SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
พื้นฐานภาษาจาวา
ประวัติความเป็ นมา
เป็ นภาษาทีถูกพัฒนาโดย Dr.Jame Gosling
บริ ษัท Sun Microsystems เดิมทีชือ ภาษาโอ๊ ค (Oak) เป็ นชือ
ต้ นไม้ ใหญ่ทีอยูในบริ เวณบ้ าน ทีทีมวิศวกรของซัน ทํางานอยู่ นํามาใช้ ในการ
่
พัฒนาโปรแกรมขนาดจิ0วสําหรับ อุปกรณ์ เครื องใช้ อิเล็คทรอนิกส์ ได้ ทําการ
พัฒนาต่อมาเรื อยๆ และได้ เปลียนชือใหม่เป็ น ภาษาจาวา (Java) ตามชือ
กาแฟทีทีมพัฒนาดืม
จุดเด่น
1) เป็ นภาษาสําหรับการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
(OOP: Object Oriented Programming)
2) Java คือ platform independence หมายความว่า
ความสามารถของโปรแกรมที%เขียนด้วย java
สามารถทํางานได้ในระบบปฏิบติการที%ต่างกัน โดยไม่ตอง
ั
้
ดัดแปลงแก้ไขใหม่
3) Free และ เป็ นโปรแกรมประเภท Open Source
โครงสร้าง ภาษา Java
1. เครื องหมาย ในการควบคุม Structure
1.1 Comment คือข้ อความทีแทรกเข้ าไปในโปรแกรม แต่ไม่มีผลต่อการทํางานของ
โปรแกรม เช่นในกรณีทีเราต้ องการอธิบาย Source code ไว้ ใน โปรแกรม วิธีการคือ
- comment ทีละ บรรทัด ใช้ เครื องหมาย // ตามด้ วยข้ อความทีต้ องการ comment
เช่น
//comment comment
- comment แบบครอบทังข้ อความ ใช้ เครื องหมาย /* ข้ อความทีต้ องการ comment
:
*/ เช่น
/*
Comment
Comment
*/
1.2 Keyword คือคําทีถูกกําหนดไว้ ใช้ เองแล้ วในภาษา Java ไม่สามารถ
นํามาใช้ ในการตังชือภายใน โปรแกรมได้ ตัวอย่างเช่น
:
class,boolean,char เป็ นต้ น
1.3 Identifiers คือชือทีผู้เขียนตังขึ :นมา เพือใช้ แทนอะไรก็ได้ ไม่วาจะเป็ น
:
่
method ,ตัวแปร หรื อ class ชือทีถูกต้ องควรประกอบด้ วย ตัวอักษร ,
ตัวเลข ,_,$ และจะต้ องขึ :นต้ นด้ วย ตัวอักษรเท่านัน
:
ชนิดของโปรแกรม Java
1) Java Application
เป็ นการนําโปรแกรม Java มาเขียนเป็ นโปรแกรมทีสามารถนํามาใช้ งานได้ อย่างอิสระ
2) Java Applets
เป็ นการนํา Java มาเขียนเป็ นโปรแกรมเช่นเดียวกัน แต่ไม่สามารถเรี ยกใช้ งานได้ ตาม
ลําพัง ต้ องนํามาใส่ไว้ ในเอกสาร HTML แล้ วใช้ โปรแกรม Web
Browser หรื อ Utilities ของ Java เพือเรี ยกดูผลลัพธ์
1.4 Separators คือ อักษร หรือ เครืองหมายทีใช้แบ่งแยกคําในภาษา มี
ดังต่อไปนี!
- เครืองหมาย () ใช้สาหรับ
ํ
1. ต่อท้ายชือ method ไว้ให้ใส่ parameter
เช่น private void hello( );
2. ระบุเงือนไขของ if ,while,for ,do
เช่น if ( i=0 )
3. ระบุชอชนิดข้อมูลในการ ทํา casting
ื
เช่น String a=( String )x;
- เครืองหมาย [ ] ใช้สาหรับ
ํ
1. กําหนดตัวแปรแบบ Array
เช่น String a[ ];
2. กําหนดค่า index ของตัวแปร array
เช่น a[ 0 ]=10;
- เครืองหมาย ; ใช้เพือปิ ดประโยค
เช่น String a ;
- เครืองหมาย , ใช้สาหรับ
ํ
1. แยกชือตัวแปรในประโยค
เช่น String a , b , c;
- เครือง หมาย . ใช้สาหรับ
ํ
1. แยกชือ package,subpackage และชือ class
เช่น package com.test.Test1;
2. ใช้เพือเรียกใช้ ตัวแปร หรือ method ของ Object
เช่น object.hello();
- เครื องหมาย{ }ใช้ สําหรับ
กําหนดขอบเขตของ method แล class
เช่น class A{
}
Private void hello(){
}
2. กําหนดค่าเริ มต้ นให้ กับตัวแปร Array
เช่น String a[]={"A","B","C"};
เมธอดแสดงผลทางจอภาพพื :นฐาน
การรับข้ อมูลทางคีย์บอร์ ดในภาษาจาวาจะต้ องสร้ างออบเจ็กต์ของคลาส Scanner ขึ :นมา
โดยจะต้ องประกาศตัวแปรออบเจ็กต์ก่อน เช่น
Scanner keyboard;
ประกาศตัวแปรออบเจ็กต์ชือ keyboard อยู่ในคลาส Scanner จากนัน
:
ต้ องสร้ างออบเจ็กต์มาโดยใช้ คีย์เวิร์ด new มีรูปแบบดังนี :
ตัวแปรออบเจ็กต์ = new ชือคลาส(อาร์ กิวเมนต์);
ดังนันถ้าจะให้ตวแปร keyboard รับค่าทางแป้ นพิมพ์จะต้องสร้างออบเจ็กต์ขนมาโดยให้ม ี
!
ั
!ึ
อาร์ กวเมนต์เป็ น System.in ดังนี!
ิ
keyboard = new Scanner(System.in);
ในคลาส Scanner นันมีเมธอดสําหรับอ่านข้อมูลประเภทต่างๆหลายประเภท
!
ดังนี!
เมธอด
nextByte()
nextDouble()
nextFloat()
nextInt()
nextLine()
nextLong()
nextShort()

การทํางาน
รับข้ อมูลเลขจํานวนเต็มชนิด Byte ทางแปนพิมพ์
้
รับข้ อมูลเลขทศนิยมชนิด Double ทางแปนพิมพ์
้
รับข้ อมูลเลขทศนิยมชนิด Float ทางแปนพิมพ์
้
รับข้ อมูลเลขจํานวนเต็มชนิด Int ทางแปนพิมพ์
้
รับข้ อมูลแบบสตริ งทางแปนพิมพ์
้
รับข้ อมูลตัวเลขชนิด Long ทางแปนพิมพ์
้
รับข้ อมูลตัวเลขชนิด Short ทางแปนพิมพ์
้
ตัวอย่าง
int number;
Scanner keyboard = new Scanner(System.in);
System.out.print(“Enter an integer value: “);
number = keyboard.nextInt();
การใช้ import
ในภาษาจาวาคลาสต่างๆจะถูกรวมไว้ เป็ นแพ็กเกจวึงสามารถเรี ยกใช้ ด้วย
คําสัง import
เพือบอกให้ คอมไพเลอร์ ร้ ุวาจะนําคลาสมาจากทีใด โดยเขียนคําสัง import ไว้ ทีส่วน
่
หัวของโปรแกรม เช่นการใช้ งานคลาส Scanner จะต้ องเขียนดังนี :
import java.util.Scanner
เป็ นการเรี ยกใช้ คลาส Scanner ทีเก็บอยูใน util โดย util นี :เก็บอยูในแพ็กเกจ
่
่
หลักชือ java
ตัวดําเนินการ(Operators) และ ลําดับในการประมวล

ตัวดําเนินการทางคณิตศาสตร์ (Arithmetic Operators)
คือคําสังพื :นฐานในการทีจะสังให้ เครื องคอมพิวเตอร์ ประมวลผลการคํานวณพื :นฐานทาง
คณิตศาสตร์ เช่น การบวก ลบ คูณ หาร ตัวดําเนินการแต่ละตัวจะมีลําดับการประมวลผล
ตามทีกําหนด ดังตาราง และในการประมวลผลจะเริ มทําจากทางซ้ ายไปขวา และจะทําการ
ประมวลผลในวงเล็บก่อน
Operator

รู ปแบบ และการทํางาน ลําดับในการประมวลผล

"*"(Multiply)

หาผลคูณ

1

"/" (Divide)

หาผลหาร

2

"%" (Modulus)

หาเศษทีเหลือจากการหาร

3

"+" (Add)

การบวก

4

"-" (Minus)

op1-op1:การลบ

5
ตัวอย่ าง การใช้ตวดําเนิ นการทางคณิ ตศาสตร์
ั
class BasicMath{
public static void main (String args[]){
int a = 1 + 1; int b = a * 3; int c = b / 4;
int d = b " a; int e = -d; int f = 9%5;
System.out.println("a = " + a);
System.out.println("b = " + b);
System.out.println("c = " + c);
System.out.println("e = " + e);
System.out.println("9%5 = " + 9%5);
}
}
ตัวดําเนินการสัมพันธ์ (Relational Operators)
คือตัวดําเนินการทีทําหน้ าทีเปรี ยบเทียบค่าระหว่างตัวแปรสองตัว หรื อนิพจน์สอง
นิพจน์ โดยจะคืนค่าเป็ นจริ งหรื อเท็จ (Boolean)
Relational Operator

ตัวอย่ าง

<

Op1<Op2 : คืนค่าความเป็ นจริ งถ้ า Op1 น้ อยกว่า Op2

a=(1<3); //aจะมีคาเป็ นจริ ง
่

<=

Op1<=Op2 : คืนค่าความเป็ นจริ งถ้ า Op1 น้ อยกว่า Op2 หรื อ
เท่ากับ Op2

a=(5<=7); //a จะมีคาเป็ นจริ ง
่

>

Op1>Op2 :คืนค่าความเป็ นจริ งถ้ า Op1 มากกว่า Op2

a=(5>7); //a จะมีคาเป็ นจริ ง
่

>=

Op1>=Op2 : คืนค่าความเป็ นจริ งถ้ า Op1 มากกว่า หรื อเท่ากับ
Op2

a=(5>=7); //a จะมีคาเป็ นจริ ง
่

==

Op1==Op2 : คืนค่าความเป็ นจริ งถ้ า Op1 เท่ากับ Op2

a=(5==7); // a จะมีคาเป็ นเท็จเพราะ 5 ไม่
่
เท่ากับ 7

!=

Op1!=Op2 : คืนค่าความเป็ นจริ งถ้ า Op1 ไม่เท่ากับ Op2

a=(5!=7); // a จะมีคาเป็ นจริ ง เพราะ 5 ไม่
่
เท่ากับ 7

":

(expression)"a:b :คือค่าตัว operand a ถ้ า expression
เป็ นจริ ง

a=(3>5)"false:true; //a จะมีคาเป็ นจริ ง
่
เพราะผลการเปรี ยเทียบ 3 มากกว่า 5 เป็ นเท็จ เมือค่าที
ได้ เป็ นเท็จจะเลือกค่า true
ตัวดําเนินการตรรกะ (Logical Operators)

ตัวดําเนิ นการทางตรรกะจะทําประมวลผลกับตัวแปรประเภท Boolean หรื อ นิพจน์ที%
ให้ค่าของข้อมูลเป็ นจริ งหรื อ เท็จ
ค่ าความจริงตัวที ค่ าความจริงตัวที
1
2

ผลการประมวล
แบบ AND

ผลการประมวล
แบบ OR

ผลการประมวล
แบบ XOR

true หรื อ 1

true หรื อ 1

true หรื อ 1

true หรื อ 1

false หรื อ 0

true หรื อ 1

false หรื อ 0

false หรื อ 0

true หรื อ 1

true หรื อ 1

false หรื อ 0

true หรื อ 1

false หรื อ 0

true หรื อ 1

true หรื อ 1

false หรื อ 0

false หรื อ 0

false หรื อ 0

false หรื อ 0

false หรื อ 0
รู ปแบบของ Boolean Operator และตัวอย่างการประมวลผล

Operator

รู ปแบบ และการทํางาน

ตัวอย่ าง

! หรื อ(NOT)

!(Op1) เปลียนค่าความจริ งเป็ นค่าตรงกันข้ าม

a= !(true); // a จะมีค่าเป็ นเท็จ

&&หรื อ(AND)

Op1 && Op2 คืนค่าความจริ งถ้ า Op1 เท่ากับ a= !(true && false); // a
จะมีค่าเป็ นเท็จ
Op2

|| หรื อ (OR)

Op1 || Op2 คืนค่าความจริ ง ถ้ า Op1 ไม่เท่ากับ a= !(true); // a จะมีค่าเป็ นเท็จ
Op2
คลาสสตริ ง
การสร้ าง String
String เป็ น Class หนึงใน Package ของภาษาจาวาชือ java.lang ทํา
หน้ าทีใน การเก็บข้ อมูลทีเป็ น “ชุดของตัวอักษร” ซึงปกติชนิดของข้ อมูลของภาษาจาวาก็มี
ชนิดเป็ น character แต่เก็บข้ อมูลได้ เพียง 1 ตัวอักษรเท่านัน ดังนันจึงลําบากในการ
:
:
นํามาใช้ กบข้ อมูลทีมากกว่า 1 ตัวอักษร หรื อทีเรี ยกว่า “String” ดังนัน ภาษาจาวา
ั
:
จึงได้ สร้ าง Class สําเร็จรูปมาให้ สามารถเรี ยกใช้ ได้ ทนที เรี ยกว่า “String” ทังหมด
ั
:
คือทีมาของคําว่า String Class
การสร้ าง Object เพือใช้ กบ String ได้ 6 รูปแบบคือ
ั
รูปแบบที 1
String ชือObject = new String(ข้ อความ);
รูปแบบที 2
String ชือObject = ข้ อความ;
รูปแบบที 3
String (char chars[]);
เป็ นการสร้าง String ทีนํา Array ชือ Chars มาเป็ นข้อมูลใน String
รูปแบบที 4
String (char chars[], int startIndex, int
numChars);
เป็ นการเก็บข้อมูลเพียงบางส่วนของ Array ไว้ใน String โดยที
startIndex คือกําหนดตําแหน่งเริมต้นใน array ที
ต้องการเก็บ
numChars คือกําหนดจํานวนตัวอักษรทีต้องการเก็บ
โดยนับจาก ตําแหน่งทีระบุใน startIndex
รูปแบบที 5
String (ชือStringเดิม);
เป็ นการสร้ าง String ใหม่โดยใช้ โครงสร้ างของ String เดิม
ผลทีได้ ก็คือ String ใหม่จะมีข้อมูลเดียวกับ String เดิมทีใช้ เป็ นต้ นแบบใน การสร้ าง
รูปแบบที 6
เป็ นการเก็บ Array ของรหัส ASCII ไว้ ใน String
- String (byte asciiChars[]);
อ้างอิง
http://www.sourcecode.in.th/lession.php?no=14&group=3
https://sites.google.com/site/javabasiceaw/home
http://java2see.blogspot.com/2009/08/java-java-structure.html
2
2009/08/

More Related Content

What's hot

Java Programming: โครงสร้างควบคุม
Java Programming: โครงสร้างควบคุมJava Programming: โครงสร้างควบคุม
Java Programming: โครงสร้างควบคุมThanachart Numnonda
 
Java Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุต
Java Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุตJava Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุต
Java Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุตThanachart Numnonda
 
Java Programming [12/12] : Thread
Java Programming [12/12] : ThreadJava Programming [12/12] : Thread
Java Programming [12/12] : ThreadIMC Institute
 
PHP Tutorial (introduction)
PHP Tutorial (introduction)PHP Tutorial (introduction)
PHP Tutorial (introduction)Tinnakorn Puttha
 
Java Programming [4/12] : Object Oriented Concept
Java Programming [4/12] : Object Oriented ConceptJava Programming [4/12] : Object Oriented Concept
Java Programming [4/12] : Object Oriented ConceptIMC Institute
 
Java Programming: หลักการเชิงอ็อบเจกต์
Java Programming: หลักการเชิงอ็อบเจกต์Java Programming: หลักการเชิงอ็อบเจกต์
Java Programming: หลักการเชิงอ็อบเจกต์Thanachart Numnonda
 
Java Programming: อะเรย์และคอลเล็กชั่น
Java Programming: อะเรย์และคอลเล็กชั่นJava Programming: อะเรย์และคอลเล็กชั่น
Java Programming: อะเรย์และคอลเล็กชั่นThanachart Numnonda
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีNattapon
 
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1Little Tukta Lita
 
Java Programming: การจัดการกับข้อผิดพลาด
Java Programming: การจัดการกับข้อผิดพลาดJava Programming: การจัดการกับข้อผิดพลาด
Java Programming: การจัดการกับข้อผิดพลาดThanachart Numnonda
 
Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์
Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์
Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์Thanachart Numnonda
 
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)Visaitus Palasak
 
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา Cการเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา CWarawut
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานNookky Anapat
 
Java Programming [9/12]: Exception Handling
Java Programming [9/12]: Exception HandlingJava Programming [9/12]: Exception Handling
Java Programming [9/12]: Exception HandlingIMC Institute
 

What's hot (20)

Java Programming: โครงสร้างควบคุม
Java Programming: โครงสร้างควบคุมJava Programming: โครงสร้างควบคุม
Java Programming: โครงสร้างควบคุม
 
Java Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุต
Java Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุตJava Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุต
Java Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุต
 
Java Programming [12/12] : Thread
Java Programming [12/12] : ThreadJava Programming [12/12] : Thread
Java Programming [12/12] : Thread
 
Lab Computer Programming 1
Lab Computer Programming 1Lab Computer Programming 1
Lab Computer Programming 1
 
PHP Tutorial (introduction)
PHP Tutorial (introduction)PHP Tutorial (introduction)
PHP Tutorial (introduction)
 
Java Programming [4/12] : Object Oriented Concept
Java Programming [4/12] : Object Oriented ConceptJava Programming [4/12] : Object Oriented Concept
Java Programming [4/12] : Object Oriented Concept
 
Java Programming: หลักการเชิงอ็อบเจกต์
Java Programming: หลักการเชิงอ็อบเจกต์Java Programming: หลักการเชิงอ็อบเจกต์
Java Programming: หลักการเชิงอ็อบเจกต์
 
Java Programming: อะเรย์และคอลเล็กชั่น
Java Programming: อะเรย์และคอลเล็กชั่นJava Programming: อะเรย์และคอลเล็กชั่น
Java Programming: อะเรย์และคอลเล็กชั่น
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
 
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
 
Java Programming: การจัดการกับข้อผิดพลาด
Java Programming: การจัดการกับข้อผิดพลาดJava Programming: การจัดการกับข้อผิดพลาด
Java Programming: การจัดการกับข้อผิดพลาด
 
Lesson5
Lesson5Lesson5
Lesson5
 
Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์
Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์
Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์
 
Python101
Python101Python101
Python101
 
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
 
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา Cการเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
Java Programming [9/12]: Exception Handling
Java Programming [9/12]: Exception HandlingJava Programming [9/12]: Exception Handling
Java Programming [9/12]: Exception Handling
 
3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน
 

Viewers also liked

Basic java need to know for newbie android developer
Basic java need to know for newbie android developerBasic java need to know for newbie android developer
Basic java need to know for newbie android developerAppcodev
 
การแข่งขันการออกแบบสิ่งของเครื่องใช้ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
การแข่งขันการออกแบบสิ่งของเครื่องใช้ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์การแข่งขันการออกแบบสิ่งของเครื่องใช้ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
การแข่งขันการออกแบบสิ่งของเครื่องใช้ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์JK133
 
การสร้าง App ด้วยมือถือ
การสร้าง App ด้วยมือถือการสร้าง App ด้วยมือถือ
การสร้าง App ด้วยมือถือJaemjan Sriarunrasmee
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาPrawwe Papasson
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Thanyalux Kanthong
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา JavaItslvle Parin
 
การคิดโปรเจค โปรแกรมบนมือถือ
การคิดโปรเจค โปรแกรมบนมือถือการคิดโปรเจค โปรแกรมบนมือถือ
การคิดโปรเจค โปรแกรมบนมือถือrubtumproject.com
 
โครงงาน แอนดรอยด์
โครงงาน แอนดรอยด์โครงงาน แอนดรอยด์
โครงงาน แอนดรอยด์teerarat55
 
3 สเต็ปง่ายๆ กับวิธีคิดโปรเจค
3 สเต็ปง่ายๆ กับวิธีคิดโปรเจค3 สเต็ปง่ายๆ กับวิธีคิดโปรเจค
3 สเต็ปง่ายๆ กับวิธีคิดโปรเจคApirak Akarasatthung
 
การสร้างแอพพลิเคชั่นบนแอนดรอยด์
การสร้างแอพพลิเคชั่นบนแอนดรอยด์การสร้างแอพพลิเคชั่นบนแอนดรอยด์
การสร้างแอพพลิเคชั่นบนแอนดรอยด์Apivat Vongkanha
 
การสร้าง Android Application จาก HTML5 ด้วย PhoneGap
การสร้าง Android Application จาก HTML5 ด้วย PhoneGapการสร้าง Android Application จาก HTML5 ด้วย PhoneGap
การสร้าง Android Application จาก HTML5 ด้วย PhoneGapDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)
Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)
Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)Kanda Runapongsa Saikaew
 
พื้นฐานการสร้าง Java
พื้นฐานการสร้าง Javaพื้นฐานการสร้าง Java
พื้นฐานการสร้าง JavaJanë Janejira
 

Viewers also liked (17)

Basic java need to know for newbie android developer
Basic java need to know for newbie android developerBasic java need to know for newbie android developer
Basic java need to know for newbie android developer
 
การแข่งขันการออกแบบสิ่งของเครื่องใช้ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
การแข่งขันการออกแบบสิ่งของเครื่องใช้ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์การแข่งขันการออกแบบสิ่งของเครื่องใช้ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
การแข่งขันการออกแบบสิ่งของเครื่องใช้ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
การสร้าง App ด้วยมือถือ
การสร้าง App ด้วยมือถือการสร้าง App ด้วยมือถือ
การสร้าง App ด้วยมือถือ
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
เมธอด
เมธอดเมธอด
เมธอด
 
บทที่ 2 เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเขียนโปรแกรม java
บทที่ 2 เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเขียนโปรแกรม javaบทที่ 2 เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเขียนโปรแกรม java
บทที่ 2 เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเขียนโปรแกรม java
 
Java2
Java2Java2
Java2
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
 
การคิดโปรเจค โปรแกรมบนมือถือ
การคิดโปรเจค โปรแกรมบนมือถือการคิดโปรเจค โปรแกรมบนมือถือ
การคิดโปรเจค โปรแกรมบนมือถือ
 
โครงงาน แอนดรอยด์
โครงงาน แอนดรอยด์โครงงาน แอนดรอยด์
โครงงาน แอนดรอยด์
 
3 สเต็ปง่ายๆ กับวิธีคิดโปรเจค
3 สเต็ปง่ายๆ กับวิธีคิดโปรเจค3 สเต็ปง่ายๆ กับวิธีคิดโปรเจค
3 สเต็ปง่ายๆ กับวิธีคิดโปรเจค
 
การสร้างแอพพลิเคชั่นบนแอนดรอยด์
การสร้างแอพพลิเคชั่นบนแอนดรอยด์การสร้างแอพพลิเคชั่นบนแอนดรอยด์
การสร้างแอพพลิเคชั่นบนแอนดรอยด์
 
การสร้าง Android Application จาก HTML5 ด้วย PhoneGap
การสร้าง Android Application จาก HTML5 ด้วย PhoneGapการสร้าง Android Application จาก HTML5 ด้วย PhoneGap
การสร้าง Android Application จาก HTML5 ด้วย PhoneGap
 
Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)
Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)
Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)
 
พื้นฐานการสร้าง Java
พื้นฐานการสร้าง Javaพื้นฐานการสร้าง Java
พื้นฐานการสร้าง Java
 

Similar to พื้นฐานภาษาจาวา

แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมลีเบื้องต้น
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมลีเบื้องต้นแนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมลีเบื้องต้น
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมลีเบื้องต้นPhusit Konsurin
 
บทที่ 2 พื้นฐานภาษาจาวา
บทที่ 2 พื้นฐานภาษาจาวาบทที่ 2 พื้นฐานภาษาจาวา
บทที่ 2 พื้นฐานภาษาจาวาKukkik Kanya
 
อยากเขียนโปรแกรมสักตัว เล่ม 1
อยากเขียนโปรแกรมสักตัว เล่ม 1อยากเขียนโปรแกรมสักตัว เล่ม 1
อยากเขียนโปรแกรมสักตัว เล่ม 1Thinnakrit Knoo-Aksorn
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอchupong roddee
 
การสร้างแบบสอบถาม
 การสร้างแบบสอบถาม การสร้างแบบสอบถาม
การสร้างแบบสอบถามkruthanyaporn
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Thank Chiro
 
รายงาน PHP - Know2pro.com
รายงาน PHP - Know2pro.comรายงาน PHP - Know2pro.com
รายงาน PHP - Know2pro.comKnow Mastikate
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซีnative
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีnsumato
 
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถามหน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถามkruthanyaporn
 
Java script เบื้องต้น
Java script เบื้องต้นJava script เบื้องต้น
Java script เบื้องต้นSamart Phetdee
 
Pbl2 นะแนนxปิ้น
Pbl2 นะแนนxปิ้นPbl2 นะแนนxปิ้น
Pbl2 นะแนนxปิ้นDararat Worasut
 

Similar to พื้นฐานภาษาจาวา (20)

แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมลีเบื้องต้น
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมลีเบื้องต้นแนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมลีเบื้องต้น
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมลีเบื้องต้น
 
02 basic
02 basic02 basic
02 basic
 
บทที่ 2 พื้นฐานภาษาจาวา
บทที่ 2 พื้นฐานภาษาจาวาบทที่ 2 พื้นฐานภาษาจาวา
บทที่ 2 พื้นฐานภาษาจาวา
 
C slide
C slideC slide
C slide
 
อยากเขียนโปรแกรมสักตัว เล่ม 1
อยากเขียนโปรแกรมสักตัว เล่ม 1อยากเขียนโปรแกรมสักตัว เล่ม 1
อยากเขียนโปรแกรมสักตัว เล่ม 1
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
php
phpphp
php
 
การสร้างแบบสอบถาม
 การสร้างแบบสอบถาม การสร้างแบบสอบถาม
การสร้างแบบสอบถาม
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
รายงาน PHP - Know2pro.com
รายงาน PHP - Know2pro.comรายงาน PHP - Know2pro.com
รายงาน PHP - Know2pro.com
 
Know1 3
Know1 3Know1 3
Know1 3
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
58210401120 งาน 1 ss
58210401120 งาน 1 ss58210401120 งาน 1 ss
58210401120 งาน 1 ss
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถามหน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
 
Know 1 1
Know 1 1Know 1 1
Know 1 1
 
Java script เบื้องต้น
Java script เบื้องต้นJava script เบื้องต้น
Java script เบื้องต้น
 
Pbl2 docx
Pbl2 docxPbl2 docx
Pbl2 docx
 
Pbl2 docx
Pbl2 docxPbl2 docx
Pbl2 docx
 
Pbl2 นะแนนxปิ้น
Pbl2 นะแนนxปิ้นPbl2 นะแนนxปิ้น
Pbl2 นะแนนxปิ้น
 

พื้นฐานภาษาจาวา

  • 2. ประวัติความเป็ นมา เป็ นภาษาทีถูกพัฒนาโดย Dr.Jame Gosling บริ ษัท Sun Microsystems เดิมทีชือ ภาษาโอ๊ ค (Oak) เป็ นชือ ต้ นไม้ ใหญ่ทีอยูในบริ เวณบ้ าน ทีทีมวิศวกรของซัน ทํางานอยู่ นํามาใช้ ในการ ่ พัฒนาโปรแกรมขนาดจิ0วสําหรับ อุปกรณ์ เครื องใช้ อิเล็คทรอนิกส์ ได้ ทําการ พัฒนาต่อมาเรื อยๆ และได้ เปลียนชือใหม่เป็ น ภาษาจาวา (Java) ตามชือ กาแฟทีทีมพัฒนาดืม
  • 3. จุดเด่น 1) เป็ นภาษาสําหรับการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (OOP: Object Oriented Programming) 2) Java คือ platform independence หมายความว่า ความสามารถของโปรแกรมที%เขียนด้วย java สามารถทํางานได้ในระบบปฏิบติการที%ต่างกัน โดยไม่ตอง ั ้ ดัดแปลงแก้ไขใหม่ 3) Free และ เป็ นโปรแกรมประเภท Open Source
  • 4. โครงสร้าง ภาษา Java 1. เครื องหมาย ในการควบคุม Structure 1.1 Comment คือข้ อความทีแทรกเข้ าไปในโปรแกรม แต่ไม่มีผลต่อการทํางานของ โปรแกรม เช่นในกรณีทีเราต้ องการอธิบาย Source code ไว้ ใน โปรแกรม วิธีการคือ - comment ทีละ บรรทัด ใช้ เครื องหมาย // ตามด้ วยข้ อความทีต้ องการ comment เช่น //comment comment - comment แบบครอบทังข้ อความ ใช้ เครื องหมาย /* ข้ อความทีต้ องการ comment : */ เช่น /* Comment Comment */
  • 5. 1.2 Keyword คือคําทีถูกกําหนดไว้ ใช้ เองแล้ วในภาษา Java ไม่สามารถ นํามาใช้ ในการตังชือภายใน โปรแกรมได้ ตัวอย่างเช่น : class,boolean,char เป็ นต้ น 1.3 Identifiers คือชือทีผู้เขียนตังขึ :นมา เพือใช้ แทนอะไรก็ได้ ไม่วาจะเป็ น : ่ method ,ตัวแปร หรื อ class ชือทีถูกต้ องควรประกอบด้ วย ตัวอักษร , ตัวเลข ,_,$ และจะต้ องขึ :นต้ นด้ วย ตัวอักษรเท่านัน :
  • 6. ชนิดของโปรแกรม Java 1) Java Application เป็ นการนําโปรแกรม Java มาเขียนเป็ นโปรแกรมทีสามารถนํามาใช้ งานได้ อย่างอิสระ 2) Java Applets เป็ นการนํา Java มาเขียนเป็ นโปรแกรมเช่นเดียวกัน แต่ไม่สามารถเรี ยกใช้ งานได้ ตาม ลําพัง ต้ องนํามาใส่ไว้ ในเอกสาร HTML แล้ วใช้ โปรแกรม Web Browser หรื อ Utilities ของ Java เพือเรี ยกดูผลลัพธ์
  • 7. 1.4 Separators คือ อักษร หรือ เครืองหมายทีใช้แบ่งแยกคําในภาษา มี ดังต่อไปนี! - เครืองหมาย () ใช้สาหรับ ํ 1. ต่อท้ายชือ method ไว้ให้ใส่ parameter เช่น private void hello( ); 2. ระบุเงือนไขของ if ,while,for ,do เช่น if ( i=0 ) 3. ระบุชอชนิดข้อมูลในการ ทํา casting ื เช่น String a=( String )x;
  • 8. - เครืองหมาย [ ] ใช้สาหรับ ํ 1. กําหนดตัวแปรแบบ Array เช่น String a[ ]; 2. กําหนดค่า index ของตัวแปร array เช่น a[ 0 ]=10; - เครืองหมาย ; ใช้เพือปิ ดประโยค เช่น String a ; - เครืองหมาย , ใช้สาหรับ ํ 1. แยกชือตัวแปรในประโยค เช่น String a , b , c; - เครือง หมาย . ใช้สาหรับ ํ 1. แยกชือ package,subpackage และชือ class เช่น package com.test.Test1; 2. ใช้เพือเรียกใช้ ตัวแปร หรือ method ของ Object เช่น object.hello();
  • 9. - เครื องหมาย{ }ใช้ สําหรับ กําหนดขอบเขตของ method แล class เช่น class A{ } Private void hello(){ } 2. กําหนดค่าเริ มต้ นให้ กับตัวแปร Array เช่น String a[]={"A","B","C"};
  • 10. เมธอดแสดงผลทางจอภาพพื :นฐาน การรับข้ อมูลทางคีย์บอร์ ดในภาษาจาวาจะต้ องสร้ างออบเจ็กต์ของคลาส Scanner ขึ :นมา โดยจะต้ องประกาศตัวแปรออบเจ็กต์ก่อน เช่น Scanner keyboard; ประกาศตัวแปรออบเจ็กต์ชือ keyboard อยู่ในคลาส Scanner จากนัน : ต้ องสร้ างออบเจ็กต์มาโดยใช้ คีย์เวิร์ด new มีรูปแบบดังนี : ตัวแปรออบเจ็กต์ = new ชือคลาส(อาร์ กิวเมนต์);
  • 11. ดังนันถ้าจะให้ตวแปร keyboard รับค่าทางแป้ นพิมพ์จะต้องสร้างออบเจ็กต์ขนมาโดยให้ม ี ! ั !ึ อาร์ กวเมนต์เป็ น System.in ดังนี! ิ keyboard = new Scanner(System.in); ในคลาส Scanner นันมีเมธอดสําหรับอ่านข้อมูลประเภทต่างๆหลายประเภท ! ดังนี!
  • 12. เมธอด nextByte() nextDouble() nextFloat() nextInt() nextLine() nextLong() nextShort() การทํางาน รับข้ อมูลเลขจํานวนเต็มชนิด Byte ทางแปนพิมพ์ ้ รับข้ อมูลเลขทศนิยมชนิด Double ทางแปนพิมพ์ ้ รับข้ อมูลเลขทศนิยมชนิด Float ทางแปนพิมพ์ ้ รับข้ อมูลเลขจํานวนเต็มชนิด Int ทางแปนพิมพ์ ้ รับข้ อมูลแบบสตริ งทางแปนพิมพ์ ้ รับข้ อมูลตัวเลขชนิด Long ทางแปนพิมพ์ ้ รับข้ อมูลตัวเลขชนิด Short ทางแปนพิมพ์ ้
  • 13. ตัวอย่าง int number; Scanner keyboard = new Scanner(System.in); System.out.print(“Enter an integer value: “); number = keyboard.nextInt();
  • 14. การใช้ import ในภาษาจาวาคลาสต่างๆจะถูกรวมไว้ เป็ นแพ็กเกจวึงสามารถเรี ยกใช้ ด้วย คําสัง import เพือบอกให้ คอมไพเลอร์ ร้ ุวาจะนําคลาสมาจากทีใด โดยเขียนคําสัง import ไว้ ทีส่วน ่ หัวของโปรแกรม เช่นการใช้ งานคลาส Scanner จะต้ องเขียนดังนี : import java.util.Scanner เป็ นการเรี ยกใช้ คลาส Scanner ทีเก็บอยูใน util โดย util นี :เก็บอยูในแพ็กเกจ ่ ่ หลักชือ java
  • 15. ตัวดําเนินการ(Operators) และ ลําดับในการประมวล ตัวดําเนินการทางคณิตศาสตร์ (Arithmetic Operators) คือคําสังพื :นฐานในการทีจะสังให้ เครื องคอมพิวเตอร์ ประมวลผลการคํานวณพื :นฐานทาง คณิตศาสตร์ เช่น การบวก ลบ คูณ หาร ตัวดําเนินการแต่ละตัวจะมีลําดับการประมวลผล ตามทีกําหนด ดังตาราง และในการประมวลผลจะเริ มทําจากทางซ้ ายไปขวา และจะทําการ ประมวลผลในวงเล็บก่อน
  • 16. Operator รู ปแบบ และการทํางาน ลําดับในการประมวลผล "*"(Multiply) หาผลคูณ 1 "/" (Divide) หาผลหาร 2 "%" (Modulus) หาเศษทีเหลือจากการหาร 3 "+" (Add) การบวก 4 "-" (Minus) op1-op1:การลบ 5
  • 17. ตัวอย่ าง การใช้ตวดําเนิ นการทางคณิ ตศาสตร์ ั class BasicMath{ public static void main (String args[]){ int a = 1 + 1; int b = a * 3; int c = b / 4; int d = b " a; int e = -d; int f = 9%5; System.out.println("a = " + a); System.out.println("b = " + b); System.out.println("c = " + c); System.out.println("e = " + e); System.out.println("9%5 = " + 9%5); } }
  • 18. ตัวดําเนินการสัมพันธ์ (Relational Operators) คือตัวดําเนินการทีทําหน้ าทีเปรี ยบเทียบค่าระหว่างตัวแปรสองตัว หรื อนิพจน์สอง นิพจน์ โดยจะคืนค่าเป็ นจริ งหรื อเท็จ (Boolean)
  • 19. Relational Operator ตัวอย่ าง < Op1<Op2 : คืนค่าความเป็ นจริ งถ้ า Op1 น้ อยกว่า Op2 a=(1<3); //aจะมีคาเป็ นจริ ง ่ <= Op1<=Op2 : คืนค่าความเป็ นจริ งถ้ า Op1 น้ อยกว่า Op2 หรื อ เท่ากับ Op2 a=(5<=7); //a จะมีคาเป็ นจริ ง ่ > Op1>Op2 :คืนค่าความเป็ นจริ งถ้ า Op1 มากกว่า Op2 a=(5>7); //a จะมีคาเป็ นจริ ง ่ >= Op1>=Op2 : คืนค่าความเป็ นจริ งถ้ า Op1 มากกว่า หรื อเท่ากับ Op2 a=(5>=7); //a จะมีคาเป็ นจริ ง ่ == Op1==Op2 : คืนค่าความเป็ นจริ งถ้ า Op1 เท่ากับ Op2 a=(5==7); // a จะมีคาเป็ นเท็จเพราะ 5 ไม่ ่ เท่ากับ 7 != Op1!=Op2 : คืนค่าความเป็ นจริ งถ้ า Op1 ไม่เท่ากับ Op2 a=(5!=7); // a จะมีคาเป็ นจริ ง เพราะ 5 ไม่ ่ เท่ากับ 7 ": (expression)"a:b :คือค่าตัว operand a ถ้ า expression เป็ นจริ ง a=(3>5)"false:true; //a จะมีคาเป็ นจริ ง ่ เพราะผลการเปรี ยเทียบ 3 มากกว่า 5 เป็ นเท็จ เมือค่าที ได้ เป็ นเท็จจะเลือกค่า true
  • 20. ตัวดําเนินการตรรกะ (Logical Operators) ตัวดําเนิ นการทางตรรกะจะทําประมวลผลกับตัวแปรประเภท Boolean หรื อ นิพจน์ที% ให้ค่าของข้อมูลเป็ นจริ งหรื อ เท็จ
  • 21. ค่ าความจริงตัวที ค่ าความจริงตัวที 1 2 ผลการประมวล แบบ AND ผลการประมวล แบบ OR ผลการประมวล แบบ XOR true หรื อ 1 true หรื อ 1 true หรื อ 1 true หรื อ 1 false หรื อ 0 true หรื อ 1 false หรื อ 0 false หรื อ 0 true หรื อ 1 true หรื อ 1 false หรื อ 0 true หรื อ 1 false หรื อ 0 true หรื อ 1 true หรื อ 1 false หรื อ 0 false หรื อ 0 false หรื อ 0 false หรื อ 0 false หรื อ 0
  • 22. รู ปแบบของ Boolean Operator และตัวอย่างการประมวลผล Operator รู ปแบบ และการทํางาน ตัวอย่ าง ! หรื อ(NOT) !(Op1) เปลียนค่าความจริ งเป็ นค่าตรงกันข้ าม a= !(true); // a จะมีค่าเป็ นเท็จ &&หรื อ(AND) Op1 && Op2 คืนค่าความจริ งถ้ า Op1 เท่ากับ a= !(true && false); // a จะมีค่าเป็ นเท็จ Op2 || หรื อ (OR) Op1 || Op2 คืนค่าความจริ ง ถ้ า Op1 ไม่เท่ากับ a= !(true); // a จะมีค่าเป็ นเท็จ Op2
  • 23. คลาสสตริ ง การสร้ าง String String เป็ น Class หนึงใน Package ของภาษาจาวาชือ java.lang ทํา หน้ าทีใน การเก็บข้ อมูลทีเป็ น “ชุดของตัวอักษร” ซึงปกติชนิดของข้ อมูลของภาษาจาวาก็มี ชนิดเป็ น character แต่เก็บข้ อมูลได้ เพียง 1 ตัวอักษรเท่านัน ดังนันจึงลําบากในการ : : นํามาใช้ กบข้ อมูลทีมากกว่า 1 ตัวอักษร หรื อทีเรี ยกว่า “String” ดังนัน ภาษาจาวา ั : จึงได้ สร้ าง Class สําเร็จรูปมาให้ สามารถเรี ยกใช้ ได้ ทนที เรี ยกว่า “String” ทังหมด ั : คือทีมาของคําว่า String Class
  • 24. การสร้ าง Object เพือใช้ กบ String ได้ 6 รูปแบบคือ ั รูปแบบที 1 String ชือObject = new String(ข้ อความ); รูปแบบที 2 String ชือObject = ข้ อความ; รูปแบบที 3 String (char chars[]); เป็ นการสร้าง String ทีนํา Array ชือ Chars มาเป็ นข้อมูลใน String
  • 25. รูปแบบที 4 String (char chars[], int startIndex, int numChars); เป็ นการเก็บข้อมูลเพียงบางส่วนของ Array ไว้ใน String โดยที startIndex คือกําหนดตําแหน่งเริมต้นใน array ที ต้องการเก็บ numChars คือกําหนดจํานวนตัวอักษรทีต้องการเก็บ โดยนับจาก ตําแหน่งทีระบุใน startIndex
  • 26. รูปแบบที 5 String (ชือStringเดิม); เป็ นการสร้ าง String ใหม่โดยใช้ โครงสร้ างของ String เดิม ผลทีได้ ก็คือ String ใหม่จะมีข้อมูลเดียวกับ String เดิมทีใช้ เป็ นต้ นแบบใน การสร้ าง รูปแบบที 6 เป็ นการเก็บ Array ของรหัส ASCII ไว้ ใน String - String (byte asciiChars[]);