1690 4. ทางเครื่องบิน   จากท่าอากาศยานกรุงเทพฯ ต้องไปลงที่จังหวัดขอนแก่น แล้วต่อรถยนต์โดยสารเข้ากาฬสินธุ์ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ บริษัท การบินไทย จำกัด ( มหาชน )  
  • 11. สัญลักษณ์ประจำจังหวัด : ตราประจำจังหวัดกาฬสินธุ์       เป็นรูปบึงใหญ่ ตฤณชาติ และเมฆพยับฝน ตราประจำจังหวัด หมายถึง สัญลักษณ์ของความชุ่มชื่น และอุดมสมบูรณ์ของภูมิภาค ทิวเขาตรงแนวสุดขอบฟ้าคือแนว กั้นเขตแดนกับจังหวัดใกล้เคียงน้ำในบึงที่มีสีดำ เพื่อให้ตรงกับชื่อของจังหวัดกาฬสินธุ์ ตั้งเป็นเมืองเมื่อ พ . ศ .2336 เพราะมีชาวเมืองเวียงจันทร์อพยพมาตั้งบ้านเรือนอยู่มากที่บ้านสงเปลือย ทางฝั่งตะวันออกของริมแม่น้ำปาว จังหวัดกาฬสินธุ์แยกตัวออกจากจังหวัดมหาสารคาม เมื่อ พ . ศ .2490
  • 12. อาชีพ : ข้าวเป็นพืชที่สำคัญของจังหวัด ส่วนมากนิยมทำนาดำ มีการทำนาหว่านบ้างในเขตที่ลุ่มริมฝั่งน้ำปาว และแม่น้ำชี มีการปลูกข้าวเหนียวเป็นส่วนใหญ่ รองลงมาเป็นมันสำปะหลัง ปอ อ้อย ยาสูบ ถั่วลิสง ฝ้าย และการทำไร่แตงโม พื้นที่ใช้ทำนาประมาณ 25 % ของพื้นที่ทั้งหมด แม้ว่าจะเป็นจังหวัดเล็กแต่มีการเพาะปลูก และเลี้ยงสัตว์มากพอสมควร การเลี้ยงสัตว์มีในบริเวณที่ราบสูง เนินเขา รวมถึงการหาของป่า ตามแหล่งน้ำมีการทำประมงและการเพาะเลี้ยงปลาน้ำจืด ส่วนอุตสาหกรรมในครัวเรือน ได้แก่การทอผ้าไหม ทอเสื่อ เครื่องปั้นดินเผาเศรษฐกิจของจังหวัดกาฬสินธุ์นับอยู่ในระดับปานกลางค่อนข้างต่ำ
  • 13. เทศกาล งานประเพณี : งานประเพณีน้ำตกตาดสูง เป็นประเพณีของหมู่บ้านวัฒนธรรมผู้ไทยโคกโก่ง จัดขึ้นในวันเสาร์แรกของเดือนตุลาคมทุกปี มีการทำบุญ พีธีเซ่นไหว้เจ้าปู่ การแสดงศิลปวัฒนธรรมผู้ไทย และมหรสพให้มตลอด วัน
  • 14.  
  • 17. พระพุทธไสยาสน์ภูค่าว พระพุทธไสยาสน์ภูค่าว บ้านนาสีนวล ตำบลโนนศิลา อำเภอสหัสขันธ์ ( ห่างจากจังหวัดประมาณ 36 กม .) มีสิ่งสำคัญได้แก่ พระพุทธไสยาสน์ ที่นาแปลกคือตะแคงซ้าย ไม่มีพระเกตุมาลา สร้างขึ้นเมื่อ พุทธศักราช 2235 อุโบสถสร้างด้วยไม้ใต้น้ำจากอ่างเก็บน้ำ ลำปาว มีลักษณะเปิดโล่งระเบียงปูด้วยศิลาแลง ซึ่งแกะสลักลวดลายไทย เป็นสามมิติศิลปผสมผสานระหว่างภาคเหนือและภาคกลาง อย่างกลมกลืน นอกจากนี้ยังมีวิหารสังฆนิมิตซึ่งเป็นที่เก็บพระพุทธรูป และพระเครื่องเรือนแสน
  • 19. เขื่อนลำปาว        เขื่อนลำปาว เป็นเขื่อนดิน สร้างปิดกั้นลำน้ำปาวและห้วยยาง ที่ต่อเนื่องถึงกันบริเวณเขตติดต่อระหว่างตำบลลำปาว อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ ตำบลหนองบัว อำเภอหนองกรุงศรี และตำบลเว่อ อำเภอยางตลาด ความยาวตามสันเขื่อน 7.9 ก . ม . ความสูงของเขื่อนตรงส่วนที่สูงที่สุด 30.7 เมตร สันเขื่อน กว้าง 8 เมตร ฐานเขื่อนตอนที่กว้างที่สุด 125 เมตร เก็บกัก น้ำ ได้ 430 ล้านลูกบาศก์เมตร ในเนื้อที่ประมาณ 5,960 ตารางกิโลเมตร โครงการลำปาวเป็นโครงการชลประทาน เพื่อการเกษตร และบรรเทาอุทกภัยในลุ่มน้ำปาวและน้ำชี ทดส่งและระบายน้ำในคลองซอยต่าง ๆ บริเวณใต้เขื่อนให้ประชาชนในเขตอำเภอเมืองกาฬสินธุ์ อำเภอยางตลาด และอำเภอกมลาไสย
  • 21. พิพิธภัณฑ์สิรินทร์ ตั้งอยู่ที่เชิงภูกุ้มข้าว อำเภอสหัสขันธ์ สามารถเดินทางโดยใช้เส้นทางกาฬสินธุ์ - สหัสขันธ์ วัดนี้เป็นสถานที่ค้นพบกระดูกไดโนเสาร์จำนวนมาก โดยซากกระดูกบางส่วนได้นำมาจัดแสดงที่ศาลาวัด มีการจัดนิทรรศการแสดงความเป็นมาของการเกิดไดโนเสาร์ยุคต่างๆ รวมทั้ง รูปภาพการขุดค้นพบซากกระดูกเหล่านี้ นอกจากนั้น ห่างจากศาลาวัดไปประมาณ 100 เมตร มีโครงกระดูกไดโนเสาร์ฝังอยู่ในพื้นดิน บริเวณเชิงเขา ได้รับการขุดแต่งโดยเจ้าหน้าที่กรมทรัพยากรธรณีเป็นซากกระดูกไดโนเสาร์ ชนิดซอโรพอต   ประมาณ 7 ตัว ซึ่งอยู่ในยุค ครีเทเชียส อายุประมาณ 130 ล้านปี และในพิพิธภัณฑ์ฯยังมีซากปลาโบราณพันธุ์ใหม่ของโลกซึ่งอยู่ในสภาพสมบูรณ์ซึ่งเป็นปลาน้ำจืด
  • 23. ผ้าไหมแพรวา เป็นศิลปหัตถกรรมพื้นบ้านที่เป็นเอกลัษณ์ของชาวบ้านโพน ตำบลโพน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นผ้าที่ทอด้วยฝีมือที่มีความ วิจิตรสวยงาม ของชาวบ้าน ซึ่งเป็นที่นิยมและต้องการของนักท่องเที่ยว หรือสุภาพสตรี คหบดีที่นิยม นำผ้าไหมแพรวาไปตัดเย็บเครื่องแต่งกาย จนกระทั่งผ้าไหมแพรวาได้สร้างชื่อเสียง ให้กับชาวกาฬสินธุ์ เป็นเมืองท่องเที่ยวในด้านสินค้าหัตถกรรมพื้นบ้าน ดั่งคำขวัญ ของจังหวัดที่ว่า &quot; กาฬสินธุ์เมืองฟ้าแดดสงยาง โปงลางเลิศล้ำ วัฒนธรรมผู้ไทย ผ้าไหมแพรวา &quot; ด้วยความสำคัญของผ้าไหมจึงถือว่าเป็นศิลปหัตถกรรม เป็นวัฒนธรรม ที่สำคัญ สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ทรงประทับพระทัย จึงทรงรับอุปการะ การทอผ้าไหมแพรวาเข้าโครงการ มูลนิธิศิลปาชีพ ทรงพัฒนาการทอผ้าไหมแพรวา ไปตัดฉลองพระองค์เพื่อเป็นแบบอย่างแก่ชาวไทย และชาวต่างประเทศผ้าแพรวา มักนิยมทอด้วยฝ้าย และด้ายไหม ถ้าทอด้วยด้ายฝ้าย เรียกชื่อว่า ผ้าแพรวา
  • 25.  
  • 26. บรรณนุกรม สารานุกรมเสรี . “ จังหวัดกาฬสินธุ์ .” 9 ธันวาคม 2553 . < http://th.wikipedia.org/wiki. > 11 ธันวาคม 2553. จังหวัดกาฬสินธุ์ . “ จังหวัดกาฬสินธุ์ .” 11 ธันวาคม 2553. < http://www.norsorpor.com/tags/. > 11 ธันวาคม 2553.