SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  5
Télécharger pour lire hors ligne
ไลเคน
บทนำ
ไลเคนเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็กและมีรูปลักษณ์ที่หลากหลายมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า แต่
ส่วนมากคนทั่วไปไม่เข้าใจว่าสิ่งที่เห็นนั้นคืออะไร บางคนเรียกว่าขี้กลากต้นไม้ ซึ่งแท้จริง
แล้ว คือ ไลเคน พวกครัสโตส (crustose) ที่มีลักษณะคล้ายฝุ่นผงเกาะอยู่ตามลาต้นไม้
กิ่งไม้หรือบนหิน (แต่ไม่เรียกว่าขี้กลากหิน) ส่วนไลเคนที่มีขนาดใหญ่ขึ้นมาอีก ชาวบ้าน
อาจเรียกว่าฝอยลม ซึ่งก็คือ ไลเคนพวกฟรุทติโคส (fruticose) นั่นเอง
ไลเคนเกิดจากรา (fungus) และสาหร่าย (algae) มาอยู่ร่วมกันแบบพึ่งพาอาศัยกัน และ
เกิดเป็นสิ่งมีชีวิตใหม่ที่มีรูปร่างแตกต่างจากต้นกาเนิดโดยสิ้นเชิง บางชนิดมีสีสันเจิดจ้า
มาก
เช่น สีส้ม สีเหลือง แต่ส่วนมากมีสีเขียว เทา หรือ สีขาวอมเทา
ชีวิตของไลเคน
พบไลเคนได้ที่ไหน?
ไลเคนเติบโตได้ทั่วไปตั้งแต่หนาวจัดแบบขั้วโลก เช่น ที่ทวีปแอนตาร์คติค
(Antarctic) ซึ่งตั้งอยู่ที่ละติจูด 86 องศาใต้จนถึงร้อนและแห้งแล้งแบบ
ทะเลทราย (desert) รวมถึงร้อนชื้น (humid tropic) จากชายฝั่งทะเลจนถึง
เทือกเขาสูง เช่น เอเวอเรส (Everest) ซึ่งสูงถึง 7,500 เมตร ก็พบไลเคน
แต่ไลเคนไม่สามารถเติบโตได้ในที่ๆ มีมลภาวะทางอากาศเลวร้าย
ที่เกำะอำศัย (substrate) ของไลเคน
ไลเคนอาศัยเกาะอยู่กับผิวหน้าของสิ่งต่างๆ ที่พบเสมอ คือกิ่ง ลาต้น
ของต้นไม้ ตามหิน เป็นต้น นอกจากนี้ยังพบไลเคนเกาะอาศัยอยู่บน
ผิวหน้าของวัตถุต่างๆ เช่น แผ่นป้ายโลหะ ผนังคอนกรีต หลังคา
กระเบื้อง ขวดแก้ว
ไลเคนไม่ทาอันตรายต่อสิ่งที่เกาะอาศัย เนื่องจากไลเคนสร้างสาร
อินทรีย์เพื่อใช้ในการเติบโตได้เองโดยสาหร่ายใช้แร่ธาตุสารอนินทรีย์ที่
ละลายอยู่ในน้าฝน หมอก น้าค้างและคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) จาก
บรรยากาศในการ สังเคราะห์แสงสร้างอาหารแล้วแบ่งอาหารให้ราใช้ใน
การเติบโต ส่วนราก็ใช้เส้นใยช่วยดูดซับน้าให้สาหร่ายและปกป้อง
สาหร่ายจากอันตรายต่าง ๆ เช่น แสงที่จัดจ้า
Trentepohlia
สำหร่ำยในไลเคน (Photobiont)
สาหร่ายในไลเคนเรียกว่า โฟโตไบออนท์ (photobionts)มีประมาณ 40
สกุล 100 ชนิด (Ischermak-Waess,1988) ส่วนใหญ่เป็นสาหร่ายสีเขียว
(Division Chlorophyta) genus ที่พบบ่อย ได้แก่
Trebouxia,Trentepohlia, Stichococcus และ Myrmecia
สาหร่ายที่พบในไลเคนสามารถมีชีวิตอยู่ได้อย่างอิสระตามธรรมชาติ
Trebouxia sp
(free living) ยกเว้น Trebouxia sp. ที่พบเฉพาะในไลเคนเท่านั้น แทบไม่พบ
อยู่อย่างอิสระตามธรรมชาติเลย และพบว่าไลเคนประมาณร้อยละ 20-
50 มี Trebouxia เป็นโฟโตไบออนท์
Scytonema
Nostoc
ไลเคนที่มีสาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน หรือ
cyanobacteria เป็นโฟโตไบออนท์มีประมาณ 8%
ซึ่งสาหร่ายที่พบ ได้แก่ Nostoc, Scytonema,
Stigonema, Gloeocapsa, Chlorococcus
เป็นต้น
ไลเคนที่มีสาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงินเป็นโฟโตไบออนท์
ส่วนมากมีลักษณะเป็นสีเขียวเข้ม ถ้ามี Nostoc อยู่ด้วย
ไลเคนมีสีดาคล้ายเห็ดหูหนู ซึ่งลื่นเมื่อเปียกน้า จึงเรียก
ไลเคนพวกนี้ว่า gelatinous lichen
รำในไลเคน (Mycobiont)
ราอาจจาแนกออกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ ราที่เติบโตอยู่กัไลเคนได้เท่านั้น เรียกว่า lichenized fungi
ราพวกนี้ ไม่พบอยู่ตามธรรมชาติ แต่มีชีวิตอยู่ได้ด้วยการสัมพันธ์กับสาหร่ายในไลเคนเท่านั้น
อีกกลุ่มหนึ่ง ได้แก่ ราที่ไม่ได้สัมพันธ์อยู่กับไลเคน แต่เติบโตอยู่ได้ทั่วๆ ไปเรียกว่า non-lichenized
fungi ราทั้งหมดที่พบแล้วในโลกนี้มีประมาณ 64,200 ชนิด เป็นราที่ก่อให้เกิดไลเคนถึง 13,500
ชนิดหรือประมาณ 21% โดยเป็นราใน Class Ascomycetes เกือบทั้งหมด มีเพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่
เป็นราใน Class Basidiomycetes และ Deuteromycetes พบว่าราใน Class Ascomycetes มีประมาณ
28,000 ชนิด ครึ่งหนึ่งของราใน Class นี้เป็น lichenized fungi (Hawksworth 1985 from Tehler 1996)
รูปร่ำงลักษณะของไลเคน
(Morphology of Lichen Thallus)
ครัสโตส
(Crustose)
โฟลิโอส (Foliose)
ฟรุทติโคส
(Fruticose)
เมื่อราและสาหร่ายมาสัมพันธ์กันเกิดเป็นไลเคนซึ่งเป็นสิ่งมี
ชีวิตใหม่ที่มีรูปร่างลักษณะแตกต่างจากต้นกาเนิดโดย
สิ้นเชิง
รูปร่างลักษณะไลเคนอาจจาแนกได้เป็นกลุ่มใหญ่ๆ ได้ 3
กลุ่ม คือ
 ครัสโตส (Crustose) ลักษณะเป็นฝุ่นผงติดแน่น
อยู่กับพื้นที่เกาะอาศัย (substrate)
 โฟลิโอส (Foliose) ลักษณะเป็นแผ่นเกาะอยู่กับ
ที่อาศัยหลวมๆ อาจเลาะให้หลุดออกมาจากพื้นที่
เกาะอาศัย ได้ไม่ยากนัก
 ฟรุทติโคส (Fruticose) เป็นพุ่มหรือเส้นสาย
อาจมีโฮลด์ฟาสยึดติดกับที่อาศัยด้วยโฮลด์ฟาส มี
ส่วนอื่นๆ สัมผัสอากาศเต็มที่
นอกจากนี้ยังมีโครงสร้างบางอย่างที่ไม่เหมือนกับทั้ง 3 ลักษณะข้างต้น แต่อาจจะ
ประกอบด้วยลักษณะที่ผสมผสานกันของลักษณะต่างๆ โครงสร้างเหล่านี้ ได้แก่
สแควมูล
(squamule)
พลำคอย
(Placoid)
 สแควมูล (squamule) ลักษณะ
เป็นเกล็ดคล้ายใบไม้ขนาดจิ๋ว
 พลำคอย (Placoid) มี
ส่วนกลางที่คล้ายครัสโตส
โดยติดกับพื้นที่เกาะอาศัย
แนบแน่น ส่วนด้านขอบยกนูน
คล้ายแผ่น

Contenu connexe

Plus de Sirin Amornsrisatja

ข้อสอบO net 53 ภาษาอังกฤษ ม 6
ข้อสอบO net 53 ภาษาอังกฤษ ม 6ข้อสอบO net 53 ภาษาอังกฤษ ม 6
ข้อสอบO net 53 ภาษาอังกฤษ ม 6Sirin Amornsrisatja
 
ข้อสอบ O net 53 สังคมศึกษา ม 6
ข้อสอบ O net 53 สังคมศึกษา ม 6ข้อสอบ O net 53 สังคมศึกษา ม 6
ข้อสอบ O net 53 สังคมศึกษา ม 6Sirin Amornsrisatja
 
ข้อสอบ O net 53 เทคโนโลยี ม 6
ข้อสอบ O net 53 เทคโนโลยี ม 6ข้อสอบ O net 53 เทคโนโลยี ม 6
ข้อสอบ O net 53 เทคโนโลยี ม 6Sirin Amornsrisatja
 
ข้อสอบ O net 52 เทคโนโลยี ม 6
ข้อสอบ O net 52 เทคโนโลยี ม 6ข้อสอบ O net 52 เทคโนโลยี ม 6
ข้อสอบ O net 52 เทคโนโลยี ม 6Sirin Amornsrisatja
 
ข้อสอบ O net 51 เทคโนโลยี ม 6
ข้อสอบ O net 51 เทคโนโลยี ม 6ข้อสอบ O net 51 เทคโนโลยี ม 6
ข้อสอบ O net 51 เทคโนโลยี ม 6Sirin Amornsrisatja
 
ข้อสอบ O net 50 เทคโนโลยี ม 6
ข้อสอบ O net 50 เทคโนโลยี ม 6ข้อสอบ O net 50 เทคโนโลยี ม 6
ข้อสอบ O net 50 เทคโนโลยี ม 6Sirin Amornsrisatja
 
เฉลย O net 53 เทคโนโลยี ม 6
เฉลย O net 53 เทคโนโลยี ม 6เฉลย O net 53 เทคโนโลยี ม 6
เฉลย O net 53 เทคโนโลยี ม 6Sirin Amornsrisatja
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-16 S2L41
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-16 S2L41โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-16 S2L41
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-16 S2L41Sirin Amornsrisatja
 
7 สามัญ อังกฤษ เฉลย
7 สามัญ อังกฤษ เฉลย7 สามัญ อังกฤษ เฉลย
7 สามัญ อังกฤษ เฉลยSirin Amornsrisatja
 
7 สามัญ สังคม
7 สามัญ สังคม7 สามัญ สังคม
7 สามัญ สังคมSirin Amornsrisatja
 
7 สามัญ ภาษาไทย
7 สามัญ ภาษาไทย7 สามัญ ภาษาไทย
7 สามัญ ภาษาไทยSirin Amornsrisatja
 
7 สามัญ คณิต เฉลย
7 สามัญ คณิต เฉลย7 สามัญ คณิต เฉลย
7 สามัญ คณิต เฉลยSirin Amornsrisatja
 
7 สามัญ ชีววิทยา
7 สามัญ ชีววิทยา7 สามัญ ชีววิทยา
7 สามัญ ชีววิทยาSirin Amornsrisatja
 
7 สามัญ ฟิสิกส์ เฉลย
7 สามัญ ฟิสิกส์ เฉลย7 สามัญ ฟิสิกส์ เฉลย
7 สามัญ ฟิสิกส์ เฉลยSirin Amornsrisatja
 
รูปแบบและตัวอย่างข้อสอบ 7 วิชาสามัญ
รูปแบบและตัวอย่างข้อสอบ 7 วิชาสามัญรูปแบบและตัวอย่างข้อสอบ 7 วิชาสามัญ
รูปแบบและตัวอย่างข้อสอบ 7 วิชาสามัญSirin Amornsrisatja
 

Plus de Sirin Amornsrisatja (18)

ข้อสอบO net 53 ภาษาอังกฤษ ม 6
ข้อสอบO net 53 ภาษาอังกฤษ ม 6ข้อสอบO net 53 ภาษาอังกฤษ ม 6
ข้อสอบO net 53 ภาษาอังกฤษ ม 6
 
ข้อสอบ O net 53 สังคมศึกษา ม 6
ข้อสอบ O net 53 สังคมศึกษา ม 6ข้อสอบ O net 53 สังคมศึกษา ม 6
ข้อสอบ O net 53 สังคมศึกษา ม 6
 
ข้อสอบ O net 53 เทคโนโลยี ม 6
ข้อสอบ O net 53 เทคโนโลยี ม 6ข้อสอบ O net 53 เทคโนโลยี ม 6
ข้อสอบ O net 53 เทคโนโลยี ม 6
 
ข้อสอบ O net 52 เทคโนโลยี ม 6
ข้อสอบ O net 52 เทคโนโลยี ม 6ข้อสอบ O net 52 เทคโนโลยี ม 6
ข้อสอบ O net 52 เทคโนโลยี ม 6
 
ข้อสอบ O net 51 เทคโนโลยี ม 6
ข้อสอบ O net 51 เทคโนโลยี ม 6ข้อสอบ O net 51 เทคโนโลยี ม 6
ข้อสอบ O net 51 เทคโนโลยี ม 6
 
ข้อสอบ O net 50 เทคโนโลยี ม 6
ข้อสอบ O net 50 เทคโนโลยี ม 6ข้อสอบ O net 50 เทคโนโลยี ม 6
ข้อสอบ O net 50 เทคโนโลยี ม 6
 
เฉลย O net 53 เทคโนโลยี ม 6
เฉลย O net 53 เทคโนโลยี ม 6เฉลย O net 53 เทคโนโลยี ม 6
เฉลย O net 53 เทคโนโลยี ม 6
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-16 S2L41
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-16 S2L41โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-16 S2L41
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-16 S2L41
 
7 สามัญ อังกฤษ เฉลย
7 สามัญ อังกฤษ เฉลย7 สามัญ อังกฤษ เฉลย
7 สามัญ อังกฤษ เฉลย
 
7 สามัญ สังคม
7 สามัญ สังคม7 สามัญ สังคม
7 สามัญ สังคม
 
7 สามัญ ภาษาไทย
7 สามัญ ภาษาไทย7 สามัญ ภาษาไทย
7 สามัญ ภาษาไทย
 
7 สามัญ คณิต เฉลย
7 สามัญ คณิต เฉลย7 สามัญ คณิต เฉลย
7 สามัญ คณิต เฉลย
 
7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิต7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิต
 
7 สามัญ ชีววิทยา
7 สามัญ ชีววิทยา7 สามัญ ชีววิทยา
7 สามัญ ชีววิทยา
 
วิชาเคมี
วิชาเคมีวิชาเคมี
วิชาเคมี
 
7 สามัญ ฟิสิกส์ เฉลย
7 สามัญ ฟิสิกส์ เฉลย7 สามัญ ฟิสิกส์ เฉลย
7 สามัญ ฟิสิกส์ เฉลย
 
รูปแบบและตัวอย่างข้อสอบ 7 วิชาสามัญ
รูปแบบและตัวอย่างข้อสอบ 7 วิชาสามัญรูปแบบและตัวอย่างข้อสอบ 7 วิชาสามัญ
รูปแบบและตัวอย่างข้อสอบ 7 วิชาสามัญ
 
Blog
BlogBlog
Blog
 

ไลเคน

  • 1. ไลเคน บทนำ ไลเคนเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็กและมีรูปลักษณ์ที่หลากหลายมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า แต่ ส่วนมากคนทั่วไปไม่เข้าใจว่าสิ่งที่เห็นนั้นคืออะไร บางคนเรียกว่าขี้กลากต้นไม้ ซึ่งแท้จริง แล้ว คือ ไลเคน พวกครัสโตส (crustose) ที่มีลักษณะคล้ายฝุ่นผงเกาะอยู่ตามลาต้นไม้ กิ่งไม้หรือบนหิน (แต่ไม่เรียกว่าขี้กลากหิน) ส่วนไลเคนที่มีขนาดใหญ่ขึ้นมาอีก ชาวบ้าน อาจเรียกว่าฝอยลม ซึ่งก็คือ ไลเคนพวกฟรุทติโคส (fruticose) นั่นเอง ไลเคนเกิดจากรา (fungus) และสาหร่าย (algae) มาอยู่ร่วมกันแบบพึ่งพาอาศัยกัน และ เกิดเป็นสิ่งมีชีวิตใหม่ที่มีรูปร่างแตกต่างจากต้นกาเนิดโดยสิ้นเชิง บางชนิดมีสีสันเจิดจ้า มาก เช่น สีส้ม สีเหลือง แต่ส่วนมากมีสีเขียว เทา หรือ สีขาวอมเทา
  • 2. ชีวิตของไลเคน พบไลเคนได้ที่ไหน? ไลเคนเติบโตได้ทั่วไปตั้งแต่หนาวจัดแบบขั้วโลก เช่น ที่ทวีปแอนตาร์คติค (Antarctic) ซึ่งตั้งอยู่ที่ละติจูด 86 องศาใต้จนถึงร้อนและแห้งแล้งแบบ ทะเลทราย (desert) รวมถึงร้อนชื้น (humid tropic) จากชายฝั่งทะเลจนถึง เทือกเขาสูง เช่น เอเวอเรส (Everest) ซึ่งสูงถึง 7,500 เมตร ก็พบไลเคน แต่ไลเคนไม่สามารถเติบโตได้ในที่ๆ มีมลภาวะทางอากาศเลวร้าย ที่เกำะอำศัย (substrate) ของไลเคน ไลเคนอาศัยเกาะอยู่กับผิวหน้าของสิ่งต่างๆ ที่พบเสมอ คือกิ่ง ลาต้น ของต้นไม้ ตามหิน เป็นต้น นอกจากนี้ยังพบไลเคนเกาะอาศัยอยู่บน ผิวหน้าของวัตถุต่างๆ เช่น แผ่นป้ายโลหะ ผนังคอนกรีต หลังคา กระเบื้อง ขวดแก้ว ไลเคนไม่ทาอันตรายต่อสิ่งที่เกาะอาศัย เนื่องจากไลเคนสร้างสาร อินทรีย์เพื่อใช้ในการเติบโตได้เองโดยสาหร่ายใช้แร่ธาตุสารอนินทรีย์ที่ ละลายอยู่ในน้าฝน หมอก น้าค้างและคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) จาก บรรยากาศในการ สังเคราะห์แสงสร้างอาหารแล้วแบ่งอาหารให้ราใช้ใน การเติบโต ส่วนราก็ใช้เส้นใยช่วยดูดซับน้าให้สาหร่ายและปกป้อง สาหร่ายจากอันตรายต่าง ๆ เช่น แสงที่จัดจ้า Trentepohlia สำหร่ำยในไลเคน (Photobiont) สาหร่ายในไลเคนเรียกว่า โฟโตไบออนท์ (photobionts)มีประมาณ 40 สกุล 100 ชนิด (Ischermak-Waess,1988) ส่วนใหญ่เป็นสาหร่ายสีเขียว (Division Chlorophyta) genus ที่พบบ่อย ได้แก่ Trebouxia,Trentepohlia, Stichococcus และ Myrmecia สาหร่ายที่พบในไลเคนสามารถมีชีวิตอยู่ได้อย่างอิสระตามธรรมชาติ
  • 3. Trebouxia sp (free living) ยกเว้น Trebouxia sp. ที่พบเฉพาะในไลเคนเท่านั้น แทบไม่พบ อยู่อย่างอิสระตามธรรมชาติเลย และพบว่าไลเคนประมาณร้อยละ 20- 50 มี Trebouxia เป็นโฟโตไบออนท์ Scytonema Nostoc ไลเคนที่มีสาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน หรือ cyanobacteria เป็นโฟโตไบออนท์มีประมาณ 8% ซึ่งสาหร่ายที่พบ ได้แก่ Nostoc, Scytonema, Stigonema, Gloeocapsa, Chlorococcus เป็นต้น ไลเคนที่มีสาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงินเป็นโฟโตไบออนท์ ส่วนมากมีลักษณะเป็นสีเขียวเข้ม ถ้ามี Nostoc อยู่ด้วย ไลเคนมีสีดาคล้ายเห็ดหูหนู ซึ่งลื่นเมื่อเปียกน้า จึงเรียก ไลเคนพวกนี้ว่า gelatinous lichen รำในไลเคน (Mycobiont) ราอาจจาแนกออกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ ราที่เติบโตอยู่กัไลเคนได้เท่านั้น เรียกว่า lichenized fungi ราพวกนี้ ไม่พบอยู่ตามธรรมชาติ แต่มีชีวิตอยู่ได้ด้วยการสัมพันธ์กับสาหร่ายในไลเคนเท่านั้น อีกกลุ่มหนึ่ง ได้แก่ ราที่ไม่ได้สัมพันธ์อยู่กับไลเคน แต่เติบโตอยู่ได้ทั่วๆ ไปเรียกว่า non-lichenized fungi ราทั้งหมดที่พบแล้วในโลกนี้มีประมาณ 64,200 ชนิด เป็นราที่ก่อให้เกิดไลเคนถึง 13,500 ชนิดหรือประมาณ 21% โดยเป็นราใน Class Ascomycetes เกือบทั้งหมด มีเพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่ เป็นราใน Class Basidiomycetes และ Deuteromycetes พบว่าราใน Class Ascomycetes มีประมาณ 28,000 ชนิด ครึ่งหนึ่งของราใน Class นี้เป็น lichenized fungi (Hawksworth 1985 from Tehler 1996)
  • 4. รูปร่ำงลักษณะของไลเคน (Morphology of Lichen Thallus) ครัสโตส (Crustose) โฟลิโอส (Foliose) ฟรุทติโคส (Fruticose) เมื่อราและสาหร่ายมาสัมพันธ์กันเกิดเป็นไลเคนซึ่งเป็นสิ่งมี ชีวิตใหม่ที่มีรูปร่างลักษณะแตกต่างจากต้นกาเนิดโดย สิ้นเชิง รูปร่างลักษณะไลเคนอาจจาแนกได้เป็นกลุ่มใหญ่ๆ ได้ 3 กลุ่ม คือ  ครัสโตส (Crustose) ลักษณะเป็นฝุ่นผงติดแน่น อยู่กับพื้นที่เกาะอาศัย (substrate)  โฟลิโอส (Foliose) ลักษณะเป็นแผ่นเกาะอยู่กับ ที่อาศัยหลวมๆ อาจเลาะให้หลุดออกมาจากพื้นที่ เกาะอาศัย ได้ไม่ยากนัก  ฟรุทติโคส (Fruticose) เป็นพุ่มหรือเส้นสาย อาจมีโฮลด์ฟาสยึดติดกับที่อาศัยด้วยโฮลด์ฟาส มี ส่วนอื่นๆ สัมผัสอากาศเต็มที่
  • 5. นอกจากนี้ยังมีโครงสร้างบางอย่างที่ไม่เหมือนกับทั้ง 3 ลักษณะข้างต้น แต่อาจจะ ประกอบด้วยลักษณะที่ผสมผสานกันของลักษณะต่างๆ โครงสร้างเหล่านี้ ได้แก่ สแควมูล (squamule) พลำคอย (Placoid)  สแควมูล (squamule) ลักษณะ เป็นเกล็ดคล้ายใบไม้ขนาดจิ๋ว  พลำคอย (Placoid) มี ส่วนกลางที่คล้ายครัสโตส โดยติดกับพื้นที่เกาะอาศัย แนบแน่น ส่วนด้านขอบยกนูน คล้ายแผ่น