SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  11
Télécharger pour lire hors ligne
รายงาน
       รายวิชา ประวัติศาสตร์ รหัสวิชา ส32103
          เรื่อง ประวัตนายเอื้อ สุนทรสนาน
                       ิ
                      จัดทาโดย
      นางสาวรันดา          กฤตาคม เลขที่ 11
      นางสาววนิดา          ทิพกันยา เลขที่ 12
      นางสาวศิรินนาสน์ ชมศิริ            เลขที่ 13
      นางสาวสุพัตรา        พลเรือง       เลขที่ 16
      นางสาวสุภาพร         ศรีภูชน       เลขที่ 17
               ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1
                       เสนอ
           คุณครูสฤษดิศักดิ์ ชิ้นเขมจารี
                      ์
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ร้อยเอ็ด
คานา

         รายงานเรื่องประวัตินายเอื้อ สุนทรสนาน เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มสาระการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ จัดทาขึ้น
เพื่อเป็นสื่อความรูเพิ่มเติม สื่อประกอบการเรียนการการสอนรายวิชาต่างๆ อีกทั้งยังเป็นคาตอบของปัญหาที่กาลัง
สืบค้นอยู่เนื้อหาประกอบไปด้วยประวัติสาคัญของนายเอื้อ สุนทรสนาน รวมทั้งผลงานที่สาคัญของท่าน
         คณะผู้จักทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานเรื่องประวัตินายเอื้อ สุนทรสนาน
นี้จะเป็นประโยชน์ไม่มากก็น้อยจากรายงานเล่มนี้ และหากมีข้อผิดพลาดประการใดก็ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย



                                                                                         คณะผู้จัดทา
สารบัญ

 เรื่อง                           หน้า

ประวัติ                            1

ชีวิตในวัยเด็ก                     1-2

ชีวิตการทางาน                      2

กรมโฆษณาการ                        3

ครอบครัว                           3

ตาแหน่งการทางาน                    3-4

ปัจฉิมวัย                          4

ผลงาน                              4-5
เพลงปลุกใจและเพลงสดุดี             5-6

บรรณานุกรม
1

                                                นายเอื้อ สุนทรสนาน

        ประวัติ

        นายเอื้อ สุนทรสนาน หรือเรียกกันว่า "ครูเอื้อ" (21 มกราคม พ.ศ. 2453 - 1 เมษายน พ.ศ. 2524) เป็นทั้ง
นักร้อง นักประพันธ์เพลง อาทิ เพลงถวายพระพร เพลงวันลอยกระทง เพลงปลุกใจ เพลงสดุดี เพลงประจาจังหวัด
และเป็นหัวหน้าวงดนตรีสุนทราภรณ์ นอกจากนี้ยังเป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้ง สมาคมดนตรีแห่งประเทศไทยในพระบรม
ราชูปถัมภ์อีกด้วย




      เมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2550 กระทรวงวัฒนธรรม ได้เสนอ เอื้อ สุนทรสนาน ต่อองค์การยูเนสโกในวาระ
   ครบรอบ 100 ปีชาตกาลเพื่อให้เป็นบุคคลดีเด่นของโลก ซึ่งต่อมาในวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2552 ทางองค์การ
              ยูเนสโกก็ได้ยกย่องครูเอื้อเป็นบุคคลสาคัญของโลกสาขาวัฒนธรรมดนตรีไทยสากล

ชีวิตในวัยเด็ก

        เอื้อ สุนทรสนาน เกิดเมื่อวันเสาร์ที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2453 ณ ตาบลโรงหีบ อาเภออัมพวา จังหวัด
สมุทรสงคราม บิดาชื่อ นายดี สุนทรสนาน มารดาชื่อ นางแส สุนทรสนาน มีนามเดิมว่า "ละออ" ต่อมา บิดาให้นาม
ใหม่เป็น "บุญเอื้อ" และได้มาเปลี่ยนอีกครั้งในสมัย จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็น "เอื้อ" ครูเอื้อมีพี่น้องร่วมบิดา
มารดาเดียวกัน 3 คน ได้แก่
2
        หมื่นไพเราะพจมาน (อาบ สุนทรสนาน) ต่อมาได้รับพระราชนามสกุล สุนทรสนาน จาก พระบาทสมเด็จ
        พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
        นางปาน แสงอนันต์
        นายเอื้อ สุนทรสนาน
         ครูเอื้อเริ่มเรียนหนังสือที่โรงเรียนวัดใหม่ราษฎร์บูรณะในจังหวัดสมุทรสงคราม เมื่อเข้าศึกษาได้เพียงปีเศษ
ในปี พ.ศ. 2460 บิดาได้พาตัวเข้ากรุงเทพมหานคร โดยให้อาศัยอยู่กับหมื่นไพเราะพจมาน ผู้เป็นพี่ชาย ซึ่งรับ
ราชการเป็นคนพากย์โขนในกรมมหรสพ และต่อมาจึงถูกส่งเข้าเรียนที่โรงเรียนวัดระฆังโฆสิตารามจนจบชั้น
ประถมศึกษา ซึ่งเป็นระยะเวลาเดียวกับที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตั้งโรงเรียนพรานหลวงขึ้นที่
สวนมิสกวัน เป็นโรงเรียนที่จัดตั้งขึ้นเพื่อสอนดนตรีทุกประเภท เอื้อจึงได้ย้ายมาเรียนต่อที่โรงเรียนนี้ โดยภาคเช้า
เรียนวิชาสามัญ ภาคบ่ายเรียนวิชาดนตรี ทางโรงเรียนสอนทั้ง ดนตรีไทยและดนตรีฝรั่ง ครูเอื้อถนัดดนตรีฝรั่ง จึง
เลือกเรียนดนตรีฝรั่งกับครูผู้ฝึกสอนคือ ครูโฉลก เนตตะสุต โดยมีอาจารย์ใหญ่คือ อาจารย์ พระเจนดุริยางค์

        หลังจากจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในปี พ.ศ. 2465 พระเจนดุริยางค์เห็นว่า ครูเอื้อมีความสามารถพิเศษ
ทางด้านดนตรี จึงให้ครูเอื้อหัด ไวโอลิน และให้หัดเป่าแซ็กโซโฟนอีกอย่างหนึ่งด้วย ทั้งยังให้เปลี่ยนมาเรียนวิชา
ดนตรีเต็มวัน ส่วนการเรียนวิชาสามัญนั้นให้งดเรียนตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เป็นต้นไป

ชีวิตการทางาน

         2 ปีต่อมา ความสามารถของเอื้อก็ประจักษ์ชัดแด่คณาจารย์ทั้งหลาย จึงได้ให้เข้ารับราชการประจา กอง
เครื่องสายฝรั่งหลวงในกรมมหรสพ กระทรวงวัง รับพระราชทานยศเป็น "เด็กชา" เงินเดือน 5 บาท เมื่อปี พ.ศ. 2467
กระทั่งมีความชานาญมากขึ้นจึงได้เลื่อนขึ้นไปเล่นวงใหญ่ใ นปี พ.ศ. 2469 เงินเดือนเพิ่มเป็น 20 บาท และ 2 ปีต่อมา
ก็ได้รับพระราชทานยศ "พันเด็กชาตรี" และ "พันเด็กชาโท" ในปีถัดไป

         ต่อมาในปี พ.ศ. 2475 ได้โอนไปรับราชการสังกัดกรม
ศิลปากร ในสังกัดกองมหรสพ และในปี พ.ศ. 2478 หลวงวิจิตรวาท
การเป็นอธิบดีกรมศิลปากร เอื้อซึ่งพิสูจน์ฝีมือดนตรีจนประจักษ์ชัด
เงินเดือนจึงขึ้นเป็น 40 บาท และ 50 บาทใน 2 ปีต่อมา

         นอกจากนับราชการในกรมศิลปากรแล้ว เอื้อยังมีโอกาสได้
ร่วมงานกับคณะละครร้อง ที่มีชื่อเสียงในยุคนั้น เช่น คณะของแม่
เลื่อน ไวณุนาวิน ได้แต่งเพลง "ยอดตองต้องลม" ขึ้น นับเป็นเพลง
ในชีวิตการประพันธ์เพลง เพลงยอดตองต้องลมนี้ เอื้อ สุนทรสนาน
ให้ทานอง เฉลิม บุณยเกียรติ ให้คาร้อง นอกจากนี้ ในปีเดียวกัน
นั้นเอง เอื้อได้ขับร้องเพลง นาฏนารี คู่กับนางสาววาสนา ละออ และ
ถือว่าเป็นเพลงแรกสุดที่ได้ขับร้องบันทึกเสียงด้วย
3

กรมโฆษณาการ

        ในปี พ.ศ. 2479 พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล หลวงสุขุมนัยประดิษฐ์ นายพจน์ สารสิน
และนายชาญ บุนนาค ร่วมกันจัดตั้งบริษัทสร้างภาพยนตร์ไทยขึ้นชื่อว่า บริษัทไทยฟิล์ม ประเดิมภาพยนตร์เรื่อง
แรกคือ "ถ่านไฟเก่า" เอื้อมีโอกาสเข้าบรรเลงดนตรีประกอบเพลงในภาพยนตร์เรื่องนี้และได้ร้องเพลง "ในฝัน"
แทนเสียงร้องของพระเอกในเรื่อง ได้รับความนิยมอย่างสูง ต่อมาได้เป็นหัวหน้าวงดนตรีฟิล์มด้วย

        จากงานใหญ่ที่สร้างชื่อเสียง เอื้อ สุนทรสนาน จึงมีความคิดตั้งวงดนตรีขึ้นในปีถัดมา เรียกชื่อวงตามจุด
กาเนิดคือ "ไทยฟิล์ม" ตามชื่อบริษัทหนัง และนี่คือการเริ่มแรกของวงดนตรีครูเอื้อ แต่หลังจากตั้งวงดนตรีได้ปีเศษ
กิจการบริษัทไทยฟิล์มที่สร้างภาพยนตร์มีอันต้องเลิกกิจการไป วงดนตรีไทยฟิล์มก็พลอยสลายตัวไปด้วย

         จากนั้นอีก 1 ปี ทางราชการได้ปรับปรุงสานักงานโฆษณาการ เชิงสะพานเสี้ยว และยกฐานะขึ้นเป็นกรม
โฆษณาการ โดยมีนายวิลาศ โอสถานนท์ เป็นอธิบดี นายวิลาศได้พิจารณาเห็นว่า เมื่อมีสถานีวิทยุของรัฐบาลแล้ว ก็
ควรจะมีวงดนตรีประจาอยู่ จึงได้ นาความคิดไปปรึกษาหลวงสุขุมนัยประดิษฐ์ ซึ่งคุณหลวงตระหนักถึงฝีไม้ลายมือ
ของเอื้อและคณะอยู่แล้ว จึงได้แนะนานายวิลาศว่า ควรจะยกวงของเอื้อมาอยู่ กรมโฆษณาการ โดยการโอนอัตรามา
จากกรมศิลปากร

        และนี่คือที่มาของวงดนตรีกรมโฆษณาการ ซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น วงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ มี เอื้อ
สุนทรสนาน เป็นหัวหน้าวง เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2482ในสมัยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันท
มหิดล รัชกาลที่8

ครอบครัว

          เอื้อ สุนทรสนาน ได้สมรสกับ อาภรณ์ กรรณสูต ธิดาพระยาสุนทรบุรี และคุณหญิ งสอิ้ง กรรณสูต เมื่อ
วันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 มีบุตรด้วยกัน 1 คน คือ นางอติพร เสนะวงศ์ สมรสกับ พล.ต.ท. สันติ เสนะวงศ์
นอกจากนี้ยังมีบุตรกับนางสาวนิตยา อรุณวงศ์ (โฉมฉาย อรุณฉาย) อีกท่านคือ "นายสุรินทร สุนทรสนาน" ปัจจุบัน
รับราชการตาแหน่งนักวิชาการพาณิชย์ชานาญการพิเศษ (ระดับ 8 เดิม) กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวง
พาณิชย์ รัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทย

ตาแหน่งการทางาน

          เอื้อ สุนทรสนาน ได้นาวงดนตรีไปแสดงที่ โรงภาพยนตร์โอเดียน เมื่อปี พ.ศ. 2482 โดยทางโรงแรม
รัตนโกสินทร์เป็นผู้จัด คุณสุรัฐ พุกกะเวส ซึ่งเป็นเลขานุการของโรงแรมเห็นว่าเป็นการไม่เหมาะสมที่จะนาวง
ดนตรีของราชการไปบรรเลงในโรงภาพยนตร์เอกชน จึงหารือกับเอื้อว่าควรจะใช้ชื่อวงดนตรีเป็นอย่างอื่น ในตอน
นั้นเอื้อตกหลุมรักอาภรณ์ จึงได้จังหวะนานามสกุลของตนเองไปรวมกับชื่อของคนรัก ซึ่งรวมกันแล้วก็ได้ชื่อวงว่า
สุนทราภรณ์
4

          เอื้อรับราชการในกรมโฆษณาการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2482 จนต่อมาในปี พ.ศ. 2495 กรมโฆษณาการได้เปลี่ยน
ชื่อเป็น กรมประชาสัมพันธ์ โดยดาเนินตาแหน่งเป็นหัวหน้าแผนกบันเทิงต่างประเทศแต่เพียงตาแหน่งเดียว
จนกระทั่งเกษียณในปี พ.ศ. 2514 และทางกรมประชาสัมพันธ์ได้จ้างพิเศษให้ดาเนินตาแหน่งผู้เชี่ยวชาญการดนตรี
ต่ออีก 2 ปี จนออกจากงานอย่างถาวรในปี พ.ศ. 2516 และในปีนี้ เอื้อเป็นหนึ่งในผู้ที่ได้รับพระบรมราชโองการ
โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นสมาชิกคนหนึ่งในสมัชชาแห่งชาติ เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2516

           ถึงแม้เอื้อจะไม่ได้รับความก้าวหน้าในวงการราชการเท่าที่ควร แต่เอื้อมีสิ่งสูงสุดที่บารุงจิตใจอยู่ตลอดมา
คือ พระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ กล่าวคือ
วันที่เอื้อปลาบปลื้มที่สุดวันหนึ่งในชีวิตนักดนตรีก็คือ วันที่ได้รับพระราชทานเหรียญรูปเสมาทองคาที่มีพระ
ปรมาภิไธยย่อ ภ.ป.ร. จากพระหัตถ์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อวันครบรอบ 30 ปี วงดนตรีสุนทราภรณ์
ในวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2512

ปัจฉิมวัย

         ตลอดระยะเวลา 42 ปีของการทางาน เอื้อไม่เคยพักผ่อนเลย ปกติเป็นผู้ที่มีสุขภาพแข็งแรง ทางานหนัก
และอดนอนเก่ง จนกระทั่งถึงปลายปี พ.ศ. 2521 ก็เริ่มมีอาการไข้สูงเป็นระยะ ๆ แพทย์ได้เอกซเรย์ตรวจพบ
ก้อนเนื้อร้ายขนาดเท่าลูกเทนนิสที่บริเวณปอดด้านขวา จึงได้เริ่มการรักษา แต่ก็ยังคงทางานตามปกติ จนถึงปลายปี
พ.ศ. 2522 มีอาการทรุดหนัก จึงเข้าไปรักษาที่โรงพยาบาล แล้วก็กลับไปรักษาที่บ้านต่อ

         ในช่วงปี พ.ศ. 2523 เอื้อได้เดินทางพร้อมกับนายกรัฐมนตรี และคณะกรรมการสมาคมดนตรีแห่งประเทศ
ไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ไปเข้าเฝ้า ณ พระตาหนักภูพานราชนิเวศน์ จังหวัดสกลนคร และได้ขับร้องเพลงถวาย
เป็นครั้งสุดท้าย เพลงที่ร้องถวายคือ เพลงพรานทะเล

        ตั้งแต่เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2523 เป็นต้นมา อาการของเอื้อก็ได้ทรุดลงเป็นลาดับ จนเมื่อถึงวันที่ 1 เมษายน
พ.ศ. 2524 เอื้อ สุนทรสนาน ก็ได้เสียชีวิตลง รวมอายุได้ 71 ปี 2 เดือน 11 วัน

          เอื้อ สุนทรสนาน เป็นผู้หนึ่งที่ได้รับพระราชทานโล่เกียรติยศในฐานะศิลปินตัวอย่างผู้ประพันธ์เพลง
ประจาปี พ.ศ. 2523 - 2524 แผ่นเสียงทองคาพระราชทาน ครั้งที่ 4 โดยมี นางอติพร เสนะวงศ์ (สุนทรสนาน) บุตรี
เป็นผู้รับแทน

        ผลงาน
        ผลงานการประพันธ์คาร้องของ ครูแก้ว อัจฉริยะกุล กับ ครูเอื้อ สุนทรสนาน มีมากกว่าครูเพลงทุกคนทั้ง
เพลงใน แนวสุนทราภรณ์ และ เพลงไทยลูกกรุง เฉพาะอย่างยิ่ง ผลงานในยุคต้นๆ สมัยสงครามโลกครั้งที่ ๒ จนมี
คาชื่นชมและกล่าวขานกันต่อๆมาว่า “ทานอง เอื้อ เนื้อ แก้ว” ( โดย สุวัฒน์ วรดิลก / รพีพร )
         ในปริญญานิพนธ์ เรื่อง วรรณกรรมจากบทเพลง สุนทราภรณ์ ของ พงษ์ชัย ไทยวรรณศรี ( พ.ศ. ๒๕๒๙ )
ได้แบ่งบทเพลงของ สุนทราภรณ์ ออกเป็น ๑๐ ประเภทด้วยกัน คือ เพลงลุกใจและสดุดี / เพลงสถาบันการศึกษา /
5
         เพลงจังหวัดและหน่วยงาน / เพลงสาหรับเยาวชน / เพลงจากวรรณกรรม / เพลงเกี่ยวกับประเพณี เทศกาล
และการละเล่นประจาถิ่น / เพลงที่เป็นภาษิต เพลงสอนใจและเพลงคติธรรม / เพลงชมธรรมชาติและชมความงาม
ต่างๆ / เพลงสะท้อนสังคม และ เพลงที่เป็นบทละคร หรือ เรื่องราวสั้นๆ

       บทเพลงดังกล่าวทั้ง ๑๐ ประเภทข้างต้น จะเป็นผลงานอันอัจฉริยะของ ครูแก้ว อัจฉริยะกุล และ ครูเอื้อ สุนทร
สนาน เสียเป็นส่วนใหญ่ เพราะทั้งสองท่านได้เริ่มแต่งร่วมกันตั้ งแต่ช่วงต้นๆ ในราวปี พ.ศ. ๒๔๘๓ เรื่อยมา จนเมื่อ
ครูแก้ว อัจฉริยะกุล ลาออกจาก วงดนตรีสุนทราภรณ์ ไปเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๗ จึงมีผลงานของครูเพลงท่านอื่นๆ เช่น
ครูสุรัฐ พุกกะเวส ครูศรีสวัสดิ์ พิจิตรวรการ ครูธาตรี ครูสมศักดิ์ เทพานนท์ ครูพรพิรุณ ฯลฯ มาแทน
           ขอนาเสนอ ความอัจฉริยะ ในการสร้างสรรค์ผลงาน เพลงอมตะ อันแสนไพเราะ ที่เป็น เพลงในแนวของ
เพลงสุนทราภรณ์ ที่ ครูแก้ว อัจฉริยะกุล แต่งคาร้องร่วมกันกับ ครูเอื้อ สุนทรสนาน ผู้แต่งทานอง ตามประเภทของ
เพลงที่แบ่งเอาไว้ข้างต้น เพื่อเป็นการยกย่องเชิดชูและสืบสาน ความอัจฉริยะ ของ ครูแก้ว อัจฉริยะกุล ไว้สืบไป
      เพลงปลุกใจและเพลงสดุดี
       เพลงประเภทนี้ เป็นเพลงที่หน่วยราชการ หรือผู้บริหารประเทศ จะเป็นผู้กาหนดเป็นนโยบายให้ ครูแก้ว
      อัจฉริยะกุล และ ครูเอื้อ สุนทรสนาน ซึ่งควบคุมดูแล วงดนตรีกรมโฆษณาการ หรือ กรมประชาสัมพันธ์ แต่ง
ขึ้น เพื่อใช้ส่งกระจายเสียงทางสถานีวิทยุ เพื่อเผยแพร่ แนวความคิด ค่านิยม หรือ เชิญชวนให้ผู้ฟัง เชื่อถือ ปฏิบัติ
ตาม จะเรียกว่าเป็น การล้างสมอง โฆษณาชวนเชื่อ หรือ Propaganda ก็ได้ โดยเฉพาะ เพลงปลุกใจ ที่เกิดขึ้น ในช่วง
วิกฤติการณ์ของบ้านเมืองแต่ละยุคแต่ละสมัย

        เพลงบ้านเกิดเมืองนอน
    คาร้อง แก้ว อัจฉริยะกุล/ทานอง เอื้อ สุนทรสนาน
    บ้านเมือง เรารุ่งเรืองพร้อมอยู่ หมู่เหล่า
             พวกเรา ล้วนพงศ์เผ่า ศิวิลัย
             เพราะฉะนั้น ชวนกันยินดี เปรมปรีดิ์ดีใจ
             เรียกตนว่าไทย แดนดินผืนใหญ่ มิใช่ทาสเขา

            ก่อนนี้ มีเขตแดน นับว่ากว้างใหญ่
            ได้ไว้ พลีเลือดเนื้อ แลกเอา
            รบ รบ รบ ไม่หวั่นใคร
            มอบความเป็นไทย ให้พวกเรา
            แต่ครั้ง นานกาล เก่า
            ชาติเรา เขาเรียก ชาติไทย
            บ้านเมือง ควรประเทือง ไว้ดังแต่ก่อน
            แน่นอน เนื้อและเลือด พลีไป
            เพราะฉะนั้น เราควรยินดี มีความภูมิใจ
            แดนดินถิ่นไทย รวบรวมไว้ได้ แสนจะยากเข็ญ
6
            ยากแค้น เคยกู้แดนไว้อย่าง บากบั่น
            ก่อนนั้น เคยแตกฉาน ซ่านเซ็น
            แม้กระนั้น ยังร่วมใจ ช่วยกันรวมไทย ให้ร่มเย็น
            บัดนี้ไทยดีเด่น ร่มเย็นสมสุข เรื่อยมา

            อยู่กิน บนแผ่นดินท้องถิ่น กว้างใหญ่
            ชาติไทย นั้นเคยใหญ่ ในบูรพา
            ทุกๆเช้า เราดูธงไทย ใจจงปรีดา
            ว่าไทยอยู่มา ด้วยความผาสุก ถาวรสดใส

            บัดนี้ไทยเจริญวิสุทธิ์ ผุดผ่อง
            พี่น้อง จงแซ่ซ้อง ชาติไทย
            รักษาไว้ให้มั่นคง เทิดธงไตรรงค์ ให้เด่นไกล
            ชาติเชื้อ เรายิ่งใหญ่ ชาติไทย บ้านเกิดเมืองนอน

     เป็น เพลงปลุกใจ ที่เป็นผลงานอมตะ ทานอง - ครูเอื้อ สุนทรสนาน เนื้อ – ครูแก้ว อัจฉริยะกุล ที่ฮิต ติดหูคน
ฟังมากที่สุด เป็นเพลงที่ เล่าเรื่อง ความเป็นมา และ ประวัติ ของ ชาติไทย อย่างครบถ้วน มี ท่วงทานองที่ปลุกใจให้
เกิด ความรัก ความฮึกเหิม มี เนื้อหาสาระ และมี ความไพเราะ ที่ลงตัว

      เพลงบ้านเกิดเมืองนอน เป็นเพลงที่ได้รับรางวัลในการประกวด เพลงปลุกใจ เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๘๘ ในรุ่นแรก
นั้น ขับร้องนักร้องรุ่นใหญ่ ได้แก่ มัณฑนา โมรากุล / สุปาณี พุกสมบุญ / ชวลีย์ ช่วงวิทย์ และ เพ็ญศรี พุ่มชูศรี
ต่อมาได้มีการบันทึกเพิ่มเติมอีกหลายชุด เช่น ชวลีย์ ช่วงวิทย์ / ศรีสุดา รัชตะวรรณ / วรนุช อารีย์ และ มาริษา
อมาตยกุล
บรรณานุกรม

       วิกีพีเดียสารานุกรมเสรี//"บทความ,"/เอื้อ สุนทรสนาน // 5 มิถุนายน 2554 .//http://th.wikipedia.
org/wiki/%E0%B9%80% E0%B8% AD% E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD_
%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%99%E0% B8%97%E0%B8%A3% E0%B8%AA%E0%B8%99%E0
%B8%B2%E0%B8%99//12 กรกฎาคม 2554.

Saisainpan.net//"บทความ,"/ครูเอื้อ สุนทรสนาน // 23 มีนาคม 2550. http://saisampan.net/index. php?topic
=12749.000// 12 กรกฎาคม 2554.

Contenu connexe

Tendances

Microsoft word โครงการปี 56 มยุรี
Microsoft word   โครงการปี 56 มยุรีMicrosoft word   โครงการปี 56 มยุรี
Microsoft word โครงการปี 56 มยุรีMayuree Kung
 
สรุปกิจกรรม เรื่องเล่าชาวสภา2558 โครงการประชุมสัมมนาสภานักเรียน
สรุปกิจกรรม เรื่องเล่าชาวสภา2558 โครงการประชุมสัมมนาสภานักเรียนสรุปกิจกรรม เรื่องเล่าชาวสภา2558 โครงการประชุมสัมมนาสภานักเรียน
สรุปกิจกรรม เรื่องเล่าชาวสภา2558 โครงการประชุมสัมมนาสภานักเรียนDuangnapa Inyayot
 
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้Bert Nangngam
 
การบำรุงรักษาแบบมีส่วนร่วม : TPM
การบำรุงรักษาแบบมีส่วนร่วม : TPMการบำรุงรักษาแบบมีส่วนร่วม : TPM
การบำรุงรักษาแบบมีส่วนร่วม : TPMWasinee MooMaizza
 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ดนตรี
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ดนตรีผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ดนตรี
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ดนตรีbawtho
 
วัสดุและเครื่องมือช่างพื้นฐาน.pdf
วัสดุและเครื่องมือช่างพื้นฐาน.pdfวัสดุและเครื่องมือช่างพื้นฐาน.pdf
วัสดุและเครื่องมือช่างพื้นฐาน.pdfMiichan Ch
 
58 เทคโนโลยีตามวิถีที่พอเพียง
58 เทคโนโลยีตามวิถีที่พอเพียง58 เทคโนโลยีตามวิถีที่พอเพียง
58 เทคโนโลยีตามวิถีที่พอเพียงSaipanyarangsit School
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์Rattana Sujimongkol
 
แผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงานแผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงานWuttipong Tubkrathok
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10parkpoom11z
 
การขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชการขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชHataitip Suwanachote
 
รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์
รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์ รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์
รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์ phatthra jampathong
 
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 02. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0Preeyaporn Chamnan
 
9789740335719
97897403357199789740335719
9789740335719CUPress
 
แรงดันในของเหลว
แรงดันในของเหลวแรงดันในของเหลว
แรงดันในของเหลวtewin2553
 
ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)พัน พัน
 
ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)พัน พัน
 
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษานำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษาOommie Banthita
 

Tendances (20)

Microsoft word โครงการปี 56 มยุรี
Microsoft word   โครงการปี 56 มยุรีMicrosoft word   โครงการปี 56 มยุรี
Microsoft word โครงการปี 56 มยุรี
 
สรุปกิจกรรม เรื่องเล่าชาวสภา2558 โครงการประชุมสัมมนาสภานักเรียน
สรุปกิจกรรม เรื่องเล่าชาวสภา2558 โครงการประชุมสัมมนาสภานักเรียนสรุปกิจกรรม เรื่องเล่าชาวสภา2558 โครงการประชุมสัมมนาสภานักเรียน
สรุปกิจกรรม เรื่องเล่าชาวสภา2558 โครงการประชุมสัมมนาสภานักเรียน
 
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
การบำรุงรักษาแบบมีส่วนร่วม : TPM
การบำรุงรักษาแบบมีส่วนร่วม : TPMการบำรุงรักษาแบบมีส่วนร่วม : TPM
การบำรุงรักษาแบบมีส่วนร่วม : TPM
 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ดนตรี
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ดนตรีผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ดนตรี
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ดนตรี
 
วัสดุและเครื่องมือช่างพื้นฐาน.pdf
วัสดุและเครื่องมือช่างพื้นฐาน.pdfวัสดุและเครื่องมือช่างพื้นฐาน.pdf
วัสดุและเครื่องมือช่างพื้นฐาน.pdf
 
58 เทคโนโลยีตามวิถีที่พอเพียง
58 เทคโนโลยีตามวิถีที่พอเพียง58 เทคโนโลยีตามวิถีที่พอเพียง
58 เทคโนโลยีตามวิถีที่พอเพียง
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 
แผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงานแผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
การขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชการขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืช
 
รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์
รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์ รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์
รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์
 
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 02. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
 
9789740335719
97897403357199789740335719
9789740335719
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
 
แรงดันในของเหลว
แรงดันในของเหลวแรงดันในของเหลว
แรงดันในของเหลว
 
ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)
 
ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)
 
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษานำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
 
ลีลาศ
ลีลาศลีลาศ
ลีลาศ
 

En vedette

หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์
พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์
พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
Projet carrières
Projet carrièresProjet carrières
Projet carrières21samuel
 
CONTRIBUTION DE LA GEOPHYSIQUE A LA CARACTERISATION DES FORMATIONS SUPERFICIE...
CONTRIBUTION DE LA GEOPHYSIQUE A LA CARACTERISATION DES FORMATIONS SUPERFICIE...CONTRIBUTION DE LA GEOPHYSIQUE A LA CARACTERISATION DES FORMATIONS SUPERFICIE...
CONTRIBUTION DE LA GEOPHYSIQUE A LA CARACTERISATION DES FORMATIONS SUPERFICIE...Nicodeme Feuwo
 

En vedette (20)

แนะนำประเทศฝรั่งเศส1
แนะนำประเทศฝรั่งเศส1แนะนำประเทศฝรั่งเศส1
แนะนำประเทศฝรั่งเศส1
 
จังหวัดมหาสารคาม
จังหวัดมหาสารคามจังหวัดมหาสารคาม
จังหวัดมหาสารคาม
 
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
 
งานกานา
งานกานางานกานา
งานกานา
 
จังหวัดน่าน
จังหวัดน่านจังหวัดน่าน
จังหวัดน่าน
 
เรื่องจังหวัดพิจิตร
เรื่องจังหวัดพิจิตรเรื่องจังหวัดพิจิตร
เรื่องจังหวัดพิจิตร
 
งาน ปุ๋ย
งาน ปุ๋ยงาน ปุ๋ย
งาน ปุ๋ย
 
แฟ้มสะสมผลงาน
แฟ้มสะสมผลงานแฟ้มสะสมผลงาน
แฟ้มสะสมผลงาน
 
ซูดาน (Sudan)
ซูดาน (Sudan)ซูดาน (Sudan)
ซูดาน (Sudan)
 
ประเทศฟินแลนต์
ประเทศฟินแลนต์ประเทศฟินแลนต์
ประเทศฟินแลนต์
 
พระราชประวัติ
พระราชประวัติพระราชประวัติ
พระราชประวัติ
 
พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์
พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์
พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์
 
เยอรมันนี
เยอรมันนีเยอรมันนี
เยอรมันนี
 
จังหวัดมหาสารคาม
จังหวัดมหาสารคามจังหวัดมหาสารคาม
จังหวัดมหาสารคาม
 
งานพี่มอส
งานพี่มอสงานพี่มอส
งานพี่มอส
 
อาชีพของนักธุรกิจ
อาชีพของนักธุรกิจอาชีพของนักธุรกิจ
อาชีพของนักธุรกิจ
 
Projet carrières
Projet carrièresProjet carrières
Projet carrières
 
ประชาสัมพันธ์111
ประชาสัมพันธ์111ประชาสัมพันธ์111
ประชาสัมพันธ์111
 
เชียงราย
เชียงรายเชียงราย
เชียงราย
 
CONTRIBUTION DE LA GEOPHYSIQUE A LA CARACTERISATION DES FORMATIONS SUPERFICIE...
CONTRIBUTION DE LA GEOPHYSIQUE A LA CARACTERISATION DES FORMATIONS SUPERFICIE...CONTRIBUTION DE LA GEOPHYSIQUE A LA CARACTERISATION DES FORMATIONS SUPERFICIE...
CONTRIBUTION DE LA GEOPHYSIQUE A LA CARACTERISATION DES FORMATIONS SUPERFICIE...
 

Similaire à นายเอื้อ สุนทรสนาน

เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4Panomporn Chinchana
 
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลอำนาจ ศรีทิม
 
นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง Patzuri Orz
 
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากลการประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากลThanakrit Muangjun
 
สังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docxสังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docxpinglada1
 
ประวัติของบุคคลสำคัญ ( สื่อประกอบการสอน ) ครูโฟล์ค.pdf
ประวัติของบุคคลสำคัญ ( สื่อประกอบการสอน ) ครูโฟล์ค.pdfประวัติของบุคคลสำคัญ ( สื่อประกอบการสอน ) ครูโฟล์ค.pdf
ประวัติของบุคคลสำคัญ ( สื่อประกอบการสอน ) ครูโฟล์ค.pdfPhichayaP
 
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.Tor Jt
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิตพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิตTongsamut vorasan
 
รุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขรุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขKwandjit Boonmak
 
ความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรีความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรีleemeanxun
 
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากลการประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากลThanakrit Muangjun
 

Similaire à นายเอื้อ สุนทรสนาน (20)

เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
 
พระเจนดุริยางค์
พระเจนดุริยางค์พระเจนดุริยางค์
พระเจนดุริยางค์
 
ทิพาพร บุญพา 5/4
ทิพาพร บุญพา 5/4ทิพาพร บุญพา 5/4
ทิพาพร บุญพา 5/4
 
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
 
กุหลาบ สายประดิษฐ์
กุหลาบ สายประดิษฐ์กุหลาบ สายประดิษฐ์
กุหลาบ สายประดิษฐ์
 
นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง
 
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากลการประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
 
สังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docxสังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docx
 
หลวงประดิษฐไพเราะ
หลวงประดิษฐไพเราะหลวงประดิษฐไพเราะ
หลวงประดิษฐไพเราะ
 
กุหลาบ สายประดิษฐ์
กุหลาบ สายประดิษฐ์กุหลาบ สายประดิษฐ์
กุหลาบ สายประดิษฐ์
 
ประวัติของบุคคลสำคัญ ( สื่อประกอบการสอน ) ครูโฟล์ค.pdf
ประวัติของบุคคลสำคัญ ( สื่อประกอบการสอน ) ครูโฟล์ค.pdfประวัติของบุคคลสำคัญ ( สื่อประกอบการสอน ) ครูโฟล์ค.pdf
ประวัติของบุคคลสำคัญ ( สื่อประกอบการสอน ) ครูโฟล์ค.pdf
 
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
 
ยุคสมัยของดนตรีไทย
ยุคสมัยของดนตรีไทยยุคสมัยของดนตรีไทย
ยุคสมัยของดนตรีไทย
 
Ppt เตย สังคม
Ppt เตย สังคมPpt เตย สังคม
Ppt เตย สังคม
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิตพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิต
 
หลวงประดิษฐ์ไพเราะ
หลวงประดิษฐ์ไพเราะหลวงประดิษฐ์ไพเราะ
หลวงประดิษฐ์ไพเราะ
 
ดนตรีไทยสมัยรัตน
ดนตรีไทยสมัยรัตนดนตรีไทยสมัยรัตน
ดนตรีไทยสมัยรัตน
 
รุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขรุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุข
 
ความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรีความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรี
 
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากลการประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
 

Plus de SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

Plus de SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

นายเอื้อ สุนทรสนาน

  • 1.
  • 2. รายงาน รายวิชา ประวัติศาสตร์ รหัสวิชา ส32103 เรื่อง ประวัตนายเอื้อ สุนทรสนาน ิ จัดทาโดย นางสาวรันดา กฤตาคม เลขที่ 11 นางสาววนิดา ทิพกันยา เลขที่ 12 นางสาวศิรินนาสน์ ชมศิริ เลขที่ 13 นางสาวสุพัตรา พลเรือง เลขที่ 16 นางสาวสุภาพร ศรีภูชน เลขที่ 17 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 เสนอ คุณครูสฤษดิศักดิ์ ชิ้นเขมจารี ์ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ร้อยเอ็ด
  • 3. คานา รายงานเรื่องประวัตินายเอื้อ สุนทรสนาน เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มสาระการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ จัดทาขึ้น เพื่อเป็นสื่อความรูเพิ่มเติม สื่อประกอบการเรียนการการสอนรายวิชาต่างๆ อีกทั้งยังเป็นคาตอบของปัญหาที่กาลัง สืบค้นอยู่เนื้อหาประกอบไปด้วยประวัติสาคัญของนายเอื้อ สุนทรสนาน รวมทั้งผลงานที่สาคัญของท่าน คณะผู้จักทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานเรื่องประวัตินายเอื้อ สุนทรสนาน นี้จะเป็นประโยชน์ไม่มากก็น้อยจากรายงานเล่มนี้ และหากมีข้อผิดพลาดประการใดก็ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย คณะผู้จัดทา
  • 4. สารบัญ เรื่อง หน้า ประวัติ 1 ชีวิตในวัยเด็ก 1-2 ชีวิตการทางาน 2 กรมโฆษณาการ 3 ครอบครัว 3 ตาแหน่งการทางาน 3-4 ปัจฉิมวัย 4 ผลงาน 4-5 เพลงปลุกใจและเพลงสดุดี 5-6 บรรณานุกรม
  • 5. 1 นายเอื้อ สุนทรสนาน ประวัติ นายเอื้อ สุนทรสนาน หรือเรียกกันว่า "ครูเอื้อ" (21 มกราคม พ.ศ. 2453 - 1 เมษายน พ.ศ. 2524) เป็นทั้ง นักร้อง นักประพันธ์เพลง อาทิ เพลงถวายพระพร เพลงวันลอยกระทง เพลงปลุกใจ เพลงสดุดี เพลงประจาจังหวัด และเป็นหัวหน้าวงดนตรีสุนทราภรณ์ นอกจากนี้ยังเป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้ง สมาคมดนตรีแห่งประเทศไทยในพระบรม ราชูปถัมภ์อีกด้วย เมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2550 กระทรวงวัฒนธรรม ได้เสนอ เอื้อ สุนทรสนาน ต่อองค์การยูเนสโกในวาระ ครบรอบ 100 ปีชาตกาลเพื่อให้เป็นบุคคลดีเด่นของโลก ซึ่งต่อมาในวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2552 ทางองค์การ ยูเนสโกก็ได้ยกย่องครูเอื้อเป็นบุคคลสาคัญของโลกสาขาวัฒนธรรมดนตรีไทยสากล ชีวิตในวัยเด็ก เอื้อ สุนทรสนาน เกิดเมื่อวันเสาร์ที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2453 ณ ตาบลโรงหีบ อาเภออัมพวา จังหวัด สมุทรสงคราม บิดาชื่อ นายดี สุนทรสนาน มารดาชื่อ นางแส สุนทรสนาน มีนามเดิมว่า "ละออ" ต่อมา บิดาให้นาม ใหม่เป็น "บุญเอื้อ" และได้มาเปลี่ยนอีกครั้งในสมัย จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็น "เอื้อ" ครูเอื้อมีพี่น้องร่วมบิดา มารดาเดียวกัน 3 คน ได้แก่
  • 6. 2 หมื่นไพเราะพจมาน (อาบ สุนทรสนาน) ต่อมาได้รับพระราชนามสกุล สุนทรสนาน จาก พระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว นางปาน แสงอนันต์ นายเอื้อ สุนทรสนาน ครูเอื้อเริ่มเรียนหนังสือที่โรงเรียนวัดใหม่ราษฎร์บูรณะในจังหวัดสมุทรสงคราม เมื่อเข้าศึกษาได้เพียงปีเศษ ในปี พ.ศ. 2460 บิดาได้พาตัวเข้ากรุงเทพมหานคร โดยให้อาศัยอยู่กับหมื่นไพเราะพจมาน ผู้เป็นพี่ชาย ซึ่งรับ ราชการเป็นคนพากย์โขนในกรมมหรสพ และต่อมาจึงถูกส่งเข้าเรียนที่โรงเรียนวัดระฆังโฆสิตารามจนจบชั้น ประถมศึกษา ซึ่งเป็นระยะเวลาเดียวกับที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตั้งโรงเรียนพรานหลวงขึ้นที่ สวนมิสกวัน เป็นโรงเรียนที่จัดตั้งขึ้นเพื่อสอนดนตรีทุกประเภท เอื้อจึงได้ย้ายมาเรียนต่อที่โรงเรียนนี้ โดยภาคเช้า เรียนวิชาสามัญ ภาคบ่ายเรียนวิชาดนตรี ทางโรงเรียนสอนทั้ง ดนตรีไทยและดนตรีฝรั่ง ครูเอื้อถนัดดนตรีฝรั่ง จึง เลือกเรียนดนตรีฝรั่งกับครูผู้ฝึกสอนคือ ครูโฉลก เนตตะสุต โดยมีอาจารย์ใหญ่คือ อาจารย์ พระเจนดุริยางค์ หลังจากจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในปี พ.ศ. 2465 พระเจนดุริยางค์เห็นว่า ครูเอื้อมีความสามารถพิเศษ ทางด้านดนตรี จึงให้ครูเอื้อหัด ไวโอลิน และให้หัดเป่าแซ็กโซโฟนอีกอย่างหนึ่งด้วย ทั้งยังให้เปลี่ยนมาเรียนวิชา ดนตรีเต็มวัน ส่วนการเรียนวิชาสามัญนั้นให้งดเรียนตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เป็นต้นไป ชีวิตการทางาน 2 ปีต่อมา ความสามารถของเอื้อก็ประจักษ์ชัดแด่คณาจารย์ทั้งหลาย จึงได้ให้เข้ารับราชการประจา กอง เครื่องสายฝรั่งหลวงในกรมมหรสพ กระทรวงวัง รับพระราชทานยศเป็น "เด็กชา" เงินเดือน 5 บาท เมื่อปี พ.ศ. 2467 กระทั่งมีความชานาญมากขึ้นจึงได้เลื่อนขึ้นไปเล่นวงใหญ่ใ นปี พ.ศ. 2469 เงินเดือนเพิ่มเป็น 20 บาท และ 2 ปีต่อมา ก็ได้รับพระราชทานยศ "พันเด็กชาตรี" และ "พันเด็กชาโท" ในปีถัดไป ต่อมาในปี พ.ศ. 2475 ได้โอนไปรับราชการสังกัดกรม ศิลปากร ในสังกัดกองมหรสพ และในปี พ.ศ. 2478 หลวงวิจิตรวาท การเป็นอธิบดีกรมศิลปากร เอื้อซึ่งพิสูจน์ฝีมือดนตรีจนประจักษ์ชัด เงินเดือนจึงขึ้นเป็น 40 บาท และ 50 บาทใน 2 ปีต่อมา นอกจากนับราชการในกรมศิลปากรแล้ว เอื้อยังมีโอกาสได้ ร่วมงานกับคณะละครร้อง ที่มีชื่อเสียงในยุคนั้น เช่น คณะของแม่ เลื่อน ไวณุนาวิน ได้แต่งเพลง "ยอดตองต้องลม" ขึ้น นับเป็นเพลง ในชีวิตการประพันธ์เพลง เพลงยอดตองต้องลมนี้ เอื้อ สุนทรสนาน ให้ทานอง เฉลิม บุณยเกียรติ ให้คาร้อง นอกจากนี้ ในปีเดียวกัน นั้นเอง เอื้อได้ขับร้องเพลง นาฏนารี คู่กับนางสาววาสนา ละออ และ ถือว่าเป็นเพลงแรกสุดที่ได้ขับร้องบันทึกเสียงด้วย
  • 7. 3 กรมโฆษณาการ ในปี พ.ศ. 2479 พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล หลวงสุขุมนัยประดิษฐ์ นายพจน์ สารสิน และนายชาญ บุนนาค ร่วมกันจัดตั้งบริษัทสร้างภาพยนตร์ไทยขึ้นชื่อว่า บริษัทไทยฟิล์ม ประเดิมภาพยนตร์เรื่อง แรกคือ "ถ่านไฟเก่า" เอื้อมีโอกาสเข้าบรรเลงดนตรีประกอบเพลงในภาพยนตร์เรื่องนี้และได้ร้องเพลง "ในฝัน" แทนเสียงร้องของพระเอกในเรื่อง ได้รับความนิยมอย่างสูง ต่อมาได้เป็นหัวหน้าวงดนตรีฟิล์มด้วย จากงานใหญ่ที่สร้างชื่อเสียง เอื้อ สุนทรสนาน จึงมีความคิดตั้งวงดนตรีขึ้นในปีถัดมา เรียกชื่อวงตามจุด กาเนิดคือ "ไทยฟิล์ม" ตามชื่อบริษัทหนัง และนี่คือการเริ่มแรกของวงดนตรีครูเอื้อ แต่หลังจากตั้งวงดนตรีได้ปีเศษ กิจการบริษัทไทยฟิล์มที่สร้างภาพยนตร์มีอันต้องเลิกกิจการไป วงดนตรีไทยฟิล์มก็พลอยสลายตัวไปด้วย จากนั้นอีก 1 ปี ทางราชการได้ปรับปรุงสานักงานโฆษณาการ เชิงสะพานเสี้ยว และยกฐานะขึ้นเป็นกรม โฆษณาการ โดยมีนายวิลาศ โอสถานนท์ เป็นอธิบดี นายวิลาศได้พิจารณาเห็นว่า เมื่อมีสถานีวิทยุของรัฐบาลแล้ว ก็ ควรจะมีวงดนตรีประจาอยู่ จึงได้ นาความคิดไปปรึกษาหลวงสุขุมนัยประดิษฐ์ ซึ่งคุณหลวงตระหนักถึงฝีไม้ลายมือ ของเอื้อและคณะอยู่แล้ว จึงได้แนะนานายวิลาศว่า ควรจะยกวงของเอื้อมาอยู่ กรมโฆษณาการ โดยการโอนอัตรามา จากกรมศิลปากร และนี่คือที่มาของวงดนตรีกรมโฆษณาการ ซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น วงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ มี เอื้อ สุนทรสนาน เป็นหัวหน้าวง เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2482ในสมัยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันท มหิดล รัชกาลที่8 ครอบครัว เอื้อ สุนทรสนาน ได้สมรสกับ อาภรณ์ กรรณสูต ธิดาพระยาสุนทรบุรี และคุณหญิ งสอิ้ง กรรณสูต เมื่อ วันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 มีบุตรด้วยกัน 1 คน คือ นางอติพร เสนะวงศ์ สมรสกับ พล.ต.ท. สันติ เสนะวงศ์ นอกจากนี้ยังมีบุตรกับนางสาวนิตยา อรุณวงศ์ (โฉมฉาย อรุณฉาย) อีกท่านคือ "นายสุรินทร สุนทรสนาน" ปัจจุบัน รับราชการตาแหน่งนักวิชาการพาณิชย์ชานาญการพิเศษ (ระดับ 8 เดิม) กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวง พาณิชย์ รัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทย ตาแหน่งการทางาน เอื้อ สุนทรสนาน ได้นาวงดนตรีไปแสดงที่ โรงภาพยนตร์โอเดียน เมื่อปี พ.ศ. 2482 โดยทางโรงแรม รัตนโกสินทร์เป็นผู้จัด คุณสุรัฐ พุกกะเวส ซึ่งเป็นเลขานุการของโรงแรมเห็นว่าเป็นการไม่เหมาะสมที่จะนาวง ดนตรีของราชการไปบรรเลงในโรงภาพยนตร์เอกชน จึงหารือกับเอื้อว่าควรจะใช้ชื่อวงดนตรีเป็นอย่างอื่น ในตอน นั้นเอื้อตกหลุมรักอาภรณ์ จึงได้จังหวะนานามสกุลของตนเองไปรวมกับชื่อของคนรัก ซึ่งรวมกันแล้วก็ได้ชื่อวงว่า สุนทราภรณ์
  • 8. 4 เอื้อรับราชการในกรมโฆษณาการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2482 จนต่อมาในปี พ.ศ. 2495 กรมโฆษณาการได้เปลี่ยน ชื่อเป็น กรมประชาสัมพันธ์ โดยดาเนินตาแหน่งเป็นหัวหน้าแผนกบันเทิงต่างประเทศแต่เพียงตาแหน่งเดียว จนกระทั่งเกษียณในปี พ.ศ. 2514 และทางกรมประชาสัมพันธ์ได้จ้างพิเศษให้ดาเนินตาแหน่งผู้เชี่ยวชาญการดนตรี ต่ออีก 2 ปี จนออกจากงานอย่างถาวรในปี พ.ศ. 2516 และในปีนี้ เอื้อเป็นหนึ่งในผู้ที่ได้รับพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นสมาชิกคนหนึ่งในสมัชชาแห่งชาติ เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2516 ถึงแม้เอื้อจะไม่ได้รับความก้าวหน้าในวงการราชการเท่าที่ควร แต่เอื้อมีสิ่งสูงสุดที่บารุงจิตใจอยู่ตลอดมา คือ พระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ กล่าวคือ วันที่เอื้อปลาบปลื้มที่สุดวันหนึ่งในชีวิตนักดนตรีก็คือ วันที่ได้รับพระราชทานเหรียญรูปเสมาทองคาที่มีพระ ปรมาภิไธยย่อ ภ.ป.ร. จากพระหัตถ์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อวันครบรอบ 30 ปี วงดนตรีสุนทราภรณ์ ในวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2512 ปัจฉิมวัย ตลอดระยะเวลา 42 ปีของการทางาน เอื้อไม่เคยพักผ่อนเลย ปกติเป็นผู้ที่มีสุขภาพแข็งแรง ทางานหนัก และอดนอนเก่ง จนกระทั่งถึงปลายปี พ.ศ. 2521 ก็เริ่มมีอาการไข้สูงเป็นระยะ ๆ แพทย์ได้เอกซเรย์ตรวจพบ ก้อนเนื้อร้ายขนาดเท่าลูกเทนนิสที่บริเวณปอดด้านขวา จึงได้เริ่มการรักษา แต่ก็ยังคงทางานตามปกติ จนถึงปลายปี พ.ศ. 2522 มีอาการทรุดหนัก จึงเข้าไปรักษาที่โรงพยาบาล แล้วก็กลับไปรักษาที่บ้านต่อ ในช่วงปี พ.ศ. 2523 เอื้อได้เดินทางพร้อมกับนายกรัฐมนตรี และคณะกรรมการสมาคมดนตรีแห่งประเทศ ไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ไปเข้าเฝ้า ณ พระตาหนักภูพานราชนิเวศน์ จังหวัดสกลนคร และได้ขับร้องเพลงถวาย เป็นครั้งสุดท้าย เพลงที่ร้องถวายคือ เพลงพรานทะเล ตั้งแต่เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2523 เป็นต้นมา อาการของเอื้อก็ได้ทรุดลงเป็นลาดับ จนเมื่อถึงวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2524 เอื้อ สุนทรสนาน ก็ได้เสียชีวิตลง รวมอายุได้ 71 ปี 2 เดือน 11 วัน เอื้อ สุนทรสนาน เป็นผู้หนึ่งที่ได้รับพระราชทานโล่เกียรติยศในฐานะศิลปินตัวอย่างผู้ประพันธ์เพลง ประจาปี พ.ศ. 2523 - 2524 แผ่นเสียงทองคาพระราชทาน ครั้งที่ 4 โดยมี นางอติพร เสนะวงศ์ (สุนทรสนาน) บุตรี เป็นผู้รับแทน ผลงาน ผลงานการประพันธ์คาร้องของ ครูแก้ว อัจฉริยะกุล กับ ครูเอื้อ สุนทรสนาน มีมากกว่าครูเพลงทุกคนทั้ง เพลงใน แนวสุนทราภรณ์ และ เพลงไทยลูกกรุง เฉพาะอย่างยิ่ง ผลงานในยุคต้นๆ สมัยสงครามโลกครั้งที่ ๒ จนมี คาชื่นชมและกล่าวขานกันต่อๆมาว่า “ทานอง เอื้อ เนื้อ แก้ว” ( โดย สุวัฒน์ วรดิลก / รพีพร ) ในปริญญานิพนธ์ เรื่อง วรรณกรรมจากบทเพลง สุนทราภรณ์ ของ พงษ์ชัย ไทยวรรณศรี ( พ.ศ. ๒๕๒๙ ) ได้แบ่งบทเพลงของ สุนทราภรณ์ ออกเป็น ๑๐ ประเภทด้วยกัน คือ เพลงลุกใจและสดุดี / เพลงสถาบันการศึกษา /
  • 9. 5 เพลงจังหวัดและหน่วยงาน / เพลงสาหรับเยาวชน / เพลงจากวรรณกรรม / เพลงเกี่ยวกับประเพณี เทศกาล และการละเล่นประจาถิ่น / เพลงที่เป็นภาษิต เพลงสอนใจและเพลงคติธรรม / เพลงชมธรรมชาติและชมความงาม ต่างๆ / เพลงสะท้อนสังคม และ เพลงที่เป็นบทละคร หรือ เรื่องราวสั้นๆ บทเพลงดังกล่าวทั้ง ๑๐ ประเภทข้างต้น จะเป็นผลงานอันอัจฉริยะของ ครูแก้ว อัจฉริยะกุล และ ครูเอื้อ สุนทร สนาน เสียเป็นส่วนใหญ่ เพราะทั้งสองท่านได้เริ่มแต่งร่วมกันตั้ งแต่ช่วงต้นๆ ในราวปี พ.ศ. ๒๔๘๓ เรื่อยมา จนเมื่อ ครูแก้ว อัจฉริยะกุล ลาออกจาก วงดนตรีสุนทราภรณ์ ไปเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๗ จึงมีผลงานของครูเพลงท่านอื่นๆ เช่น ครูสุรัฐ พุกกะเวส ครูศรีสวัสดิ์ พิจิตรวรการ ครูธาตรี ครูสมศักดิ์ เทพานนท์ ครูพรพิรุณ ฯลฯ มาแทน ขอนาเสนอ ความอัจฉริยะ ในการสร้างสรรค์ผลงาน เพลงอมตะ อันแสนไพเราะ ที่เป็น เพลงในแนวของ เพลงสุนทราภรณ์ ที่ ครูแก้ว อัจฉริยะกุล แต่งคาร้องร่วมกันกับ ครูเอื้อ สุนทรสนาน ผู้แต่งทานอง ตามประเภทของ เพลงที่แบ่งเอาไว้ข้างต้น เพื่อเป็นการยกย่องเชิดชูและสืบสาน ความอัจฉริยะ ของ ครูแก้ว อัจฉริยะกุล ไว้สืบไป เพลงปลุกใจและเพลงสดุดี เพลงประเภทนี้ เป็นเพลงที่หน่วยราชการ หรือผู้บริหารประเทศ จะเป็นผู้กาหนดเป็นนโยบายให้ ครูแก้ว อัจฉริยะกุล และ ครูเอื้อ สุนทรสนาน ซึ่งควบคุมดูแล วงดนตรีกรมโฆษณาการ หรือ กรมประชาสัมพันธ์ แต่ง ขึ้น เพื่อใช้ส่งกระจายเสียงทางสถานีวิทยุ เพื่อเผยแพร่ แนวความคิด ค่านิยม หรือ เชิญชวนให้ผู้ฟัง เชื่อถือ ปฏิบัติ ตาม จะเรียกว่าเป็น การล้างสมอง โฆษณาชวนเชื่อ หรือ Propaganda ก็ได้ โดยเฉพาะ เพลงปลุกใจ ที่เกิดขึ้น ในช่วง วิกฤติการณ์ของบ้านเมืองแต่ละยุคแต่ละสมัย เพลงบ้านเกิดเมืองนอน คาร้อง แก้ว อัจฉริยะกุล/ทานอง เอื้อ สุนทรสนาน บ้านเมือง เรารุ่งเรืองพร้อมอยู่ หมู่เหล่า พวกเรา ล้วนพงศ์เผ่า ศิวิลัย เพราะฉะนั้น ชวนกันยินดี เปรมปรีดิ์ดีใจ เรียกตนว่าไทย แดนดินผืนใหญ่ มิใช่ทาสเขา ก่อนนี้ มีเขตแดน นับว่ากว้างใหญ่ ได้ไว้ พลีเลือดเนื้อ แลกเอา รบ รบ รบ ไม่หวั่นใคร มอบความเป็นไทย ให้พวกเรา แต่ครั้ง นานกาล เก่า ชาติเรา เขาเรียก ชาติไทย บ้านเมือง ควรประเทือง ไว้ดังแต่ก่อน แน่นอน เนื้อและเลือด พลีไป เพราะฉะนั้น เราควรยินดี มีความภูมิใจ แดนดินถิ่นไทย รวบรวมไว้ได้ แสนจะยากเข็ญ
  • 10. 6 ยากแค้น เคยกู้แดนไว้อย่าง บากบั่น ก่อนนั้น เคยแตกฉาน ซ่านเซ็น แม้กระนั้น ยังร่วมใจ ช่วยกันรวมไทย ให้ร่มเย็น บัดนี้ไทยดีเด่น ร่มเย็นสมสุข เรื่อยมา อยู่กิน บนแผ่นดินท้องถิ่น กว้างใหญ่ ชาติไทย นั้นเคยใหญ่ ในบูรพา ทุกๆเช้า เราดูธงไทย ใจจงปรีดา ว่าไทยอยู่มา ด้วยความผาสุก ถาวรสดใส บัดนี้ไทยเจริญวิสุทธิ์ ผุดผ่อง พี่น้อง จงแซ่ซ้อง ชาติไทย รักษาไว้ให้มั่นคง เทิดธงไตรรงค์ ให้เด่นไกล ชาติเชื้อ เรายิ่งใหญ่ ชาติไทย บ้านเกิดเมืองนอน เป็น เพลงปลุกใจ ที่เป็นผลงานอมตะ ทานอง - ครูเอื้อ สุนทรสนาน เนื้อ – ครูแก้ว อัจฉริยะกุล ที่ฮิต ติดหูคน ฟังมากที่สุด เป็นเพลงที่ เล่าเรื่อง ความเป็นมา และ ประวัติ ของ ชาติไทย อย่างครบถ้วน มี ท่วงทานองที่ปลุกใจให้ เกิด ความรัก ความฮึกเหิม มี เนื้อหาสาระ และมี ความไพเราะ ที่ลงตัว เพลงบ้านเกิดเมืองนอน เป็นเพลงที่ได้รับรางวัลในการประกวด เพลงปลุกใจ เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๘๘ ในรุ่นแรก นั้น ขับร้องนักร้องรุ่นใหญ่ ได้แก่ มัณฑนา โมรากุล / สุปาณี พุกสมบุญ / ชวลีย์ ช่วงวิทย์ และ เพ็ญศรี พุ่มชูศรี ต่อมาได้มีการบันทึกเพิ่มเติมอีกหลายชุด เช่น ชวลีย์ ช่วงวิทย์ / ศรีสุดา รัชตะวรรณ / วรนุช อารีย์ และ มาริษา อมาตยกุล
  • 11. บรรณานุกรม วิกีพีเดียสารานุกรมเสรี//"บทความ,"/เอื้อ สุนทรสนาน // 5 มิถุนายน 2554 .//http://th.wikipedia. org/wiki/%E0%B9%80% E0%B8% AD% E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD_ %E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%99%E0% B8%97%E0%B8%A3% E0%B8%AA%E0%B8%99%E0 %B8%B2%E0%B8%99//12 กรกฎาคม 2554. Saisainpan.net//"บทความ,"/ครูเอื้อ สุนทรสนาน // 23 มีนาคม 2550. http://saisampan.net/index. php?topic =12749.000// 12 กรกฎาคม 2554.