SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  25
 
ชื่ออักษรไทย  สงขลา ชื่ออังกฤษ  Songkhla ผู้ว่าราชการ นายวิญญู ทองสกุล  ( ตั้งแต่ พ . ศ .  2552 ) ดอกไม้ประจำจังหวัด เฟื่องฟ้า
ข้อมูลสถิติ พื้นที่  7,393.889  ตร.กม. ( อันดับที่ 26 )  ประชากร  1,343,954  คน [3]  ( พ . ศ . 2552)( อันดับที่ 11 )  ความหนาแน่น   181.77  คน / ตร . กม .( อันดับที่ 14 )
ศูนย์ราชการ   ที่ตั้ง  ศาลากลางจังหวัดสงขลา ถนนราชดำเนิน ตำบลบ่อยาง  อำเภอเมืองสงขลา  จังหวัดสงขลา  90000 โทรศัพท์   (+66) 0 7431 2016, 0 7431 3206
นกน้ำเพลินตา  สมิหลาเพลินใจ  เมืองใหญ่สองทะเล เสน่ห์สะพานป๋า ศูนย์การค้าแดนใต้
 
มีตำนานและเรื่องเล่าหลายเรื่องทั้งที่เป็นบันทึกและจากคำบอกเล่าถึงชื่อของเมืองสงขลาหลายประการด้วยกัน ซึ่งพอจะแจกแจงตามเอกสารที่มาได้ดังนี้ ชื่อเมืองสงขลาได้ปรากฏชื่อใน พงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ในสมัย สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1  แห่ง กรุงศรีอยุธยา เมื่อ  พ.ศ. 1893  ว่าเป็นเมืองประเทศราชในจำนวน  16  หัวเมือง และในเอกสารที่บันทึกโดยคนไทยอีกหลายฉบับที่ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องเมืองสงขลาได้บันทึกประวัติของชื่อเมืองสงขลาว่า มาจากบันทึกของพ่อค้า และนักเดินเรือชาวอาหรับเปอร์เซีย ระหว่างปี พ . ศ . 1993-2093  ในนามของเมือง “ซิงกูร์ "  หรือ  " ซิงกอรา” แต่ในหนังสือประวัติศาสตร์และการเมืองแห่งราชอาณาจักรสยามของนายนิโกลาส แซร์แวส เรียกชื่อเมืองสงขลาว่า “เมืองสิงขร”  [4]   โดยได้สันนิษฐานว่าคำว่าสงขลาในปัจจุบันน่าจะเพี้ยนมาจากคำว่า “สิงหลา” หรือ “สิงขร” แปลว่าเมืองสิงห์ เนื่องมาจากการที่พ่อค้าชาวเปอร์เซียอินเดีย ตามที่ได้กล่าวมาข้างต้น ได้แล่นเรือผ่านมาค้าขายและแลเห็น เกาะหนู-เกาะแมว  ซึ่งเมื่อมองจากทะเลเข้าหาฝั่งในระยะไกล ๆ จะเห็นปรากฏเป็นภาพคล้ายสิงห์สองตัวหมอบเฝ้าปากทางเข้าเมืองสงขลา  ชาวอินเดีย จึงเรียกเมืองสงขลาในสมัยนั้นว่า  “เมืองสิงหลา”  ส่วนคนไทยเรียกว่า  " เมืองสทิง”  เมื่อแขก มลายู เข้ามาค้าขายกับเมืองสิงหลา ก็จะออกเสียงเพี้ยนเป็น “เซ็งคอรา” เมื่อฝรั่งเข้ามาค้าขายก็เรียกตามมลายูแต่เสียงเพี้ยนเป็นสำเนียงฝรั่งคือ “ซิงกอรา”  ( Singora)  จากนั้นคนไทยพื้นถิ่นเองก็ได้เรียกตามเสียงมลายูและ ฝรั่ง เพี้ยนเป็นคำว่า “สงขลา” ดังปัจจุบัน
นอกเหนือจากนี้ เอกสารชิ้นนี้ยังอธิบายต่อถึงความเป็นไปได้อีกสาเหตุหนึ่งว่า คำว่าสงขลาน่าจะเป็นการเรียกเพี้ยนมาจากคำว่า “สิงขร” ที่แปลว่าภูเขา เนื่องจากเมืองสงขลาในยุคดั้งเดิมตั้งอยู่เชิงเขา และต่อมาเจ้าเมืองคนแรกยังได้รับพระราชทานนามว่า “วิเชียรคีรี” ซึ่งสอดคล้องกับเมืองที่อยู่แถบภูเขา สอดคล้องกับสุภาวดี เชื้อพรามณ์ ที่ได้บันทึกว่าสงขลาเพี้ยนมาจาก ภาษาสันสกฤต หรือ ภาษาบาลี  เนื่องจากชาวอินเดียล่องเรืออ้อมแหลมมลายูมาสู่ฝั่งตะวันออก เมื่อมองจากทะเลเข้าสู่ฝั่งสงขลาแลเห็นภูเขาเป็นปราการธรรมชาติ จึงเรียกว่า สิงขระ หรือ สิงขร ซึ่งคำไทยสิงขร หมายถึง ภูเขา ต่อมาชาวตะวันตกจึงเรียกตาม และเพี้ยนเป็นคำว่า ซิงโกรา หรือ ซิงกอรา เช่นเดียวกันกับที่กล่าวมาข้างต้น
เหตุผลสุดท้ายที่เอกสารในเอกสารการศึกษาความเป็นไปได้ก็คือ ในสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  ได้มีพระราชวินิจฉัยไว้ว่า “สงขลา” เดิมชื่อสิงหนคร  ( สิง - หะ - นะ - คอน )  แต่แขกชาวมลายูพูดเร็วและออกเสียงเพี้ยนกลายเป็น สิง - คะ - รา แต่ออกเสียงเป็น ซิงคะรา หรือ สิงโครา จนมีการเรียกเป็น ซิงกอรา [5]   [6] ในส่วนเอกสารของชาวตะวันตกที่กล่าวถึงสงขลาในช่วงเวลาต้น ๆ ซึ่งสามารถค้นย้อนหลังไปได้ถึงสามร้อยปีในสมัย สมเด็จพระนารายณ์มหาราช โดยปรากฏชื่อเมืองสงขลาในแผนที่ของ ประเทศสยาม ที่ทำโดยนาย เชอวาลีเย เดอ โชมอง  ราชทูตของ พระเจ้าหลุยส์ที่ 14  แห่ง ฝรั่งเศส ที่เข้ามาเมืองไทยระหว่าง พ . ศ . 2228  [7] นับตั้งแต่ พุทธศตวรรษ ที่  5-6  การปรากฏตัวของเมืองท่า และแหล่ง โบราณคดี ที่แสดงว่า มีผู้คนจากต่างแดนเข้ามาปะทะ สัมพันธ์  น่าจะมีเหตุผลจาก การแสวงหา โชคลาภ และโภคทรัพย์ของผู้คนทางตะวันตกดั่งเช่น  กรีซ  และ  โรมัน  จึงทำให้ช่วงเวลาดังกล่าว เป็นช่วงเวลาของการค้นพบเส้นทางการค้าทาง ทะเล ที่เกิดขึ้นใหม่ คู่ขนานและเชื่อมโครงข่ายกับเส้นทางการค้าทางบก
ต่อมาเมื่อราว พุทธศตวรรษ ที่  8  ได้เกิดอุปสรรคทาง ภูมิศาสตร์ และความปลอดภัย ในการใช้เส้นทางบกระหว่างดินแดนทางตะวันตกและตะวันออก โดยเฉพาะพวก โรมัน และรัฐในกลุ่ม เอเชียกลาง  จึงหันมาใช้เส้นทางทะเลแทน เพื่อใช้ค้าขายติดต่อกับอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และจีน โดยการเดินทางเชื่อมระหว่างสองทวีปในระยะแรกๆนี้ ไม่ใช่เป็นการเดินทางแบบรวดเดียวถึงกันตลอด แต่ต้องมีจุดหยุดพักเป็นระยะๆ โดยอาศัยเมืองท่า และสถานีพักสินค้า เพื่อถ่ายสินค้า เพิ่มเติมน้ำจืดและอาหาร รวมไปถึงการซ่อมแซม เรือ  ากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง  [8] ทั้งนี้หากย้อนกลับมาพิจารณาจากทำเลที่ตั้งของ ภาคใต้ ของ ประเทศไทย  ที่เป็นคาบสมุทรตั้งอยู่ระหว่างประเทศที่เป็นอู่อารยะธรรม คือ  ประเทศจีน   ประเทศอินเดีย   ประเทศ แถบ อาหรับ ปอร์เซีย  และ ประเทศแถบ [[ ชวา - มาลายู จะพบว่า ดินแดนทางภาคใต้ของประเทศ ไทย  เป็นดินแดนที่อยู่ในตำแหน่งเส้นทางการค้าขายทางทะเล รวมถึงเป็นดินแดนที่พ่อค้าชาวแขก มัวร์  ใช้เส้นทางนี้เดินทางค้าขายทางเรือ โดยอาศัยลมสินค้าในสมัยโบราณที่จำกัดโดยสภาพ ภูมิศาสต ร์ และเทคโนโลยีการต่อเรือ รวมถึงการเดินเรือซึ่งในสมัยนั้น ต้องอาศัยทิศทางและกำลังลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ เพื่อเดินทางจากอินเดียไปยังจีน และอาศัยลมมรสุมจากตะวันออกเฉียงเหนือ เพื่อเดินทางจากจีนไปยัง อินเดีย  และบริเวณเหนือเส้นศูนย์สูตรไปถึงเส้นห้าองศาเหนือ เป็นพื้นที่อันตรายเพราะเป็นเขตจุดเริ่มต้นของลมสินค้า ลมจะสงบนิ่ง  ( ไร้กระแสลม เรียกว่าโดลดรัม  Doldrums)  เมื่อลมเบาบางจนทำให้ เรือ สินค้าเคลื่อนที่ไม่ได้ ที่เรียกว่า “ตกโลก”  [9]   ก็เป็นการบังคับให้ พ่อค้า ต้องแวะตามเมืองท่าชายฝั่ง ภาคใต้ ของ ไทย  ซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของเส้นศูนย์สูตรเพื่อจอดซ่อมแซม เรือ  เติมน้ำจืดและอาหาร รวมถึงขนถ่ายสินค้าข้ามคาบสมุทรกลางทางในรอบปี โดยการขนถ่าย แลกเปลี่ยนสินค้านี่เอง ทำให้เมืองท่าต่างๆในคาบสมุทรทางภาคใต้ของไทยในสมัยที่มีการเดิน เรือ ทะเล มีความเจริญรุดหน้า จากการค้าขายเป็นอันมาก นอกจากนั้น สินค้าที่สำคัญที่ผลักดันให้ชาวตะวันตกต้องแสวงหาและเดินทางมายังเมืองท่าในคาบสมุทร มาลายู คือ เครื่องเทศ เช่น ว่าน กระวาน ขิง ข่า ขมิ้น กระชาย พริกไทย กานพลู อบเชย ดีปลี จันทน์เทศ ทำให้เส้นทางการเดินเรือดังกล่าว ได้ชื่อว่าเป็นเส้นทางเครื่องเทศ
หน่วยการปกครอง การปกครองแบ่งออกเป็น  16  อำเภอ   127  ตำบล   987  หมู่บ้าน อำเภอเมืองสงขลา อำเภอรัตภูมิ อำเภอสะเดา อำเภอจะนะ อำเภอนาทวี อำเภอเทพา อำเภอสะบ้าย้อย อำเภอระโนด อำเภอหาดใหญ่ อำเภอนาหม่อม อำเภอควนเนียง อำเภอบางกล่ำ อำเภอสิงหนคร อำเภอคลองหอยโข่ง อำเภอกระแสสินธุ์ อำเภอสทิงพระ
การปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดสงขลามีเทศบาลนคร  2  แห่ง คือ  เทศบาลนครสงขลา และ เทศบาลนครหาดใหญ่  มีเทศบาลเมือง  7  แห่ง คือ  เทศบาลเมืองบ้านพรุ   เทศบาลเมืองคลองแห   เทศบาลเมืองควนลัง   เทศบาลเมืองคอหงส์  อยู่ในอำเภอหาดใหญ่ และในอำเภออื่น ๆ คือ  เทศบาลเมืองสิงหนคร   เทศบาลเมืองสะเดา   เทศบาลเมืองปาดังเบซาร์  ชึ่งเทศบาลเมืองส่วนใหญ่นี้ตั้งอยู่บนถนนสายอำเภอเมืองสงขลาจนถึงชายแดนไทย - มาเลเซีย นอกจากนี้ ยังมีเทศบาลตำบลอีก  19  แห่ง
แหล่งท่องเที่ยว แหลมสมิหลา แหลมสมิหลา อยู่ในเขต เทศบาลนครสงขลา  ห่างจากตลาดสดเทศบาลประมาณ  3  กิโลเมตร มี หาดทรายขาว สะอาดและทิวสนอันร่มรื่น มีร้านขายอาหารอยู่มาก การเดินทางจากหาดใหญ่ใช้รถประจำทางสายหาดใหญ่ - สงขลา แต่หากอยู่ในตัวเมืองสงขลาก็มีรถสองแถว  บริการจากตัวเมืองไปยังชายหาดในราคาไม่แพงนัก
เขาตังกวน อยู่ทางทิศตะวันออกของเขาน้อย มีบันไดทางขึ้นอยู่ใกล้วัดแหลมทราย  ( สูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ  2,000  ฟุต )  บนยอดเขามีเจดีย์และตำหนักซึ่งสร้างในสมัย รัชกาลที่ 5  เมื่อขึ้นไปบนยอด เขาตังกวน แล้ว สามารถมองเห็นทิวทัศน์ ของเมืองสงขลาและ ทะเลสาบสงขลา ได้อย่างชัดเจน
เกาะหนู - เกาะแมว เกาะหนู - เกาะแมวเป็นเกาะใกล้ชายฝั่งขนาดเล็ก อยู่นอก แหลมสมิหลา  มีหินสวยงามเหมาะสำหรับตกปลา
สวนสัตว์สงขลา เป็นสวนสัตว์เปิดริมถนนสงขลา - นาทวี  ตำบลเขารูปช้าง  มีเนื้อที่  911  ไร่ มีวัตถุประสงค์เพื่ออนุรักษ์และขยายพันธุ์สัตว์ป่าของไทยคืนสู่ธรรมชาติ พื้นที่เป็นภูเขาเล็ก ๆ หลายลูก มีถนนลาดยางโดยรอบและแยกชนิดสัตว์ไว้เป็นหมวดหมู่ มีสัตว์มากมายหลายชนิด ทั้งที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศและต่างประเทศ เช่น อูฐ นกชนิดต่าง ๆ วัวแดง เสือ จระเข้ ฯลฯ นอกเหนือจากสัตว์ป่าชนิดต่าง ๆ อันควรค่าแก่การศึกษา สวนสัตว์สงขลายังมีจุดเด่นที่นักท่องเที่ยวไม่ควรพลาดคือ จุดชมทิวทัศน์ซึ่งสามารถมองเห็นทัศนียภาพของเมืองสงขลา บริเวณนั้นมีร้านอาหารไว้คอยบริการนักท่องเที่ยว
 
แหลมสนอ่อน แหลมสนอ่อน  ติดกับแหลมสมิหลาไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ ด้านทิศตะวันตกของแหลมสนอ่อนเป็น ทะเลสาบสงขลา   บริเวณรอบ ๆ แหลมสนอ่อนมีถนน สามารถชมทิวทัศน์ได้ทั้งทะเลหลวงและทะเลสาบ นอกจากนี้ยังมีสวนสนซึ่งเหมาะ แก่การพักผ่อนและนั่งพักรับประทานอาหาร
เก้าเส้ง อยู่ทางทิศใต้ของหาดสมิหลาประมาณ  3  กิโลเมตร มีถนนแยกจาก ถนนไทรบุรี  ตรงสามแยกสำโรง  ( โรงพยาบาลประสาท )  เป็นหาดที่สวยงามแห่งหนึ่งของสงขลา มีโขดหินระเกะระกะอยู่ริมทะเล และมีอยู่ก้อนหนึ่งตั้งเด่นอยู่เหนือโขดหิน  ซึ่งชาวบ้านเรียกหินก้อนนี้ว่า “หัวนายแรง”
ทะเลสาบสงขลา ทะเลสาบสงขลา เป็นทะเลสาบแห่งเดียวใน ประเทศไทย  มีความยาวจากปากน้ำไปทางทิศเหนือประมาณ  80  กิโลเมตร ส่วนกว้างไม่แน่นอน บางตอนแคบ บางตอนกว้างมาก ส่วนที่กว้างที่สุดประมาณ  20-25  กิโลเมตร ทะเลสาบสงขลาเป็นทะเลสาบน้ำจืด แต่จะกร่อยในช่วงที่ติดกับทะเล ตรงปากอ่าวในทะเลสาบมีเกาะอยู่หลายเกาะ ที่สำคัญได้แก่ เกาะใหญ่ เกาะสี่ เกาะห้า เกาะแก้ว เกาะหมาก เกาะราย และเกาะยอ นักท่องเที่ยวสามารถหาเรือท่องเที่ยวในทะเลสาบได้บริเวณท่าเรืออยู่หลังที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข หรือบริเวณตลาดสด จะมีเรือหางยาวรับส่งตลอดวัน
วัดมัชฌิมาวาส วัดมัชฌิมาวาส  ( วัดกลาง )  อยู่ที่ ถนนไทรบุรี  เป็นวัดใหญ่และสำคัญที่สุดในจังหวัดสงขลา อายุ  400  ปี สร้างสมัยอยุธยาตอนปลาย เดิมเรียกว่าวัดยายศรีจันทร์ กล่าวกันว่ายายศรีจันทร์ คหบดีผู้มั่งคั่งในเมืองสงขลาได้อุทิศเงินสร้างขึ้น ต่อมามีผู้สร้างวัดเลียบทางทิศเหนือ และวัดโพธิ์ทางทิศใต้ ชาวสงขลาจึงเรียกวัดยายศรีจันทร์ว่า “วัดกลาง” และได้เปลี่ยนชื่อเป็น “วัดมัชฌิมาวาส” โดย พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นวชิรญาณวโรรส คราวเสด็จเมืองสงขลาเมื่อ  พ.ศ. 2431  ในวัดมีโบราณสถานที่น่าสนใจหลายแห่ง อาทิ พระอุโบสถ สร้างสมัย รัชกาลที่ 1  เป็นศิลปะประยุกต์ไทย - จีน ภายในมีภาพจิตรกรรมฝาผนังที่ยังอยู่ในสภาพสมบูรณ์ เช่น ภาพท่าเรือสงขลาที่หัวเขาแดงที่มีการค้าขายกันคึกคัก ซุ้มประตู เป็นศิลปะจีนกับยุโรป และมีพิพิธภัณฑ์ “ภัทรศิลป” เป็นที่เก็บพระพุทธรูป วัตถุโบราณ ซึ่งรวบรวมมาจากเมืองสงขลา สทิงพระ ระโนด ซึ่งเป็นหลักฐานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ควรค่าแก่การศึกษา เปิดให้เข้าชมทุกวัน เว้นวันจันทร์ - อังคารและวันหยุดราชการ เวลา  13.00-16.00  น .
การเดินทาง   ข้อมูลการเดินทางจากกรุงเทพฯไป จ .  สงขลา รถยนต์      จากกรุงเทพมหานครไปตามทางหลวง หมายเลข  4  ผ่านประจวบคีรีขันธ์ - ชุมพร - สุราษฎร์ธานี - นครศรีธรรมราช - พัทลุง - สงขลา รวมระยะทาง  950  กิโลเมตร รถไฟ     การรถไฟแห่งประเทศไทย เปิดบริการเดินรถระหว่าง กรุงเทพฯ - หาดใหญ่ ทุกวัน ทั้งรถด่วนและรถเร็ว สอบถามรายละเอียดได้ที่ หน่วยบริการเดินทาง โทร . 1690, 0 2223 7010, 0 2223 7020  หรือ  www.railway.co.th   หรือที่สถานีรถไฟหาดใหญ่ โทร . 0 7424 3705, 0 7423 8005 รถโดยสารประจำทาง      บริษัท ขนส่ง จำกัด มีรถโดยสารประจำทาง กรุงเทพฯ - หาดใหญ่ และกรุงเทพฯ - สงขลาบริการทุกวัน ใช้เวลาเดินทางประมาณ  13  ชั่วโมง สอบถามเพิ่มเติมติดต่อขนส่งสายใต้  โทร . 02 894 6122  จองตั๋ว บขส .  โทร . 02 422 4444   หรือ  www.transport.co.th   หรือหาดใหญ่ ติดต่อบริษัท ขนส่ง จำกัด โทร . 0 7423 2789, 0 7423 2404  บริษัท ปิยะทัวร์ จำกัดโทร . 0 7442 8972  บริษัท ไทยเดินรถ จำกัด โทร . 0 7442 9525 เครื่องบิน      มีเที่ยวบินระหว่างกรุงเทพฯ  - หาดใหญ่ ทุกวัน สอบถามตารางบินและ ข้อมูลเพิ่มเติม จาก สายการบินต่างๆ ดังนี้ -  บริษัท การบินไทย จำกัด โทร . 1566, 0 2280 0060, 0 2628 2000  หรือ  www.thaiairways.com   หรือสำนักงานหาดใหญ่ โทร . 0 7424 5851-2, 0 7423 3433 -  สายการบิน นกแอร์ โทร .1318  หรือ  www.nokair.co.th -  สายการบินแอร์เอเชีย โทร . 0 2515 9999  หรือ  www.airasia.com
 
http://th.wikipedia.org/wiki/
 

Contenu connexe

En vedette

혼자 여행하는 법
혼자 여행하는 법혼자 여행하는 법
혼자 여행하는 법songsl
 
Cahaya dan optik bagian 2
Cahaya dan optik bagian 2Cahaya dan optik bagian 2
Cahaya dan optik bagian 2Gita Puspita
 
Pamiętamy...[*]
Pamiętamy...[*]Pamiętamy...[*]
Pamiętamy...[*]Jowal Jowal
 
Lezing kerk, internet en online gemeenschappen - Utrecht, 14 februari 2011
Lezing kerk, internet en online gemeenschappen - Utrecht, 14 februari 2011Lezing kerk, internet en online gemeenschappen - Utrecht, 14 februari 2011
Lezing kerk, internet en online gemeenschappen - Utrecht, 14 februari 2011isidorusweb
 
facebookセミナー初級編 後半
facebookセミナー初級編 後半facebookセミナー初級編 後半
facebookセミナー初級編 後半Daisuke Goto
 
Агоритм пчёл и его сравнение с ГА
Агоритм пчёл и его сравнение с ГААгоритм пчёл и его сравнение с ГА
Агоритм пчёл и его сравнение с ГАKirill Netreba
 
17 大学四年应该如何度过
17 大学四年应该如何度过17 大学四年应该如何度过
17 大学四年应该如何度过hustmarco
 
Contoh rancangan harian tahun 6 sjk
Contoh rancangan harian tahun 6 sjkContoh rancangan harian tahun 6 sjk
Contoh rancangan harian tahun 6 sjkKamarudin Jaafar
 
Precise Measurements Of Faraday Rotation Using Ac Magnetic Fields
Precise   Measurements  Of  Faraday  Rotation  Using  Ac  Magnetic  FieldsPrecise   Measurements  Of  Faraday  Rotation  Using  Ac  Magnetic  Fields
Precise Measurements Of Faraday Rotation Using Ac Magnetic Fieldsoznilzo
 
Actua sessie 20110120
Actua sessie 20110120Actua sessie 20110120
Actua sessie 20110120thorbecke
 
Innovatie & internetjournalistiek
Innovatie & internetjournalistiek Innovatie & internetjournalistiek
Innovatie & internetjournalistiek APleijter
 
Kourtesopoulou et.al, easm 2010 prague
Kourtesopoulou et.al, easm 2010 pragueKourtesopoulou et.al, easm 2010 prague
Kourtesopoulou et.al, easm 2010 pragueAnna Kourtesopoulou
 
նետբուք
նետբուքնետբուք
նետբուքTamar777
 
Pitch You training ZONE 2010
Pitch You training ZONE 2010Pitch You training ZONE 2010
Pitch You training ZONE 2010embush
 

En vedette (20)

혼자 여행하는 법
혼자 여행하는 법혼자 여행하는 법
혼자 여행하는 법
 
Cahaya dan optik bagian 2
Cahaya dan optik bagian 2Cahaya dan optik bagian 2
Cahaya dan optik bagian 2
 
Trabajos 1º
Trabajos 1ºTrabajos 1º
Trabajos 1º
 
Math sistema
Math sistemaMath sistema
Math sistema
 
Pamiętamy...[*]
Pamiętamy...[*]Pamiętamy...[*]
Pamiętamy...[*]
 
Lezing kerk, internet en online gemeenschappen - Utrecht, 14 februari 2011
Lezing kerk, internet en online gemeenschappen - Utrecht, 14 februari 2011Lezing kerk, internet en online gemeenschappen - Utrecht, 14 februari 2011
Lezing kerk, internet en online gemeenschappen - Utrecht, 14 februari 2011
 
facebookセミナー初級編 後半
facebookセミナー初級編 後半facebookセミナー初級編 後半
facebookセミナー初級編 後半
 
презентация валентин библиомист
презентация валентин библиомистпрезентация валентин библиомист
презентация валентин библиомист
 
Агоритм пчёл и его сравнение с ГА
Агоритм пчёл и его сравнение с ГААгоритм пчёл и его сравнение с ГА
Агоритм пчёл и его сравнение с ГА
 
17 大学四年应该如何度过
17 大学四年应该如何度过17 大学四年应该如何度过
17 大学四年应该如何度过
 
Contoh rancangan harian tahun 6 sjk
Contoh rancangan harian tahun 6 sjkContoh rancangan harian tahun 6 sjk
Contoh rancangan harian tahun 6 sjk
 
Baka rangers 4
Baka rangers 4Baka rangers 4
Baka rangers 4
 
111
111111
111
 
Precise Measurements Of Faraday Rotation Using Ac Magnetic Fields
Precise   Measurements  Of  Faraday  Rotation  Using  Ac  Magnetic  FieldsPrecise   Measurements  Of  Faraday  Rotation  Using  Ac  Magnetic  Fields
Precise Measurements Of Faraday Rotation Using Ac Magnetic Fields
 
ประเทศมอนเตเนโกร
ประเทศมอนเตเนโกรประเทศมอนเตเนโกร
ประเทศมอนเตเนโกร
 
Actua sessie 20110120
Actua sessie 20110120Actua sessie 20110120
Actua sessie 20110120
 
Innovatie & internetjournalistiek
Innovatie & internetjournalistiek Innovatie & internetjournalistiek
Innovatie & internetjournalistiek
 
Kourtesopoulou et.al, easm 2010 prague
Kourtesopoulou et.al, easm 2010 pragueKourtesopoulou et.al, easm 2010 prague
Kourtesopoulou et.al, easm 2010 prague
 
նետբուք
նետբուքնետբուք
նետբուք
 
Pitch You training ZONE 2010
Pitch You training ZONE 2010Pitch You training ZONE 2010
Pitch You training ZONE 2010
 

Similaire à สงขลา

โรงเรียนวัดมโนราษฎร์
โรงเรียนวัดมโนราษฎร์โรงเรียนวัดมโนราษฎร์
โรงเรียนวัดมโนราษฎร์Songwut Wankaew
 
โรงเรียนวัดมโนราษฎร์
โรงเรียนวัดมโนราษฎร์โรงเรียนวัดมโนราษฎร์
โรงเรียนวัดมโนราษฎร์Songwut Wankaew
 
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”Tum Meng
 
จังหวัดศรีสะเกษ1
จังหวัดศรีสะเกษ1จังหวัดศรีสะเกษ1
จังหวัดศรีสะเกษ1Beebe Benjamast
 
Power Point การพัฒนาอนาคตเมืองสงขลา: มิติด้านภูมิศาสตร์กายภาพและนิเวศวิทยา
Power Point การพัฒนาอนาคตเมืองสงขลา: มิติด้านภูมิศาสตร์กายภาพและนิเวศวิทยาPower Point การพัฒนาอนาคตเมืองสงขลา: มิติด้านภูมิศาสตร์กายภาพและนิเวศวิทยา
Power Point การพัฒนาอนาคตเมืองสงขลา: มิติด้านภูมิศาสตร์กายภาพและนิเวศวิทยาFURD_RSU
 
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1  early thailand from prehistory to sukhothaiUnit 1  early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothaiThaiway Thanathep
 
จังหวัดนครศรีธรรมราช
 จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช
จังหวัดนครศรีธรรมราชSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
เอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 ok
เอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 okเอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 ok
เอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 okPatpong Lohapibool
 

Similaire à สงขลา (16)

สงขลา
สงขลาสงขลา
สงขลา
 
โรงเรียนวัดมโนราษฎร์
โรงเรียนวัดมโนราษฎร์โรงเรียนวัดมโนราษฎร์
โรงเรียนวัดมโนราษฎร์
 
โรงเรียนวัดมโนราษฎร์
โรงเรียนวัดมโนราษฎร์โรงเรียนวัดมโนราษฎร์
โรงเรียนวัดมโนราษฎร์
 
ศรีลังกา
ศรีลังกาศรีลังกา
ศรีลังกา
 
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”
 
จังหวัดศรีสะเกษ1
จังหวัดศรีสะเกษ1จังหวัดศรีสะเกษ1
จังหวัดศรีสะเกษ1
 
พระนครศรีอยุธยา
พระนครศรีอยุธยาพระนครศรีอยุธยา
พระนครศรีอยุธยา
 
จังหวัดศรีสะเกษ
จังหวัดศรีสะเกษจังหวัดศรีสะเกษ
จังหวัดศรีสะเกษ
 
Power Point การพัฒนาอนาคตเมืองสงขลา: มิติด้านภูมิศาสตร์กายภาพและนิเวศวิทยา
Power Point การพัฒนาอนาคตเมืองสงขลา: มิติด้านภูมิศาสตร์กายภาพและนิเวศวิทยาPower Point การพัฒนาอนาคตเมืองสงขลา: มิติด้านภูมิศาสตร์กายภาพและนิเวศวิทยา
Power Point การพัฒนาอนาคตเมืองสงขลา: มิติด้านภูมิศาสตร์กายภาพและนิเวศวิทยา
 
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1  early thailand from prehistory to sukhothaiUnit 1  early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothai
 
จังหวัดนครศรีธรรมราช
 จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช
จังหวัดนครศรีธรรมราช
 
การสถาปนา..
การสถาปนา..การสถาปนา..
การสถาปนา..
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัย
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัย
 
เอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 ok
เอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 okเอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 ok
เอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 ok
 
ลังกากถา โดย ปิยเมธี
ลังกากถา โดย ปิยเมธีลังกากถา โดย ปิยเมธี
ลังกากถา โดย ปิยเมธี
 

Plus de SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

Plus de SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

สงขลา

  • 1.  
  • 2. ชื่ออักษรไทย สงขลา ชื่ออังกฤษ Songkhla ผู้ว่าราชการ นายวิญญู ทองสกุล ( ตั้งแต่ พ . ศ . 2552 ) ดอกไม้ประจำจังหวัด เฟื่องฟ้า
  • 3. ข้อมูลสถิติ พื้นที่ 7,393.889 ตร.กม. ( อันดับที่ 26 ) ประชากร 1,343,954 คน [3] ( พ . ศ . 2552)( อันดับที่ 11 ) ความหนาแน่น 181.77 คน / ตร . กม .( อันดับที่ 14 )
  • 4. ศูนย์ราชการ ที่ตั้ง ศาลากลางจังหวัดสงขลา ถนนราชดำเนิน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา 90000 โทรศัพท์ (+66) 0 7431 2016, 0 7431 3206
  • 5. นกน้ำเพลินตา สมิหลาเพลินใจ เมืองใหญ่สองทะเล เสน่ห์สะพานป๋า ศูนย์การค้าแดนใต้
  • 6.  
  • 7. มีตำนานและเรื่องเล่าหลายเรื่องทั้งที่เป็นบันทึกและจากคำบอกเล่าถึงชื่อของเมืองสงขลาหลายประการด้วยกัน ซึ่งพอจะแจกแจงตามเอกสารที่มาได้ดังนี้ ชื่อเมืองสงขลาได้ปรากฏชื่อใน พงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ในสมัย สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 แห่ง กรุงศรีอยุธยา เมื่อ พ.ศ. 1893 ว่าเป็นเมืองประเทศราชในจำนวน 16 หัวเมือง และในเอกสารที่บันทึกโดยคนไทยอีกหลายฉบับที่ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องเมืองสงขลาได้บันทึกประวัติของชื่อเมืองสงขลาว่า มาจากบันทึกของพ่อค้า และนักเดินเรือชาวอาหรับเปอร์เซีย ระหว่างปี พ . ศ . 1993-2093 ในนามของเมือง “ซิงกูร์ " หรือ " ซิงกอรา” แต่ในหนังสือประวัติศาสตร์และการเมืองแห่งราชอาณาจักรสยามของนายนิโกลาส แซร์แวส เรียกชื่อเมืองสงขลาว่า “เมืองสิงขร” [4] โดยได้สันนิษฐานว่าคำว่าสงขลาในปัจจุบันน่าจะเพี้ยนมาจากคำว่า “สิงหลา” หรือ “สิงขร” แปลว่าเมืองสิงห์ เนื่องมาจากการที่พ่อค้าชาวเปอร์เซียอินเดีย ตามที่ได้กล่าวมาข้างต้น ได้แล่นเรือผ่านมาค้าขายและแลเห็น เกาะหนู-เกาะแมว ซึ่งเมื่อมองจากทะเลเข้าหาฝั่งในระยะไกล ๆ จะเห็นปรากฏเป็นภาพคล้ายสิงห์สองตัวหมอบเฝ้าปากทางเข้าเมืองสงขลา ชาวอินเดีย จึงเรียกเมืองสงขลาในสมัยนั้นว่า “เมืองสิงหลา” ส่วนคนไทยเรียกว่า " เมืองสทิง” เมื่อแขก มลายู เข้ามาค้าขายกับเมืองสิงหลา ก็จะออกเสียงเพี้ยนเป็น “เซ็งคอรา” เมื่อฝรั่งเข้ามาค้าขายก็เรียกตามมลายูแต่เสียงเพี้ยนเป็นสำเนียงฝรั่งคือ “ซิงกอรา” ( Singora) จากนั้นคนไทยพื้นถิ่นเองก็ได้เรียกตามเสียงมลายูและ ฝรั่ง เพี้ยนเป็นคำว่า “สงขลา” ดังปัจจุบัน
  • 8. นอกเหนือจากนี้ เอกสารชิ้นนี้ยังอธิบายต่อถึงความเป็นไปได้อีกสาเหตุหนึ่งว่า คำว่าสงขลาน่าจะเป็นการเรียกเพี้ยนมาจากคำว่า “สิงขร” ที่แปลว่าภูเขา เนื่องจากเมืองสงขลาในยุคดั้งเดิมตั้งอยู่เชิงเขา และต่อมาเจ้าเมืองคนแรกยังได้รับพระราชทานนามว่า “วิเชียรคีรี” ซึ่งสอดคล้องกับเมืองที่อยู่แถบภูเขา สอดคล้องกับสุภาวดี เชื้อพรามณ์ ที่ได้บันทึกว่าสงขลาเพี้ยนมาจาก ภาษาสันสกฤต หรือ ภาษาบาลี เนื่องจากชาวอินเดียล่องเรืออ้อมแหลมมลายูมาสู่ฝั่งตะวันออก เมื่อมองจากทะเลเข้าสู่ฝั่งสงขลาแลเห็นภูเขาเป็นปราการธรรมชาติ จึงเรียกว่า สิงขระ หรือ สิงขร ซึ่งคำไทยสิงขร หมายถึง ภูเขา ต่อมาชาวตะวันตกจึงเรียกตาม และเพี้ยนเป็นคำว่า ซิงโกรา หรือ ซิงกอรา เช่นเดียวกันกับที่กล่าวมาข้างต้น
  • 9. เหตุผลสุดท้ายที่เอกสารในเอกสารการศึกษาความเป็นไปได้ก็คือ ในสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีพระราชวินิจฉัยไว้ว่า “สงขลา” เดิมชื่อสิงหนคร ( สิง - หะ - นะ - คอน ) แต่แขกชาวมลายูพูดเร็วและออกเสียงเพี้ยนกลายเป็น สิง - คะ - รา แต่ออกเสียงเป็น ซิงคะรา หรือ สิงโครา จนมีการเรียกเป็น ซิงกอรา [5] [6] ในส่วนเอกสารของชาวตะวันตกที่กล่าวถึงสงขลาในช่วงเวลาต้น ๆ ซึ่งสามารถค้นย้อนหลังไปได้ถึงสามร้อยปีในสมัย สมเด็จพระนารายณ์มหาราช โดยปรากฏชื่อเมืองสงขลาในแผนที่ของ ประเทศสยาม ที่ทำโดยนาย เชอวาลีเย เดอ โชมอง ราชทูตของ พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่ง ฝรั่งเศส ที่เข้ามาเมืองไทยระหว่าง พ . ศ . 2228 [7] นับตั้งแต่ พุทธศตวรรษ ที่ 5-6 การปรากฏตัวของเมืองท่า และแหล่ง โบราณคดี ที่แสดงว่า มีผู้คนจากต่างแดนเข้ามาปะทะ สัมพันธ์ น่าจะมีเหตุผลจาก การแสวงหา โชคลาภ และโภคทรัพย์ของผู้คนทางตะวันตกดั่งเช่น กรีซ และ โรมัน จึงทำให้ช่วงเวลาดังกล่าว เป็นช่วงเวลาของการค้นพบเส้นทางการค้าทาง ทะเล ที่เกิดขึ้นใหม่ คู่ขนานและเชื่อมโครงข่ายกับเส้นทางการค้าทางบก
  • 10. ต่อมาเมื่อราว พุทธศตวรรษ ที่ 8 ได้เกิดอุปสรรคทาง ภูมิศาสตร์ และความปลอดภัย ในการใช้เส้นทางบกระหว่างดินแดนทางตะวันตกและตะวันออก โดยเฉพาะพวก โรมัน และรัฐในกลุ่ม เอเชียกลาง จึงหันมาใช้เส้นทางทะเลแทน เพื่อใช้ค้าขายติดต่อกับอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และจีน โดยการเดินทางเชื่อมระหว่างสองทวีปในระยะแรกๆนี้ ไม่ใช่เป็นการเดินทางแบบรวดเดียวถึงกันตลอด แต่ต้องมีจุดหยุดพักเป็นระยะๆ โดยอาศัยเมืองท่า และสถานีพักสินค้า เพื่อถ่ายสินค้า เพิ่มเติมน้ำจืดและอาหาร รวมไปถึงการซ่อมแซม เรือ ากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง [8] ทั้งนี้หากย้อนกลับมาพิจารณาจากทำเลที่ตั้งของ ภาคใต้ ของ ประเทศไทย ที่เป็นคาบสมุทรตั้งอยู่ระหว่างประเทศที่เป็นอู่อารยะธรรม คือ ประเทศจีน ประเทศอินเดีย ประเทศ แถบ อาหรับ ปอร์เซีย และ ประเทศแถบ [[ ชวา - มาลายู จะพบว่า ดินแดนทางภาคใต้ของประเทศ ไทย เป็นดินแดนที่อยู่ในตำแหน่งเส้นทางการค้าขายทางทะเล รวมถึงเป็นดินแดนที่พ่อค้าชาวแขก มัวร์ ใช้เส้นทางนี้เดินทางค้าขายทางเรือ โดยอาศัยลมสินค้าในสมัยโบราณที่จำกัดโดยสภาพ ภูมิศาสต ร์ และเทคโนโลยีการต่อเรือ รวมถึงการเดินเรือซึ่งในสมัยนั้น ต้องอาศัยทิศทางและกำลังลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ เพื่อเดินทางจากอินเดียไปยังจีน และอาศัยลมมรสุมจากตะวันออกเฉียงเหนือ เพื่อเดินทางจากจีนไปยัง อินเดีย และบริเวณเหนือเส้นศูนย์สูตรไปถึงเส้นห้าองศาเหนือ เป็นพื้นที่อันตรายเพราะเป็นเขตจุดเริ่มต้นของลมสินค้า ลมจะสงบนิ่ง ( ไร้กระแสลม เรียกว่าโดลดรัม Doldrums) เมื่อลมเบาบางจนทำให้ เรือ สินค้าเคลื่อนที่ไม่ได้ ที่เรียกว่า “ตกโลก” [9] ก็เป็นการบังคับให้ พ่อค้า ต้องแวะตามเมืองท่าชายฝั่ง ภาคใต้ ของ ไทย ซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของเส้นศูนย์สูตรเพื่อจอดซ่อมแซม เรือ เติมน้ำจืดและอาหาร รวมถึงขนถ่ายสินค้าข้ามคาบสมุทรกลางทางในรอบปี โดยการขนถ่าย แลกเปลี่ยนสินค้านี่เอง ทำให้เมืองท่าต่างๆในคาบสมุทรทางภาคใต้ของไทยในสมัยที่มีการเดิน เรือ ทะเล มีความเจริญรุดหน้า จากการค้าขายเป็นอันมาก นอกจากนั้น สินค้าที่สำคัญที่ผลักดันให้ชาวตะวันตกต้องแสวงหาและเดินทางมายังเมืองท่าในคาบสมุทร มาลายู คือ เครื่องเทศ เช่น ว่าน กระวาน ขิง ข่า ขมิ้น กระชาย พริกไทย กานพลู อบเชย ดีปลี จันทน์เทศ ทำให้เส้นทางการเดินเรือดังกล่าว ได้ชื่อว่าเป็นเส้นทางเครื่องเทศ
  • 11. หน่วยการปกครอง การปกครองแบ่งออกเป็น 16 อำเภอ 127 ตำบล 987 หมู่บ้าน อำเภอเมืองสงขลา อำเภอรัตภูมิ อำเภอสะเดา อำเภอจะนะ อำเภอนาทวี อำเภอเทพา อำเภอสะบ้าย้อย อำเภอระโนด อำเภอหาดใหญ่ อำเภอนาหม่อม อำเภอควนเนียง อำเภอบางกล่ำ อำเภอสิงหนคร อำเภอคลองหอยโข่ง อำเภอกระแสสินธุ์ อำเภอสทิงพระ
  • 12. การปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดสงขลามีเทศบาลนคร 2 แห่ง คือ เทศบาลนครสงขลา และ เทศบาลนครหาดใหญ่ มีเทศบาลเมือง 7 แห่ง คือ เทศบาลเมืองบ้านพรุ เทศบาลเมืองคลองแห เทศบาลเมืองควนลัง เทศบาลเมืองคอหงส์ อยู่ในอำเภอหาดใหญ่ และในอำเภออื่น ๆ คือ เทศบาลเมืองสิงหนคร เทศบาลเมืองสะเดา เทศบาลเมืองปาดังเบซาร์ ชึ่งเทศบาลเมืองส่วนใหญ่นี้ตั้งอยู่บนถนนสายอำเภอเมืองสงขลาจนถึงชายแดนไทย - มาเลเซีย นอกจากนี้ ยังมีเทศบาลตำบลอีก 19 แห่ง
  • 13. แหล่งท่องเที่ยว แหลมสมิหลา แหลมสมิหลา อยู่ในเขต เทศบาลนครสงขลา ห่างจากตลาดสดเทศบาลประมาณ 3 กิโลเมตร มี หาดทรายขาว สะอาดและทิวสนอันร่มรื่น มีร้านขายอาหารอยู่มาก การเดินทางจากหาดใหญ่ใช้รถประจำทางสายหาดใหญ่ - สงขลา แต่หากอยู่ในตัวเมืองสงขลาก็มีรถสองแถว บริการจากตัวเมืองไปยังชายหาดในราคาไม่แพงนัก
  • 14. เขาตังกวน อยู่ทางทิศตะวันออกของเขาน้อย มีบันไดทางขึ้นอยู่ใกล้วัดแหลมทราย ( สูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 2,000 ฟุต ) บนยอดเขามีเจดีย์และตำหนักซึ่งสร้างในสมัย รัชกาลที่ 5 เมื่อขึ้นไปบนยอด เขาตังกวน แล้ว สามารถมองเห็นทิวทัศน์ ของเมืองสงขลาและ ทะเลสาบสงขลา ได้อย่างชัดเจน
  • 15. เกาะหนู - เกาะแมว เกาะหนู - เกาะแมวเป็นเกาะใกล้ชายฝั่งขนาดเล็ก อยู่นอก แหลมสมิหลา มีหินสวยงามเหมาะสำหรับตกปลา
  • 16. สวนสัตว์สงขลา เป็นสวนสัตว์เปิดริมถนนสงขลา - นาทวี ตำบลเขารูปช้าง มีเนื้อที่ 911 ไร่ มีวัตถุประสงค์เพื่ออนุรักษ์และขยายพันธุ์สัตว์ป่าของไทยคืนสู่ธรรมชาติ พื้นที่เป็นภูเขาเล็ก ๆ หลายลูก มีถนนลาดยางโดยรอบและแยกชนิดสัตว์ไว้เป็นหมวดหมู่ มีสัตว์มากมายหลายชนิด ทั้งที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศและต่างประเทศ เช่น อูฐ นกชนิดต่าง ๆ วัวแดง เสือ จระเข้ ฯลฯ นอกเหนือจากสัตว์ป่าชนิดต่าง ๆ อันควรค่าแก่การศึกษา สวนสัตว์สงขลายังมีจุดเด่นที่นักท่องเที่ยวไม่ควรพลาดคือ จุดชมทิวทัศน์ซึ่งสามารถมองเห็นทัศนียภาพของเมืองสงขลา บริเวณนั้นมีร้านอาหารไว้คอยบริการนักท่องเที่ยว
  • 17.  
  • 18. แหลมสนอ่อน แหลมสนอ่อน ติดกับแหลมสมิหลาไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ ด้านทิศตะวันตกของแหลมสนอ่อนเป็น ทะเลสาบสงขลา บริเวณรอบ ๆ แหลมสนอ่อนมีถนน สามารถชมทิวทัศน์ได้ทั้งทะเลหลวงและทะเลสาบ นอกจากนี้ยังมีสวนสนซึ่งเหมาะ แก่การพักผ่อนและนั่งพักรับประทานอาหาร
  • 19. เก้าเส้ง อยู่ทางทิศใต้ของหาดสมิหลาประมาณ 3 กิโลเมตร มีถนนแยกจาก ถนนไทรบุรี ตรงสามแยกสำโรง ( โรงพยาบาลประสาท ) เป็นหาดที่สวยงามแห่งหนึ่งของสงขลา มีโขดหินระเกะระกะอยู่ริมทะเล และมีอยู่ก้อนหนึ่งตั้งเด่นอยู่เหนือโขดหิน ซึ่งชาวบ้านเรียกหินก้อนนี้ว่า “หัวนายแรง”
  • 20. ทะเลสาบสงขลา ทะเลสาบสงขลา เป็นทะเลสาบแห่งเดียวใน ประเทศไทย มีความยาวจากปากน้ำไปทางทิศเหนือประมาณ 80 กิโลเมตร ส่วนกว้างไม่แน่นอน บางตอนแคบ บางตอนกว้างมาก ส่วนที่กว้างที่สุดประมาณ 20-25 กิโลเมตร ทะเลสาบสงขลาเป็นทะเลสาบน้ำจืด แต่จะกร่อยในช่วงที่ติดกับทะเล ตรงปากอ่าวในทะเลสาบมีเกาะอยู่หลายเกาะ ที่สำคัญได้แก่ เกาะใหญ่ เกาะสี่ เกาะห้า เกาะแก้ว เกาะหมาก เกาะราย และเกาะยอ นักท่องเที่ยวสามารถหาเรือท่องเที่ยวในทะเลสาบได้บริเวณท่าเรืออยู่หลังที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข หรือบริเวณตลาดสด จะมีเรือหางยาวรับส่งตลอดวัน
  • 21. วัดมัชฌิมาวาส วัดมัชฌิมาวาส ( วัดกลาง ) อยู่ที่ ถนนไทรบุรี เป็นวัดใหญ่และสำคัญที่สุดในจังหวัดสงขลา อายุ 400 ปี สร้างสมัยอยุธยาตอนปลาย เดิมเรียกว่าวัดยายศรีจันทร์ กล่าวกันว่ายายศรีจันทร์ คหบดีผู้มั่งคั่งในเมืองสงขลาได้อุทิศเงินสร้างขึ้น ต่อมามีผู้สร้างวัดเลียบทางทิศเหนือ และวัดโพธิ์ทางทิศใต้ ชาวสงขลาจึงเรียกวัดยายศรีจันทร์ว่า “วัดกลาง” และได้เปลี่ยนชื่อเป็น “วัดมัชฌิมาวาส” โดย พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นวชิรญาณวโรรส คราวเสด็จเมืองสงขลาเมื่อ พ.ศ. 2431 ในวัดมีโบราณสถานที่น่าสนใจหลายแห่ง อาทิ พระอุโบสถ สร้างสมัย รัชกาลที่ 1 เป็นศิลปะประยุกต์ไทย - จีน ภายในมีภาพจิตรกรรมฝาผนังที่ยังอยู่ในสภาพสมบูรณ์ เช่น ภาพท่าเรือสงขลาที่หัวเขาแดงที่มีการค้าขายกันคึกคัก ซุ้มประตู เป็นศิลปะจีนกับยุโรป และมีพิพิธภัณฑ์ “ภัทรศิลป” เป็นที่เก็บพระพุทธรูป วัตถุโบราณ ซึ่งรวบรวมมาจากเมืองสงขลา สทิงพระ ระโนด ซึ่งเป็นหลักฐานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ควรค่าแก่การศึกษา เปิดให้เข้าชมทุกวัน เว้นวันจันทร์ - อังคารและวันหยุดราชการ เวลา 13.00-16.00 น .
  • 22. การเดินทาง ข้อมูลการเดินทางจากกรุงเทพฯไป จ . สงขลา รถยนต์      จากกรุงเทพมหานครไปตามทางหลวง หมายเลข 4 ผ่านประจวบคีรีขันธ์ - ชุมพร - สุราษฎร์ธานี - นครศรีธรรมราช - พัทลุง - สงขลา รวมระยะทาง 950 กิโลเมตร รถไฟ     การรถไฟแห่งประเทศไทย เปิดบริการเดินรถระหว่าง กรุงเทพฯ - หาดใหญ่ ทุกวัน ทั้งรถด่วนและรถเร็ว สอบถามรายละเอียดได้ที่ หน่วยบริการเดินทาง โทร . 1690, 0 2223 7010, 0 2223 7020 หรือ www.railway.co.th หรือที่สถานีรถไฟหาดใหญ่ โทร . 0 7424 3705, 0 7423 8005 รถโดยสารประจำทาง      บริษัท ขนส่ง จำกัด มีรถโดยสารประจำทาง กรุงเทพฯ - หาดใหญ่ และกรุงเทพฯ - สงขลาบริการทุกวัน ใช้เวลาเดินทางประมาณ 13 ชั่วโมง สอบถามเพิ่มเติมติดต่อขนส่งสายใต้  โทร . 02 894 6122 จองตั๋ว บขส . โทร . 02 422 4444   หรือ www.transport.co.th หรือหาดใหญ่ ติดต่อบริษัท ขนส่ง จำกัด โทร . 0 7423 2789, 0 7423 2404 บริษัท ปิยะทัวร์ จำกัดโทร . 0 7442 8972 บริษัท ไทยเดินรถ จำกัด โทร . 0 7442 9525 เครื่องบิน      มีเที่ยวบินระหว่างกรุงเทพฯ - หาดใหญ่ ทุกวัน สอบถามตารางบินและ ข้อมูลเพิ่มเติม จาก สายการบินต่างๆ ดังนี้ - บริษัท การบินไทย จำกัด โทร . 1566, 0 2280 0060, 0 2628 2000 หรือ www.thaiairways.com หรือสำนักงานหาดใหญ่ โทร . 0 7424 5851-2, 0 7423 3433 - สายการบิน นกแอร์ โทร .1318 หรือ www.nokair.co.th - สายการบินแอร์เอเชีย โทร . 0 2515 9999 หรือ www.airasia.com
  • 23.  
  • 25.