SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  9
Télécharger pour lire hors ligne
นักจัดรายการวิทยุ-ดีเจ-D-J-Disc-Jockey
                        นางสาวกมลทิพย์ ปัญยาง ม. 5 / 1 เลขที่ 5




         นิยามอาชีพนักจัดรายการวิทยุเป็ นผูทาหน้าที่ดาเนินการ รายการเผยแพร่ ความรู ้ ความ
                                           ้
บันเทิง หรื อสารคดีแก่ผฟังทางสถานีวทยุกระจายเสี ยง
                       ู้          ิ

           ลักษณะของงานทีทานักจัดรายการวิทยุ หรื อ(ดีเจ ซึ่ งย่อมาจาก Disc Jockey หมายถึงผูจด
                             ่                                                               ้ั
รายการเพลงประกอบความรู ้เกี่ยวกับเพลงหรื อเรื่ องอื่นๆ ซึ่ งอยูในความสนใจของผูฟัง ในสถานที่
                                                                   ่                ้
ฟังเพลง) ควรเป็ นผูที่มีความรู ้ความสามารถตรงกับรายการที่จดและ ตรงกับนโยบายของสถานี
                         ้                                       ั
วิทยุกระจายเสี ยงและจัดรายการให้ตรงกับกลุ่มเป้ าหมาย เช่น กลุ่มผูทางานทัวไป นักเรี ยน นักศึกษา
                                                                       ้     ่
หรื อกลุ่มพ่อบ้านแม่บาน เกษตรกร ผูสูงวัย หรื อ ชุมชนท้องถิ่น
                           ้          ้
           นักจัดรายการวิทยุควรศึกษาค้นคว้าหาความรู ้เกี่ยวกับเพลงที่จะเปิ ดให้ผฟัง ตลอดจน
                                                                                 ู้
ความรู้เรื่ องอื่นๆ ที่จะนามาใช้ประกอบการเปิ ดเพลง เพื่อให้ผฟังได้รับทั้งความรู ้และความ
                                                              ู้
เพลิดเพลิน ซึ่ งควรจะตรงกับกลุ่มผูฟังเช่น กลุ่มผูฟังเป็ นเกษตร ก็ควรให้ความรู ้ทางการเกษตร
                                    ้            ้
เพื่อให้กลุ่มผูฟังได้เป็ นสมาชิกถาวรติดตาม รายการตลอดไป รายการที่จดอาจเป็ นรายการที่มี
                 ้                                                       ั
กาหนดเวลาแน่นอนหรื อเป็ นรายการที่ให้บริ การตลอดวัน เช่น รายการกรี นเวฟ หรื อรายการอยูเ่ ป็ น
เพื่อนคุยกับนักศึกษาที่ดูหนังสื อดึกๆ หรื อรายการโชว์ดึก โดยมีหวข้อคุยเป็ นประเด็นเรื่ องราวตาม
                                                                     ั
กระแสเหตุการณ์บานเมืองและโลกแทรกไว้ในรายการ หรื อรายการเพื่อสุ ขภาพ รายการเพื่อ
                       ้
ผูบริ โภค รายการเพื่อการศึกษา การทบทวนข้อสอบของนักเรี ยนเพื่อเตรี ยม สอบเอ็นทรานซ์ การ
  ้
ตอบปั ญหาสุ ขภาพจิตสาหรับผูฟังที่มีปัญหาคับข้องใจหรื ออาจเป็ นรายการสายด่วน เพื่อช่วยเหลือ
                                 ้
ความเดือดร้อน โดยนักจัดรายการวิทยุจะเปิ ดเพลง สลับการให้ความรู้หรื อการตอบปัญหา หรื อ
สนทนากับสมาชิกที่เป็ นผูฟังตามช่วงเวลาที่เหมาะสม เพื่อมิให้เกิดความเบื่อหน่ายแก่บุคคลทัวไป
                          ้                                                               ่
นักจัดรายการหรื อดีเจที่ได้รับความสนใจ ในปัจจุบน มักจะเป็ นดีเจที่จดรายการให้กลุ่มนักเรี ยน
                                               ั                   ั
และนักศึกษาวัยรุ่ น โดยให้ความรู ้ทวไป สลับกับการเปิ ดเพลงประกอบหรื อรายการบันเทิงหรื อเป็ น
                                   ั่
รายการเพลงล้วน ๆ




          สภาพการจ้ างงานนักจัดรายการ วิทยุอาจเป็ นพนักงานประจาองค์กร หรื อเป็ นนักจัด
รายการวิทยุอิสระซึ่ง สามารถบริ หารการจัดเวลาไปเป็ นนักจัดรายการให้สถานีอื่นได้ดวยเช่นกัน
                                                                                ้
อัตราค่าจ้างขั้นต่าโดยทัวไปคิดเป็ น รายชัวโมง ตั้งแต่ชวโมงละ 200 บาทจนถึงชัวโมงละ 1,500
                        ่                ่            ั่
บาท อาจทางานวันละ 3 ชัวโมง หรื อทางาน ประมาณเดือนละ 20 วัน มีสวัสดิการ และประกัน
                          ่
สุ ขภาพ
          นักจัดรายการวิทยุอิสระจะต้องมีเงินทุนในการซื้ อเวลาจากสถานีวทยุกระจายเสี ยงตาม
                                                                      ิ
อัตรา ที่กาหนด หรื อตามแต่จะตกลงกัน ซึ่ งรายได้ที่ได้รับอาจได้จากการติดต่อขอค่าโฆษณาจาก
บริ ษทห้างร้าน เพื่อประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ สลับในรายการ หรื ออาจจะได้รับการว่าจ้างจากบริ ษท
     ั                                                                                    ั
ห้างร้านโดยตรงก็ได้ โดยการให้ค่าตอบแทนการทางานตามแต่จะตกลงกัน โดยเฉลี่ยประมาณเดือน
ละ 10,000 บาท

        สภาพการทางานนักจัดรายการวิทยุจะทางานตามกาหนดเวลา ที่ระบุไว้ในผังรายการของ
สถานีวทยุหรื ออาจจะทางานเป็ นช่วงเวลาเพื่อบริ การกลุ่มเป้ าหมาย
      ิ
        นักจัดรายการส่ วนมากจะจัดรายการครั้งละประมาณ 1 - 3 ชัวโมง หรื อสลับกับนักจัด
                                                                 ่
รายการ ผูอื่นในรายการเดียวกัน ซึ่ งอาจมีผช่วยรายการอีก 1 - 2 คน ช่วยตอบคาถามหรื อโต้ตอบกับ
         ้                               ู้
สมาชิกเพื่อ ให้เกิดมุมมอง และอรรถรสที่แตกต่างไปจากรายการอื่น ๆ
นักจัดรายการวิทยุทางานในสถานที่ที่มีบรรยากาศที่ดี พร้อมด้วยอุปกรณ์ในการทางานที่จาเป็ นใน
การประกอบอาชีพ เช่น เทปเพลง อุปกรณ์การเล่นเทป ไมโครโฟน หูฟัง เป็ นต้น

           คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชี พผูประกอบนักจัดรายการวิทยุ-ดีเจ-D-J-Disc-Jockeyควรมี
                                               ้
คุณสมบัติดงนี้   ั
           1. สาเร็ จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) จนถึงปริ ญญาตรี สาขาวิชา
วิทยุกระจายเสี ยงหรื อสาขาวิชาวิทยุกระจายเสี ยงและวิทยุโทรทัศน์
           2. มีประกาศนียบัตรผูประกาศจากกรมประชาสัมพันธ์ ได้รับการฝึ กอบรมจากสมาคมวิทยุ
                                    ้
โทรทัศน์ แห่งประเทศไทย และผ่านการสอบได้รับประกาศนียบัตร ผูประกาศจากกรม    ้
ประชาสัมพันธ์ โดยสมัครสอบด้วยตนเอง หรื อผ่านสถาบันการศึกษาที่สังกัดอยู่
           3. มีความสามารถเขียนบทวิทยุดวยตนเอง
                                             ้
           4. ต้องเป็ นผูที่ออกเสี ยงควบกล้ าในภาษาไทยได้ชดเจน มีน้ าเสี ยงน่าฟัง สุ ภาพ
                           ้                              ั
           5. ต้องมีจรรยาบรรณทางวิชาชีพ และมีความเข้าใจเรื่ องสิ ทธิ มนุษยชนเป็ นอย่างดี
           ผู้ทจะประกอบนักจัดรายการวิทยุ-ดีเจ-D-J-Disc-Jockey ควรเตรียมความพร้ อมดังต่ อไปนี้
                   ี่
คือ : สาเร็ จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายหรื อเทียบเท่า และเลือกศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา
หลักสู ตรปริ ญญาตรี คณะนิเทศศาสตร์ มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ สาขาที่เกี่ยวข้อง ถ้าจบการศึกษา
ระดับอุดมศึกษาที่ไม่ตรงตามวิชาชีพก็ควรสมัครสอบเพื่อได้รับประกาศนียบัตร ผูประกาศจากกรม้
ประชาสัมพันธ์ได้เช่นกัน
           นอกจากนี้ยงต้องเป็ นคนชอบพูดคุย ชอบค้นคว้าหาความรู ้ทวไป และมีอารมณ์ดี เป็ นผูรับ
                         ั                                             ั่                ้
ฟังที่ดี เมื่อมีผสอบถามเข้ามาทางโทรศัพท์ มีความคิดสร้างสรรค์ มีทศนะคติที่ดี มีความสามารถ
                      ู้                                             ั
ตัดสิ นใจ แก้ปัญหา เฉพาะหน้าได้ เมื่อมีสถานการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ในการออกอากาศ และเป็ นผูมี  ้
ระเบียบวินยในการเตรี ยม รายการล่วงหน้า
               ั
โอกาสในการมีงานทาปัจจุบน นโยบายขององค์การสื่ อสารมวลชนแห่งประเทศไทยได้จด
                                      ั                                                    ั
ให้มีวทยุชุมชน ความต้องการ นักจัดรายการของสถานีวทยุ จึงกระจายไปทุกจังหวัดทัวประเทศ ทั้ง
       ิ                                                    ิ                      ่
ภาค AM และ FM
         นอกจากนี้บริ ษทและองค์กรเอกชนที่ประกอบธุ รกิจเกี่ยวกับสื่ อโฆษณาทางวิทยุและ
                        ั
โทรทัศน์ ธุ รกิจการบันเทิง หรื อมูลนิธิต่างๆเป็ นผูรับเช่าช่วงเวลาสถานีจากหน่วยงานราชการ สถานี
                                                   ้
วิทยุของมหาวิทยาลัย เพื่อนามาจัดดาเนินการและเผยแพร่ รายการ ใช้เป็ นสื่ อประชาสัมพันธ์สินค้า
ของตนเอง ให้ครบวงจร ทั้งนี้ผเู ้ ช่าช่วงสถานีตองจัดทาผังรายการภายใต้กรอบนโยบาย และ
                                                ้
วัตถุประสงค์ของเจ้าของสถานี เช่น บริ ษทผลิตเทปเพลง บริ ษทจัดฉายภาพยนตร์ จากทั้งในและ
                                          ั                     ั
ต่างประเทศ หรื อการให้บริ การสังคมอย่าง เช่น สถานีวทยุรายการ จ.ส. 100 รายการร่ วมด้วยช่วยกัน
                                                          ิ
เป็ นต้น ทาให้มีการจ้างงาน ในนักจัดรายการวิทยุ-ดีเจ-D-J-Disc-Jockeyเพิ่มขึ้น

            โอกาสความก้าวหน้ าในอาชีพนักจัดรายการวิทยุหรื อดีเจในบางรายการเป็ นทั้งผูจดรายการ
                                                                                           ้ั
และเป็ นผูหาโฆษณาสิ นค้า เพื่อสนับสนุนรายการของตนเอง อาจพัฒนาทักษะและความรู้
             ้
ความสามารถเป็ นผูเ้ ขียนบทวิทยุหรื อโทรทัศน์เป็ นนักเขียน เพราะจากการจัดรายการจะมีขอมูลที่    ้
สะสมไว้ใช้ในการทางานอาชีพที่เกี่ยวข้องได้เป็ นจานวนมากตาแหน่งอาจไม่มีการเลื่อนขึ้นแต่มี
รายได้มากขึ้นและมีชื่อเสี ยงมากขึ้น
            นักจัดรายการวิทยุ-ดีเจ-D-J-Disc-Jockeyจัดว่าเป็ นผูที่มีอิทธิ พลทางด้านความคิดต่อผูฟัง
                                                               ้                                 ้
มาก ดังนั้นจึงสามารถที่จะโน้มน้าวประชาชน ให้เกิดความสนใจ และสังซื้ อผลิตภัณฑ์น้ น ดังนั้น จึง
                                                                            ่            ั
อาจมีรายการวิทยุเป็ นของตนเองหรื อสามารถเป็ น ผูผลิตรายการวิทยุ รายการต่างๆ เพื่อป้ อนให้กบ
                                                       ้                                           ั
ผูเ้ ช่าช่วงสถานี
            ปัจจุบน เจ้าของสิ นค้าเห็นความสาคัญถึงสื่ อโฆษณาทางวิทยุ เนื่องจากวิทยุเป็ นสื่ อที่
                  ั
สามารถ พกพาไปได้ทุกแห่งหน และเข้าถึงทุกกลุ่มเป้ าหมาย การโฆษณาสิ นค้าโดยผ่านรายการทาง
สถานีวทยุ จึงสามารถเพิ่มยอดขายได้ ดังนั้น อาชีพนักจัดรายการจึงเป็ นที่น่าสนใจสาหรับผูที่สนใจ
        ิ                                                                            ้
จะใช้เป็ นงานประจา หรื อเป็ นอาชีพเสริ ม

         อาชีพทีเ่ กียวเนื่องนักจัดรายการวิทยุอาจเปลี่ยนอาชีพเป็ น นักจัดกิจกรรมส่ งเสริ มการขาย
                     ่
พิธีกรโทรทัศน์ และพิธีกรเวทีการแสดง นักพากย์บทภาพยนตร์ นักพากย์ อัดเสี ยงการโฆษณา
สิ นค้าทางวิทยุหรื อโทรทัศน์ นักเขียน นักจัดรายการเวทีเพลง หรื อพิธีกรทางเคเบิ้ลทีวี นักแสดง
ภาพยนตร์และโทรทัศน์ มีนกจัดรายการหลายคนที่มีอาชีพประจาอย่างอื่น เช่น นักวิชาการ -
                              ั
อาจารย์มหาวิทยาลัย นักข่าว ผลิตสารคดีท้ งทางสถานีวทยุ และโทรทัศน์ ฯลฯ
                                            ั           ิ

       แหล่ งข้ อมูลอืน ๆเว็บไซต์บริ การจัดหางาน ข่าวบริ การทางโทรทัศน์ กรมประชาสัมพันธ์
                      ่
รายการวิทยุ การจัดประเภทมาตรฐานอาชีพ (ประเทศไทย)

         ดีเจ จัดเป็ นอีกหนึ่งอาชีพที่ได้รับความสนใจอย่างสู งในหมูวยรุ่ น เพราะงานที่มีลกษณะ
                                                                 ่ ั                    ั
เป็ นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ต้องคลุกคลีอยูกบดนตรี และเสี ยงเพลงอันหลากหลาย ซึ่ งวัยรุ่ นไม่วาจะยุค
                                         ่ ั                                              ่
ใดสมัยใด ย่อมให้ความสาคัญและชื่นชอบในเสี ยงเพลงเสมอ เรี ยกได้วาวัยรุ่ นกับเพลงเป็ นของคู่กน
                                                                     ่                       ั
จนแยกกันไม่ออก

       เส้ นทางการเข้ าสู่ ถนนสาย ดีเจส่ วนใหญ่จะต้องผ่านขั้นตอนการประกวดจัดรายการ เพื่อเป็ น
                               ้                      ่
ใบเบิกทางก่อนเข้าทางาน แต่ถาคิดว่ามีคุณสมบัติเจ๋ งอยูแล้ว จะไปสมัครที่สถานีวทยุโดยตรงเลยก็
                                                                              ิ
ได้ เพราะหากเป็ นจังหวะเวลาที่สถานีวทยุกาลังต้องการ ดีเจ อาจฟลุกได้รับการพิจารณาจ้างงานก็
                                         ิ
ได้
       ขั้นตอนการเข้าประกวดจัดรายการ ผูสมัครทุกคนต้องทาตัวอย่างการจัดรายการวิทยุความ
                                            ้
ยาวไม่เกิน 30 นาที มาสาธิ ตให้กรรมการพิจารณาซึ่ งรู ปแบบรายการจะให้ผสมัครเป็ นผูกาเนิด และ
                                                                       ู้        ้
คิดสร้างสรรค์รายการให้เข้ากับบุคลิกของตัวเองมากที่สุด เพราะผูชนะ คือ ผูที่จดรายการแล้ว
                                                                ้         ้ ั
สนุกสนาน ไม่ประหม่าเล่นเพลงไม่สะดุด ดูเป็ นธรรมชาตินนเอง  ั่
คุณสมบัติของดีเจ ไม่จาเป็ นต้องเรี ยนจบนิเทศศาสตร์ ขอให้มีใจรักในงานเพลงพูดจาฉะฉาน
สามารถพูดคนเดียวได้ แก้ปัญหาเฉพาะหน้าดี ตรงต่อเวลา ไม่มองโลกในแง่ร้าย ออกเสี ยงคาควบ
กล้ าถูกต้อง และต้องมีใบอนุญาตการเป็ นผูประกาศรายการวิทยุจากกรมประชาสัมพันธ์
                                            ้

        การทางานของดีเจ ส่ วนใหญ่ทางานทุกวัน ๆ ละไม่เกิน 4 ชัวโมง อาทิ 05.00 – 07.00 น.
                                                                 ่
เป็ นเวลาที่เหมาะสาหรับดีเจมือใหม่ เพราะคนฟังไม่มาก 06.00 – 10.00 น. 16.00 – 20.00 น. เป็ น
ช่วงเวลาไพร์ ไทม์ที่มีคนฟังมากที่สุด ในระหว่างการทาหน้าที่ 4 ชัวโมงเต็ม ดีเจ แต่ละคนจะ
                                                               ่
เลือกสรรงานเพลงตามสไตล์ของแต่ละสถานีวทยุ ซึ่ งรู ปแบบรายการที่ ดีเจ ส่ วนใหญ่เลือกใช้พอจะ
                                            ิ
แบ่งได้ 3 ประเภท คือ 1. CHR (Contemporary Hits Radio) เป็ นรู ปแบบวัยรุ่ น เปิ ดเพลงฮิต เพลงมี
จังหวะ 2. AC (Adulf Contemporary ) รู ปแบบเพลง Easy listening และ 3. Hot AC (Hot Adult
Contempory) เป็ นเพลงสไตล์ผใหญ่ มีจงหวะบ้าง
                              ู้       ั

         การเล่นเพลงแต่ ละครั้ง ดีเจ จะเลือกเปิ ดเพลงผสมผสานกัน เช่น เล่นเพลงฮอตฮิต และเพลง
ใหม่ที่คนยังไม่รู้จกไปพร้อมกัน สลับกับการเล่นเกม และการพูดคุยกับคนฟังเพลงด้วย เฉลี่ยแล้วทุก
                   ั
1 ชัวโมง ดีเจ สามารถเปิ ดเพลงได้ 12 เพลง ถ้าทางาน 4 ชัวโมง ดีเจ สามารถเล่นเพลงได้ถึง 48 เพลง
    ่                                                   ่
ทั้งนี้ก่อนเข้างาน 15 นาที ดีเจ จะต้องเตรี ยมความพร้อมเพื่อดูสคริ ปต์ หรื อเนื้อหาก่อนออกรายการ
สดทุกครั้ง
สาหรับรายได้ ค่าตอบแทนที่ได้รับนั้น บริ ษทจะคิดให้เป็ นรายชัวโมง ถ้าเป็ นดีเจหน้าใหม่ได้
                                                  ั                  ่
ชัวโมงละ 200 บาท ขณะที่ ดีเจมีประสบการณ์จะได้เพิ่มขึ้นแตกต่างกันไป แต่สูงสุ ดไม่เกินชัวโมง
  ่                                                                                         ่
ละ 2,000 บาท
         ส่ วนสวัสดิการ มีให้ต้ งแต่ประกันสังคม กองทุนสารองเลี้ยงชีพ และวันหยุด วันลา อย่างไรก็
                                ั
ตาม อาชีพดีเจ บริ ษทส่ วนใหญ่จะจ้างงานในลักษณะฟรี แลนด์ หรื อทาสัญญาจ้างงานปี ต่อปี ทาให้
                      ั
เกิดความไม่มนคงในการทางาน เพราะบริ ษทหรื อนายจ้างอาจบอกเลิกจ้างวันไหนก็ได้ ถ้าผลงานไม่
                ั่                            ั
เข้าเป้ า โดยมีการประเมินผลงานจาก เรตติ้งของรายการวิทยุทุกเดือน

         “ดาด้า” วริ นดา ดารงผล อายุ 24 ปี ดีเจสาวอารมณ์ดี คลื่น 95.5 เล่าว่า ทางาน ดีเจ มา 5 ปี
เต็ม รู ้สึกว่าเหมาะกับตัวเองดี เพราะเป็ นคนรักเสี ยงเพลง ชอบพูด หัวเราะง่าย

      ดาด้า มองว่า อาชีพดีเจ เดี๋ยวนี้แข่งขันกันสู ง มีการนาระบบการตลาดเข้ามาเกี่ยวข้อง เพราะ
                                                             ่ ั
เป็ นกลยุทธ์ที่จะดึงดูดคนฟังได้มาก ดีเจจึงไม่สามารถหยุดอยูกบที่ได้ ต้องพัฒนาตัวเองให้ทนต่อ
                                                                                         ั
                                         ่
การเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา งานที่ทาอยูจะมีการเช็กเรตติ้งเป็ นระยะ ขณะนี้ติดชาร์ ตอันดับ 1 มา 2
เดือนแล้ว เราจึงต้องรักษามาตรฐานการทางานให้อยูอนดับท็อปเสมอ เพราะที่นี่ค่อนข้างซี เรี ยส ถ้า
                                                       ่ ั
อันดับตก และพบว่าเป็ นความผิดพลาดของดีเจ จะตักเตือนก่อน แต่หากไม่ปรับปรุ งก็ถูกย้ายให้ไป
จัดรายการในช่วงเวลาอื่น หรื ออาจปรับออกจากงานเลยก็มี

       การเป็ นดีเจ ต้องอาศัยเวลาอย่างน้อย 2 ปี กว่าทุกอย่างจะลงตัว พอจะสร้างเอกลักษณ์ให้
ตัวเองได้ แต่ไม่ใช่การไปลอกเลียนแบบใคร ดาด้า เองมีจุดขายตรงเป็ นคนหัวเราะเก่ง มีเทคนิคว่าจะ
พูดไปยิมไป รักษาสุ ขภาพ พักผ่อนให้เพียงพอ ไม่เที่ยวกลางคืน สิ่ งเหล่านี้ทาให้เสี ยงสวยขึ้น
        ้
      งานดีเจ ถือเป็ นศิลปะอย่างหนึ่งที่จะพูดกับคนฟังแบบรายการสด บางครั้งถ้ามีกรณี รับสาย
หน้าไมค์ แล้วคนทางบ้านพูดไม่เหมาะสม เราต้องแก้ไขสถานการณ์ได้ เพราะมันเกิดได้ทุกเวลา
                                                                                      ั
หรื ออย่างเวลาเข้าข่าวในรายการ ก็ตองคานวณเวลาข่าวให้เป๊ ะ ๆ ซึ่ งจะคิดเวลาเป็ นวินาทีกนเลย จะ
                                  ้
พลาดไม่ได้

    ทุกวันนี้ ดาด้า จัดรายการเวลา 4 โมงเย็นทั้งวันจันทร์ – วันอาทิตย์ รายได้ที่รับมาก็พอสมควร
แถมยังมีเวลาเหลือสามารถรับงานเป็ นพิธีกร และสอนนักศึกษาตามมหาวิทยาลัยได้อีก

      ดีเจ นับเป็ นอีกหนึ่งอาชีพที่ทาทายความสามารถของคนรุ่ นใหม่ ซึ่ งหลายคนวาดฝันที่จะก้าว
                                     ้
            ่
เข้าไปยืนอยูบนจุดนี้ ดังนั้นอย่ารี รอ ขอให้เริ่ มเดินหน้าสานฝันต่อไป สักวันหนึ่งโอกาสจะเป็ นของ
คุณอย่างแน่นอน
บรรณานุกรม

<http://www.gotoknow.org/blog/500-417/13633> 7 สิ งหาคม 54
<http://www.งานวันนี้.com> 7 สิ งหาคม 54

Contenu connexe

En vedette

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
โบราณสถานหอบวงสรวงสวรรค์
โบราณสถานหอบวงสรวงสวรรค์โบราณสถานหอบวงสรวงสวรรค์
โบราณสถานหอบวงสรวงสวรรค์SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
Témoignage rencontre prestataires - Madeleine Simao
Témoignage rencontre prestataires - Madeleine SimaoTémoignage rencontre prestataires - Madeleine Simao
Témoignage rencontre prestataires - Madeleine SimaoMONA
 
"Metteur en scène de territoire". Saison 2.
"Metteur en scène de territoire". Saison 2."Metteur en scène de territoire". Saison 2.
"Metteur en scène de territoire". Saison 2.MONA
 
Les rencontres e tourisme anglet MOPA - Du PLFI à l'accompagnement individuel...
Les rencontres e tourisme anglet MOPA - Du PLFI à l'accompagnement individuel...Les rencontres e tourisme anglet MOPA - Du PLFI à l'accompagnement individuel...
Les rencontres e tourisme anglet MOPA - Du PLFI à l'accompagnement individuel...MONA
 

En vedette (19)

โครเอเชีย
โครเอเชียโครเอเชีย
โครเอเชีย
 
จ.แพร่
จ.แพร่จ.แพร่
จ.แพร่
 
ตุ๊กตาทหารดินเผา
ตุ๊กตาทหารดินเผาตุ๊กตาทหารดินเผา
ตุ๊กตาทหารดินเผา
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
 
อาชีพนักแสดง
อาชีพนักแสดงอาชีพนักแสดง
อาชีพนักแสดง
 
โบราณสถานหอบวงสรวงสวรรค์
โบราณสถานหอบวงสรวงสวรรค์โบราณสถานหอบวงสรวงสวรรค์
โบราณสถานหอบวงสรวงสวรรค์
 
รัฐเซีย
รัฐเซียรัฐเซีย
รัฐเซีย
 
ตราด
ตราดตราด
ตราด
 
ลำพูน
ลำพูนลำพูน
ลำพูน
 
สอ เสถบุษ.
สอ เสถบุษ.สอ เสถบุษ.
สอ เสถบุษ.
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
จอมพล ป.พิบูลสงคราม
จอมพล ป.พิบูลสงครามจอมพล ป.พิบูลสงคราม
จอมพล ป.พิบูลสงคราม
 
สอ เสถบุตร
สอ เสถบุตรสอ เสถบุตร
สอ เสถบุตร
 
ทิพาพร บุญพา 5/4
ทิพาพร บุญพา 5/4ทิพาพร บุญพา 5/4
ทิพาพร บุญพา 5/4
 
ฟิลิปปินส์
ฟิลิปปินส์ฟิลิปปินส์
ฟิลิปปินส์
 
จ.นครพนม
จ.นครพนมจ.นครพนม
จ.นครพนม
 
Témoignage rencontre prestataires - Madeleine Simao
Témoignage rencontre prestataires - Madeleine SimaoTémoignage rencontre prestataires - Madeleine Simao
Témoignage rencontre prestataires - Madeleine Simao
 
"Metteur en scène de territoire". Saison 2.
"Metteur en scène de territoire". Saison 2."Metteur en scène de territoire". Saison 2.
"Metteur en scène de territoire". Saison 2.
 
Les rencontres e tourisme anglet MOPA - Du PLFI à l'accompagnement individuel...
Les rencontres e tourisme anglet MOPA - Du PLFI à l'accompagnement individuel...Les rencontres e tourisme anglet MOPA - Du PLFI à l'accompagnement individuel...
Les rencontres e tourisme anglet MOPA - Du PLFI à l'accompagnement individuel...
 

Similaire à นักจัดรายการวิทยุ ส่ง

อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกรอาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกรSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
โครงการTv..
โครงการTv..โครงการTv..
โครงการTv..Lib Rru
 
Work1m34 14-21
Work1m34 14-21Work1m34 14-21
Work1m34 14-21Ford Rpj
 
๑๔ภาคผนวก๓นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน ๕๗
๑๔ภาคผนวก๓นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน ๕๗๑๔ภาคผนวก๓นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน ๕๗
๑๔ภาคผนวก๓นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน ๕๗สัจจา จันทรวิเชียร
 
อาชีพด้านสื่อการสื่อสาร
อาชีพด้านสื่อการสื่อสารอาชีพด้านสื่อการสื่อสาร
อาชีพด้านสื่อการสื่อสารDenimgift005
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานThitikorn Mahawong
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานThitikorn Mahawong
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานThitikorn Mahawong
 
BKK Television Thailand Co., Ltd.
BKK Television Thailand Co., Ltd.BKK Television Thailand Co., Ltd.
BKK Television Thailand Co., Ltd.Saran Yuwanna
 
โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1
โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1
โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1AseansTradition55
 
ภาษากับการสื่อสาร 1
ภาษากับการสื่อสาร 1ภาษากับการสื่อสาร 1
ภาษากับการสื่อสาร 1Yota Bhikkhu
 

Similaire à นักจัดรายการวิทยุ ส่ง (20)

อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกรอาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
 
โครงการTv..
โครงการTv..โครงการTv..
โครงการTv..
 
Press Relations
Press Relations Press Relations
Press Relations
 
Pr by nitiya
Pr by nitiyaPr by nitiya
Pr by nitiya
 
โปรดิวเซอร์ทีวี
โปรดิวเซอร์ทีวีโปรดิวเซอร์ทีวี
โปรดิวเซอร์ทีวี
 
Work1m34 14-21
Work1m34 14-21Work1m34 14-21
Work1m34 14-21
 
Ex project2 (เสร จ) (1)
Ex project2 (เสร จ) (1)Ex project2 (เสร จ) (1)
Ex project2 (เสร จ) (1)
 
๑๔ภาคผนวก๓นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน ๕๗
๑๔ภาคผนวก๓นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน ๕๗๑๔ภาคผนวก๓นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน ๕๗
๑๔ภาคผนวก๓นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน ๕๗
 
อาชีพด้านสื่อการสื่อสาร
อาชีพด้านสื่อการสื่อสารอาชีพด้านสื่อการสื่อสาร
อาชีพด้านสื่อการสื่อสาร
 
Work1m32 33-37
Work1m32 33-37Work1m32 33-37
Work1m32 33-37
 
Work1m33no10,12
Work1m33no10,12Work1m33no10,12
Work1m33no10,12
 
Ic
IcIc
Ic
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
 
BKK Television Thailand Co., Ltd.
BKK Television Thailand Co., Ltd.BKK Television Thailand Co., Ltd.
BKK Television Thailand Co., Ltd.
 
Mil chapter 1_2(1)
Mil chapter 1_2(1)Mil chapter 1_2(1)
Mil chapter 1_2(1)
 
โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1
โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1
โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1
 
R radio
R radioR radio
R radio
 
ภาษากับการสื่อสาร 1
ภาษากับการสื่อสาร 1ภาษากับการสื่อสาร 1
ภาษากับการสื่อสาร 1
 

Plus de SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

Plus de SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

นักจัดรายการวิทยุ ส่ง

  • 1. นักจัดรายการวิทยุ-ดีเจ-D-J-Disc-Jockey นางสาวกมลทิพย์ ปัญยาง ม. 5 / 1 เลขที่ 5 นิยามอาชีพนักจัดรายการวิทยุเป็ นผูทาหน้าที่ดาเนินการ รายการเผยแพร่ ความรู ้ ความ ้ บันเทิง หรื อสารคดีแก่ผฟังทางสถานีวทยุกระจายเสี ยง ู้ ิ ลักษณะของงานทีทานักจัดรายการวิทยุ หรื อ(ดีเจ ซึ่ งย่อมาจาก Disc Jockey หมายถึงผูจด ่ ้ั รายการเพลงประกอบความรู ้เกี่ยวกับเพลงหรื อเรื่ องอื่นๆ ซึ่ งอยูในความสนใจของผูฟัง ในสถานที่ ่ ้ ฟังเพลง) ควรเป็ นผูที่มีความรู ้ความสามารถตรงกับรายการที่จดและ ตรงกับนโยบายของสถานี ้ ั วิทยุกระจายเสี ยงและจัดรายการให้ตรงกับกลุ่มเป้ าหมาย เช่น กลุ่มผูทางานทัวไป นักเรี ยน นักศึกษา ้ ่ หรื อกลุ่มพ่อบ้านแม่บาน เกษตรกร ผูสูงวัย หรื อ ชุมชนท้องถิ่น ้ ้ นักจัดรายการวิทยุควรศึกษาค้นคว้าหาความรู ้เกี่ยวกับเพลงที่จะเปิ ดให้ผฟัง ตลอดจน ู้ ความรู้เรื่ องอื่นๆ ที่จะนามาใช้ประกอบการเปิ ดเพลง เพื่อให้ผฟังได้รับทั้งความรู ้และความ ู้ เพลิดเพลิน ซึ่ งควรจะตรงกับกลุ่มผูฟังเช่น กลุ่มผูฟังเป็ นเกษตร ก็ควรให้ความรู ้ทางการเกษตร ้ ้ เพื่อให้กลุ่มผูฟังได้เป็ นสมาชิกถาวรติดตาม รายการตลอดไป รายการที่จดอาจเป็ นรายการที่มี ้ ั กาหนดเวลาแน่นอนหรื อเป็ นรายการที่ให้บริ การตลอดวัน เช่น รายการกรี นเวฟ หรื อรายการอยูเ่ ป็ น เพื่อนคุยกับนักศึกษาที่ดูหนังสื อดึกๆ หรื อรายการโชว์ดึก โดยมีหวข้อคุยเป็ นประเด็นเรื่ องราวตาม ั กระแสเหตุการณ์บานเมืองและโลกแทรกไว้ในรายการ หรื อรายการเพื่อสุ ขภาพ รายการเพื่อ ้ ผูบริ โภค รายการเพื่อการศึกษา การทบทวนข้อสอบของนักเรี ยนเพื่อเตรี ยม สอบเอ็นทรานซ์ การ ้ ตอบปั ญหาสุ ขภาพจิตสาหรับผูฟังที่มีปัญหาคับข้องใจหรื ออาจเป็ นรายการสายด่วน เพื่อช่วยเหลือ ้ ความเดือดร้อน โดยนักจัดรายการวิทยุจะเปิ ดเพลง สลับการให้ความรู้หรื อการตอบปัญหา หรื อ
  • 2. สนทนากับสมาชิกที่เป็ นผูฟังตามช่วงเวลาที่เหมาะสม เพื่อมิให้เกิดความเบื่อหน่ายแก่บุคคลทัวไป ้ ่ นักจัดรายการหรื อดีเจที่ได้รับความสนใจ ในปัจจุบน มักจะเป็ นดีเจที่จดรายการให้กลุ่มนักเรี ยน ั ั และนักศึกษาวัยรุ่ น โดยให้ความรู ้ทวไป สลับกับการเปิ ดเพลงประกอบหรื อรายการบันเทิงหรื อเป็ น ั่ รายการเพลงล้วน ๆ สภาพการจ้ างงานนักจัดรายการ วิทยุอาจเป็ นพนักงานประจาองค์กร หรื อเป็ นนักจัด รายการวิทยุอิสระซึ่ง สามารถบริ หารการจัดเวลาไปเป็ นนักจัดรายการให้สถานีอื่นได้ดวยเช่นกัน ้ อัตราค่าจ้างขั้นต่าโดยทัวไปคิดเป็ น รายชัวโมง ตั้งแต่ชวโมงละ 200 บาทจนถึงชัวโมงละ 1,500 ่ ่ ั่ บาท อาจทางานวันละ 3 ชัวโมง หรื อทางาน ประมาณเดือนละ 20 วัน มีสวัสดิการ และประกัน ่ สุ ขภาพ นักจัดรายการวิทยุอิสระจะต้องมีเงินทุนในการซื้ อเวลาจากสถานีวทยุกระจายเสี ยงตาม ิ อัตรา ที่กาหนด หรื อตามแต่จะตกลงกัน ซึ่ งรายได้ที่ได้รับอาจได้จากการติดต่อขอค่าโฆษณาจาก บริ ษทห้างร้าน เพื่อประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ สลับในรายการ หรื ออาจจะได้รับการว่าจ้างจากบริ ษท ั ั ห้างร้านโดยตรงก็ได้ โดยการให้ค่าตอบแทนการทางานตามแต่จะตกลงกัน โดยเฉลี่ยประมาณเดือน ละ 10,000 บาท สภาพการทางานนักจัดรายการวิทยุจะทางานตามกาหนดเวลา ที่ระบุไว้ในผังรายการของ สถานีวทยุหรื ออาจจะทางานเป็ นช่วงเวลาเพื่อบริ การกลุ่มเป้ าหมาย ิ นักจัดรายการส่ วนมากจะจัดรายการครั้งละประมาณ 1 - 3 ชัวโมง หรื อสลับกับนักจัด ่ รายการ ผูอื่นในรายการเดียวกัน ซึ่ งอาจมีผช่วยรายการอีก 1 - 2 คน ช่วยตอบคาถามหรื อโต้ตอบกับ ้ ู้
  • 3. สมาชิกเพื่อ ให้เกิดมุมมอง และอรรถรสที่แตกต่างไปจากรายการอื่น ๆ นักจัดรายการวิทยุทางานในสถานที่ที่มีบรรยากาศที่ดี พร้อมด้วยอุปกรณ์ในการทางานที่จาเป็ นใน การประกอบอาชีพ เช่น เทปเพลง อุปกรณ์การเล่นเทป ไมโครโฟน หูฟัง เป็ นต้น คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชี พผูประกอบนักจัดรายการวิทยุ-ดีเจ-D-J-Disc-Jockeyควรมี ้ คุณสมบัติดงนี้ ั 1. สาเร็ จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) จนถึงปริ ญญาตรี สาขาวิชา วิทยุกระจายเสี ยงหรื อสาขาวิชาวิทยุกระจายเสี ยงและวิทยุโทรทัศน์ 2. มีประกาศนียบัตรผูประกาศจากกรมประชาสัมพันธ์ ได้รับการฝึ กอบรมจากสมาคมวิทยุ ้ โทรทัศน์ แห่งประเทศไทย และผ่านการสอบได้รับประกาศนียบัตร ผูประกาศจากกรม ้ ประชาสัมพันธ์ โดยสมัครสอบด้วยตนเอง หรื อผ่านสถาบันการศึกษาที่สังกัดอยู่ 3. มีความสามารถเขียนบทวิทยุดวยตนเอง ้ 4. ต้องเป็ นผูที่ออกเสี ยงควบกล้ าในภาษาไทยได้ชดเจน มีน้ าเสี ยงน่าฟัง สุ ภาพ ้ ั 5. ต้องมีจรรยาบรรณทางวิชาชีพ และมีความเข้าใจเรื่ องสิ ทธิ มนุษยชนเป็ นอย่างดี ผู้ทจะประกอบนักจัดรายการวิทยุ-ดีเจ-D-J-Disc-Jockey ควรเตรียมความพร้ อมดังต่ อไปนี้ ี่ คือ : สาเร็ จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายหรื อเทียบเท่า และเลือกศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา หลักสู ตรปริ ญญาตรี คณะนิเทศศาสตร์ มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ สาขาที่เกี่ยวข้อง ถ้าจบการศึกษา ระดับอุดมศึกษาที่ไม่ตรงตามวิชาชีพก็ควรสมัครสอบเพื่อได้รับประกาศนียบัตร ผูประกาศจากกรม้ ประชาสัมพันธ์ได้เช่นกัน นอกจากนี้ยงต้องเป็ นคนชอบพูดคุย ชอบค้นคว้าหาความรู ้ทวไป และมีอารมณ์ดี เป็ นผูรับ ั ั่ ้ ฟังที่ดี เมื่อมีผสอบถามเข้ามาทางโทรศัพท์ มีความคิดสร้างสรรค์ มีทศนะคติที่ดี มีความสามารถ ู้ ั ตัดสิ นใจ แก้ปัญหา เฉพาะหน้าได้ เมื่อมีสถานการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ในการออกอากาศ และเป็ นผูมี ้ ระเบียบวินยในการเตรี ยม รายการล่วงหน้า ั
  • 4. โอกาสในการมีงานทาปัจจุบน นโยบายขององค์การสื่ อสารมวลชนแห่งประเทศไทยได้จด ั ั ให้มีวทยุชุมชน ความต้องการ นักจัดรายการของสถานีวทยุ จึงกระจายไปทุกจังหวัดทัวประเทศ ทั้ง ิ ิ ่ ภาค AM และ FM นอกจากนี้บริ ษทและองค์กรเอกชนที่ประกอบธุ รกิจเกี่ยวกับสื่ อโฆษณาทางวิทยุและ ั โทรทัศน์ ธุ รกิจการบันเทิง หรื อมูลนิธิต่างๆเป็ นผูรับเช่าช่วงเวลาสถานีจากหน่วยงานราชการ สถานี ้ วิทยุของมหาวิทยาลัย เพื่อนามาจัดดาเนินการและเผยแพร่ รายการ ใช้เป็ นสื่ อประชาสัมพันธ์สินค้า ของตนเอง ให้ครบวงจร ทั้งนี้ผเู ้ ช่าช่วงสถานีตองจัดทาผังรายการภายใต้กรอบนโยบาย และ ้ วัตถุประสงค์ของเจ้าของสถานี เช่น บริ ษทผลิตเทปเพลง บริ ษทจัดฉายภาพยนตร์ จากทั้งในและ ั ั ต่างประเทศ หรื อการให้บริ การสังคมอย่าง เช่น สถานีวทยุรายการ จ.ส. 100 รายการร่ วมด้วยช่วยกัน ิ เป็ นต้น ทาให้มีการจ้างงาน ในนักจัดรายการวิทยุ-ดีเจ-D-J-Disc-Jockeyเพิ่มขึ้น โอกาสความก้าวหน้ าในอาชีพนักจัดรายการวิทยุหรื อดีเจในบางรายการเป็ นทั้งผูจดรายการ ้ั และเป็ นผูหาโฆษณาสิ นค้า เพื่อสนับสนุนรายการของตนเอง อาจพัฒนาทักษะและความรู้ ้ ความสามารถเป็ นผูเ้ ขียนบทวิทยุหรื อโทรทัศน์เป็ นนักเขียน เพราะจากการจัดรายการจะมีขอมูลที่ ้ สะสมไว้ใช้ในการทางานอาชีพที่เกี่ยวข้องได้เป็ นจานวนมากตาแหน่งอาจไม่มีการเลื่อนขึ้นแต่มี รายได้มากขึ้นและมีชื่อเสี ยงมากขึ้น นักจัดรายการวิทยุ-ดีเจ-D-J-Disc-Jockeyจัดว่าเป็ นผูที่มีอิทธิ พลทางด้านความคิดต่อผูฟัง ้ ้ มาก ดังนั้นจึงสามารถที่จะโน้มน้าวประชาชน ให้เกิดความสนใจ และสังซื้ อผลิตภัณฑ์น้ น ดังนั้น จึง ่ ั อาจมีรายการวิทยุเป็ นของตนเองหรื อสามารถเป็ น ผูผลิตรายการวิทยุ รายการต่างๆ เพื่อป้ อนให้กบ ้ ั ผูเ้ ช่าช่วงสถานี ปัจจุบน เจ้าของสิ นค้าเห็นความสาคัญถึงสื่ อโฆษณาทางวิทยุ เนื่องจากวิทยุเป็ นสื่ อที่ ั สามารถ พกพาไปได้ทุกแห่งหน และเข้าถึงทุกกลุ่มเป้ าหมาย การโฆษณาสิ นค้าโดยผ่านรายการทาง
  • 5. สถานีวทยุ จึงสามารถเพิ่มยอดขายได้ ดังนั้น อาชีพนักจัดรายการจึงเป็ นที่น่าสนใจสาหรับผูที่สนใจ ิ ้ จะใช้เป็ นงานประจา หรื อเป็ นอาชีพเสริ ม อาชีพทีเ่ กียวเนื่องนักจัดรายการวิทยุอาจเปลี่ยนอาชีพเป็ น นักจัดกิจกรรมส่ งเสริ มการขาย ่ พิธีกรโทรทัศน์ และพิธีกรเวทีการแสดง นักพากย์บทภาพยนตร์ นักพากย์ อัดเสี ยงการโฆษณา สิ นค้าทางวิทยุหรื อโทรทัศน์ นักเขียน นักจัดรายการเวทีเพลง หรื อพิธีกรทางเคเบิ้ลทีวี นักแสดง ภาพยนตร์และโทรทัศน์ มีนกจัดรายการหลายคนที่มีอาชีพประจาอย่างอื่น เช่น นักวิชาการ - ั อาจารย์มหาวิทยาลัย นักข่าว ผลิตสารคดีท้ งทางสถานีวทยุ และโทรทัศน์ ฯลฯ ั ิ แหล่ งข้ อมูลอืน ๆเว็บไซต์บริ การจัดหางาน ข่าวบริ การทางโทรทัศน์ กรมประชาสัมพันธ์ ่ รายการวิทยุ การจัดประเภทมาตรฐานอาชีพ (ประเทศไทย) ดีเจ จัดเป็ นอีกหนึ่งอาชีพที่ได้รับความสนใจอย่างสู งในหมูวยรุ่ น เพราะงานที่มีลกษณะ ่ ั ั เป็ นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ต้องคลุกคลีอยูกบดนตรี และเสี ยงเพลงอันหลากหลาย ซึ่ งวัยรุ่ นไม่วาจะยุค ่ ั ่ ใดสมัยใด ย่อมให้ความสาคัญและชื่นชอบในเสี ยงเพลงเสมอ เรี ยกได้วาวัยรุ่ นกับเพลงเป็ นของคู่กน ่ ั จนแยกกันไม่ออก เส้ นทางการเข้ าสู่ ถนนสาย ดีเจส่ วนใหญ่จะต้องผ่านขั้นตอนการประกวดจัดรายการ เพื่อเป็ น ้ ่ ใบเบิกทางก่อนเข้าทางาน แต่ถาคิดว่ามีคุณสมบัติเจ๋ งอยูแล้ว จะไปสมัครที่สถานีวทยุโดยตรงเลยก็ ิ ได้ เพราะหากเป็ นจังหวะเวลาที่สถานีวทยุกาลังต้องการ ดีเจ อาจฟลุกได้รับการพิจารณาจ้างงานก็ ิ ได้ ขั้นตอนการเข้าประกวดจัดรายการ ผูสมัครทุกคนต้องทาตัวอย่างการจัดรายการวิทยุความ ้ ยาวไม่เกิน 30 นาที มาสาธิ ตให้กรรมการพิจารณาซึ่ งรู ปแบบรายการจะให้ผสมัครเป็ นผูกาเนิด และ ู้ ้ คิดสร้างสรรค์รายการให้เข้ากับบุคลิกของตัวเองมากที่สุด เพราะผูชนะ คือ ผูที่จดรายการแล้ว ้ ้ ั สนุกสนาน ไม่ประหม่าเล่นเพลงไม่สะดุด ดูเป็ นธรรมชาตินนเอง ั่
  • 6. คุณสมบัติของดีเจ ไม่จาเป็ นต้องเรี ยนจบนิเทศศาสตร์ ขอให้มีใจรักในงานเพลงพูดจาฉะฉาน สามารถพูดคนเดียวได้ แก้ปัญหาเฉพาะหน้าดี ตรงต่อเวลา ไม่มองโลกในแง่ร้าย ออกเสี ยงคาควบ กล้ าถูกต้อง และต้องมีใบอนุญาตการเป็ นผูประกาศรายการวิทยุจากกรมประชาสัมพันธ์ ้ การทางานของดีเจ ส่ วนใหญ่ทางานทุกวัน ๆ ละไม่เกิน 4 ชัวโมง อาทิ 05.00 – 07.00 น. ่ เป็ นเวลาที่เหมาะสาหรับดีเจมือใหม่ เพราะคนฟังไม่มาก 06.00 – 10.00 น. 16.00 – 20.00 น. เป็ น ช่วงเวลาไพร์ ไทม์ที่มีคนฟังมากที่สุด ในระหว่างการทาหน้าที่ 4 ชัวโมงเต็ม ดีเจ แต่ละคนจะ ่ เลือกสรรงานเพลงตามสไตล์ของแต่ละสถานีวทยุ ซึ่ งรู ปแบบรายการที่ ดีเจ ส่ วนใหญ่เลือกใช้พอจะ ิ แบ่งได้ 3 ประเภท คือ 1. CHR (Contemporary Hits Radio) เป็ นรู ปแบบวัยรุ่ น เปิ ดเพลงฮิต เพลงมี จังหวะ 2. AC (Adulf Contemporary ) รู ปแบบเพลง Easy listening และ 3. Hot AC (Hot Adult Contempory) เป็ นเพลงสไตล์ผใหญ่ มีจงหวะบ้าง ู้ ั การเล่นเพลงแต่ ละครั้ง ดีเจ จะเลือกเปิ ดเพลงผสมผสานกัน เช่น เล่นเพลงฮอตฮิต และเพลง ใหม่ที่คนยังไม่รู้จกไปพร้อมกัน สลับกับการเล่นเกม และการพูดคุยกับคนฟังเพลงด้วย เฉลี่ยแล้วทุก ั 1 ชัวโมง ดีเจ สามารถเปิ ดเพลงได้ 12 เพลง ถ้าทางาน 4 ชัวโมง ดีเจ สามารถเล่นเพลงได้ถึง 48 เพลง ่ ่ ทั้งนี้ก่อนเข้างาน 15 นาที ดีเจ จะต้องเตรี ยมความพร้อมเพื่อดูสคริ ปต์ หรื อเนื้อหาก่อนออกรายการ สดทุกครั้ง
  • 7. สาหรับรายได้ ค่าตอบแทนที่ได้รับนั้น บริ ษทจะคิดให้เป็ นรายชัวโมง ถ้าเป็ นดีเจหน้าใหม่ได้ ั ่ ชัวโมงละ 200 บาท ขณะที่ ดีเจมีประสบการณ์จะได้เพิ่มขึ้นแตกต่างกันไป แต่สูงสุ ดไม่เกินชัวโมง ่ ่ ละ 2,000 บาท ส่ วนสวัสดิการ มีให้ต้ งแต่ประกันสังคม กองทุนสารองเลี้ยงชีพ และวันหยุด วันลา อย่างไรก็ ั ตาม อาชีพดีเจ บริ ษทส่ วนใหญ่จะจ้างงานในลักษณะฟรี แลนด์ หรื อทาสัญญาจ้างงานปี ต่อปี ทาให้ ั เกิดความไม่มนคงในการทางาน เพราะบริ ษทหรื อนายจ้างอาจบอกเลิกจ้างวันไหนก็ได้ ถ้าผลงานไม่ ั่ ั เข้าเป้ า โดยมีการประเมินผลงานจาก เรตติ้งของรายการวิทยุทุกเดือน “ดาด้า” วริ นดา ดารงผล อายุ 24 ปี ดีเจสาวอารมณ์ดี คลื่น 95.5 เล่าว่า ทางาน ดีเจ มา 5 ปี เต็ม รู ้สึกว่าเหมาะกับตัวเองดี เพราะเป็ นคนรักเสี ยงเพลง ชอบพูด หัวเราะง่าย ดาด้า มองว่า อาชีพดีเจ เดี๋ยวนี้แข่งขันกันสู ง มีการนาระบบการตลาดเข้ามาเกี่ยวข้อง เพราะ ่ ั เป็ นกลยุทธ์ที่จะดึงดูดคนฟังได้มาก ดีเจจึงไม่สามารถหยุดอยูกบที่ได้ ต้องพัฒนาตัวเองให้ทนต่อ ั ่ การเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา งานที่ทาอยูจะมีการเช็กเรตติ้งเป็ นระยะ ขณะนี้ติดชาร์ ตอันดับ 1 มา 2 เดือนแล้ว เราจึงต้องรักษามาตรฐานการทางานให้อยูอนดับท็อปเสมอ เพราะที่นี่ค่อนข้างซี เรี ยส ถ้า ่ ั อันดับตก และพบว่าเป็ นความผิดพลาดของดีเจ จะตักเตือนก่อน แต่หากไม่ปรับปรุ งก็ถูกย้ายให้ไป จัดรายการในช่วงเวลาอื่น หรื ออาจปรับออกจากงานเลยก็มี การเป็ นดีเจ ต้องอาศัยเวลาอย่างน้อย 2 ปี กว่าทุกอย่างจะลงตัว พอจะสร้างเอกลักษณ์ให้ ตัวเองได้ แต่ไม่ใช่การไปลอกเลียนแบบใคร ดาด้า เองมีจุดขายตรงเป็ นคนหัวเราะเก่ง มีเทคนิคว่าจะ พูดไปยิมไป รักษาสุ ขภาพ พักผ่อนให้เพียงพอ ไม่เที่ยวกลางคืน สิ่ งเหล่านี้ทาให้เสี ยงสวยขึ้น ้ งานดีเจ ถือเป็ นศิลปะอย่างหนึ่งที่จะพูดกับคนฟังแบบรายการสด บางครั้งถ้ามีกรณี รับสาย
  • 8. หน้าไมค์ แล้วคนทางบ้านพูดไม่เหมาะสม เราต้องแก้ไขสถานการณ์ได้ เพราะมันเกิดได้ทุกเวลา ั หรื ออย่างเวลาเข้าข่าวในรายการ ก็ตองคานวณเวลาข่าวให้เป๊ ะ ๆ ซึ่ งจะคิดเวลาเป็ นวินาทีกนเลย จะ ้ พลาดไม่ได้ ทุกวันนี้ ดาด้า จัดรายการเวลา 4 โมงเย็นทั้งวันจันทร์ – วันอาทิตย์ รายได้ที่รับมาก็พอสมควร แถมยังมีเวลาเหลือสามารถรับงานเป็ นพิธีกร และสอนนักศึกษาตามมหาวิทยาลัยได้อีก ดีเจ นับเป็ นอีกหนึ่งอาชีพที่ทาทายความสามารถของคนรุ่ นใหม่ ซึ่ งหลายคนวาดฝันที่จะก้าว ้ ่ เข้าไปยืนอยูบนจุดนี้ ดังนั้นอย่ารี รอ ขอให้เริ่ มเดินหน้าสานฝันต่อไป สักวันหนึ่งโอกาสจะเป็ นของ คุณอย่างแน่นอน
  • 9. บรรณานุกรม <http://www.gotoknow.org/blog/500-417/13633> 7 สิ งหาคม 54 <http://www.งานวันนี้.com> 7 สิ งหาคม 54