SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  25
Télécharger pour lire hors ligne
ชื่องานวิจย : ผลการจัดการเรี ยนรู ้วชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมีวจารณญาณของ
          ั                         ิ                                              ิ
              นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนฟากกว๊านวิทยาคม
ชื่อผูวจย : นางสาวจิราภรณ์ ไชยมงคล
      ้ิั
สถานศึกษา : โรงเรี ยนฟากกว๊านวิทยาคม อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา
ปี การศึกษา : 2549



                                                บทคัดย่ อ

            การวิ จย ครั้ งนี้ มี จุดประสงค์เพื่ อศึ ก ษาความสามารถในการคิ ดอย่า งมี วิจารณญาณของ
                      ั
นัก เรี ย นที่ เรี ย นวิ ช าโครงงานวิท ยาศาสตร์ ต ามแผนการจัด การเรี ย นรู ้ ท่ี ส่ ง เสริ ม การคิ ด อย่า งมี
วิจารณญาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจยครั้งนี้ คือนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ปี การศึกษา 2549
                                                 ั
โรงเรี ยนฟากกว๊านวิทยาคม อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา จํานวน 91 คน เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจย คือ         ั
แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมีวจารณญาณวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ช้ นมัธยมศึกษา
                                                        ิ                                     ั
ปี ที่ 2 จํานวน 8 แผน และแบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ทําการวิเคราะห์ขอมูลโดยเปรี ยบเทียบ
                                                                                     ้
คะแนนเฉลี่ ยของความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรี ยนก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน
ผลการวิจยสรุ ปได้ดงนี้
             ั             ั
            นักเรี ยนที่เรี ยนวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ตามแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมี
วิจ ารณญาณ มี คะแนนเฉลี่ ย ของการคิ ดอย่า งมี วิจารญาณหลัง การเรี ย นสู ง กว่า ก่ อนเรี ยนอย่า งมี
นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
งานวิจัยเรื่อง ผลการจัดการเรียนรู้ ทส่งเสริมคิดอย่ างมีวจารณญาณ
                                                 ่ี                  ิ
 รายวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม

ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา

           การสอนให้นกเรี ยนคิดเป็ นเรื่ องที่สาคัญอย่างยิงในยุคปฏิรูปการศึกษาเพราะมนุ ษย์ทุกคน
                              ั                  ํ        ่
จําเป็ นต้องใช้ความคิดเพื่อการดําเนิ นชี วิตของมนุ ษย์เอง ความเป็ นปกติสุขและการดําเนิ นชี วิตที่
ประสบความสุ ข ความสําเร็ จ เป็ นผลจากประสิ ทธิภาพของการคิด กลวิธีและทักษะกระบวนการคิด
ในลักษณะต่างๆจึงมีประโยชน์ต่อมนุ ษย์ ควรอย่างยิ่งที่จะได้รับการฝึ กฝนและเรี ยนรู ้เพื่อให้สมอง
ได้ทางานอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และการคิดเป็ นกลไกที่สาคัญอย่างยิงในการพัฒนาความสามารถทาง
      ํ                                                 ํ          ่
สมอง ซึ่ งคุณภาพของสมองก็ไม่ได้อยูที่การมีสมองเท่านั้นแต่อยู่ที่การใช้สมองเป็ นสําคัญ การฝึ ก
                                         ่
ทักษะการคิดและกระบวนการคิด จึงเป็ นปั จจัยสําคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาสติปัญญาของเด็กเพื่อจะ
เจริ ญเติบโตไปเป็ นผูใหญ่ที่มีคุณภาพ เป็ นกําลังสําคัญในการพัฒนาประเทศ และด้วยการเล็งเห็นถึง
                          ้
ความสําคัญของการพัฒนาการคิด ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พุทธศักราช 2542 หมวด 4
ว่าด้วยแนวการจัดการศึกษา มาตรา 24 ด้านการจัดกระบวนการเรี ยนรู้ จึงกําหนดให้สถานศึกษา
และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดําเนิ นการโดย ให้ฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ และการประยุกต์
ความรู้มาใช้ เพื่อป้ องกันและแก้ไขปั ญหา (กระทรวงศึกษาธิ การ. 2545 : 3) นอกจากนี้ แล้ว
จุดมุ่งหมายข้อหนึ่ งของหลักสู ตรการศึ กษาขั้นพื้นฐาน ยังมุ่งเน้นให้นักเรี ยนมี คุ ณลักษณะที่
พึงประสงค์ในด้านมีความสามารถใน การคิด การแก้ปัญหา และมีวิสัยทัศน์ และแนวทางในการ
จัดการเรี ยนรู ้มุ่งพัฒนานักเรี ยนในลักษณะองค์รวม มีความสมดุลทั้งด้านจิตใจ ร่ างกาย สังคมและ
                                       ่
ปั ญญา โดยให้นกเรี ยนสร้างความรู ้ผานกระบวนการคิดด้วยตนเอง (กระทรวงศึกษาธิ การ. 2545 :
                      ั
4)
           จากการจัดการเรี ยนรู้ ในปั จจุบนเรามักพบว่านักเรี ยนส่ วนใหญ่มีความสามารถสู ง ด้านที่
                                               ั
เกี่ยวกับทักษะพื้นฐาน แต่เมื่อถึงส่ วนที่ตองใช้ความคิดและเหตุผล การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่เป็ น
                                             ้
การเปิ ดโอกาสให้นกเรี ยนได้แสดงออกทางด้านความคิด นักเรี ยนยังทําได้ไม่ดีเท่าที่ควร (ทิศนา
                        ั
แขมมณี และคณะ. 2540 : 45) แม้กระทังการดํารงชีวิตในโรงเรี ยน ก็ยงแสดงให้เห็นว่านักเรี ยนไม่
                                           ่                           ั
รู้จกคิด นักเรี ยนมักกระทําผิดกฎระเบียบต่างๆของโรงเรี ยนเสมอ เช่น การเสพสิ่ งเสพติด การก่อเหตุ
    ั
ทะเลาะวิวาท การนําสุ ราเข้ามาดื่ มในโรงเรี ยน การเล่ นการพนัน หนี โรงเรี ยนไปเล่ นเกมส์
คอมพิวเตอร์ ชูสาว ซึ่ งเมื่อกระทําไปแล้วก็รู้ว่าจะต้องได้รับการลงโทษ แต่ก็ยงทําหรื อแม้แต่การ
                    ้                                                          ั
                            ่    ั                                         ่
ดํารงชี วิตในสังคมทัวไป ก็ยงส่ อให้เห็นว่านักเรี ยนยังขาดทักษะการคิดอยูมาก เช่นจากเหตุการณ์
ต่างๆตามที่ สื่อได้นาเสนอในเรื่ องเกี่ ยวกับการก่อเหตุ ของวัยรุ่ นซึ่ งกําลังอยู่ในช่ วงเป็ นวัยที่กาลัง
                           ํ                                                                           ํ
เรี ยน ไม่วาจะเป็ นเรื่ องการทะเลาะวิวาท การเสพสิ่ งเสพติด การลักขโมย การรวมกลุ่มวัยรุ่ นก่อกวน
              ่
สังคม ทําลายสิ่ งของสาธารณะด้วยความคึกคะนอง การแย่งชิ งคนรักจนเป็ นสาเหตุของการทําร้าย
กันจนถึงขั้นบาดเจ็บหรื อเสี ยชีวต การหนีเที่ยวกลางคืนตามสถานเริ งรมย์ต่างๆจนเป็ นเหตุให้เกิดคดี
                                       ิ
รุ มข่มขืนกระทําชําเราเพื่อนหญิงในวัยเดียวกัน
                ปั ญหาเหล่านี้ ลวนแต่จะเกิ ดขึ้นอย่างต่อเนื่ องรุ นแรงขึ้นเรื่ อยๆ ซึ่ งสาเหตุของปั ญหานั้น
                                  ้
เกิ ดขึ้นเนื่ องจากเด็กกระทําลงไปโดยขาดทักษะการคิด และการที่ เด็กขาดทักษะการคิดก็มาจาก
หลายสาเหตุ หลายฝ่ าย ระบบการศึกษาก็เป็ นสาเหตุหนึ่ง จากการจัดการศึกษาที่ผานมาถึงแม้ว่า         ่
รัฐบาลได้ให้ความสนใจและส่ งเสริ มทักษะกระบวนการคิดโดยกําหนดไว้ในจุดมุ่งหมายหลักของ
หลักสู ตรมัธยมศึกษา พุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุ ง พ.ศ. 2533) กําหนดให้นกเรี ยนสามารถ        ั
“คิดเป็ น ทําเป็ น และแก้ปัญหาเป็ น” โดยให้มีการจัดกิ จกรรมการจัดการเรี ยนรู้ ที่มุ่งเน้นทักษะ
กระบวนการคิดและให้นกเรี ยนมีนิสัยรักการคิด ซึ่ งได้บรรจุไว้ในจุดประสงค์ของแต่ละวิชาให้เด็ก
                                ั
ได้มีโอกาสในการคิด แต่ในทางปฏิ บติการจัดการศึกษาในห้องเรี ยนไม่ได้จดกิ จกรรมที่ส่งเสริ ม
                                             ั                                           ั
การคิดอย่างชัดเจน (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. 2544 : 114-115 )
                การสอนยังเน้นวิธีการท่องจําทําให้เด็กไม่ได้พฒนาความคิดเท่าที่ควร ซึ่ งการฝึ กให้เด็ก
                                                                  ั
รู ้จกคิดเป็ นสิ่ งที่จาเป็ นอย่างยิ่ง เพราะในการคิดใดๆหากบุคคลสามารถคิดได้อย่างคล่องแคล่วและ
     ั                   ํ
หลากหลายรู้รายละเอียดและมีความชัดเจนในสิ่ งที่คิด รวมทั้งสามารถคิดอย่างกว้างไกล ลึกซึ้ ง และ
ถูกทิศทางรู ้จกพิจารณาข้อมูลอย่างรอบคอบโดยใช้เหตุผลในการแสวงหาทางเลือกหรื อหาคําตอบมี
                   ั
การพิจารณาถึงผลที่จะตามมาและคุณค่า หรื อความหมายที่แท้จริ งของสิ่ งนั้น มีการไตร่ ตรองก่อนที่
จะลงความเห็นหรื อตัดสิ นใจ ก็จะช่วยให้การคิดนั้นเป็ นไปอย่างรอบคอบหรื ออย่างมีวจารณญาณ           ิ
และการคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ได้ ก็จะสามารถนําไปใช้ประโยชน์ในชี วิตประจําวันได้ เช่น การ
นําไปใช้ในการตัดสิ นใจที่จะเชื่ อหรื อไม่เชื่ อ ทําหรื อไม่ทาสิ่ งใด หรื ออาจนําไปใช้ในการแก้ปัญหา
                                                                    ํ
การปฏิบติการสร้าง การผลิต การสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ เป็ นต้นและจากข้อสรุ ปของนักการศึกษา
           ั
หลายท่านที่ให้ขอสรุ ปเกี่ ยวกับการคิดอย่างมีวิจารณญาณไว้ว่าการคิดอย่างมีวิจารณญาณ(Critical
                       ้
Thinking) เป นการคิดพิจารณาไตร ตรองอย่างรอบคอบเกี่ยวกับข อมูลหรื อสภาพการณ ที่
ปรากฏ โดยอาศัยความรู ความคิดและประสบการณ ของตนเองในการสํารวจหลักฐานอย า
งรอบคอบ เพื่อนําไปสู่ ข อสรุ ปที่สมเหตุสมผล นอกจากนั้นการคิดอย่างมีวิจารณญาณยังเป
นการคิดเพื่อประเมินหรื อทําให ความคิดกระจ างชัดเจนโดยมุ งเน้นเพื่อการตัดสิ นว าสิ่ ง
ใดควรทําหรื อควรเชื่อ ดังนั้นการคิดอย่างมีวิจารณญาณจึงมีความสําคัญต อการดําเนิ นชีวิตและ
จากผลการวิจยที่ผวิจยค้นคว้าแสดงให เห็นว า การคิดอย่างมีวิจารณญาณ เป็ นความสามารถ
                     ั ู้ ั
ทางสติป ญญาอย างหนึ่งที่สามารถพัฒนาได                                  ทุกระดับทั้งประถมศึกษา มัธยมศึกษา
และอุดมศึกษาโดยใช สิ่ งเร าและวิธีการที่เหมาะสมในการกระตุ นให บุคคลได ใช
ความสามารถที่มีอยู แล วเพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพของการคิด ( Watson and Glaser. 1964 : 24)
            การจัดการเรี ยนรู ้ วิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ตามแนวทางของสถาบันส่ งเสริ มการสอน
วิท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มุ่ ง เน้น ให้มี ก ารพัฒ นาผูเ้ รี ย นด้า นทัก ษะและกระบวนการคิ ด
ความสามารถในการเรี ยนรู้ กระบวนการสื บค้นหาความรู้ การแก้ไขปั ญหาและการคิ ดค้น
สร้างสรรค์ องค์ความรู ้ใหม่ๆ โดยเน้นการจัดการเรี ยนรู้ ที่หลากหลาย เพื่อตอบสนองความ
ต้องการความสนใจที่แตกต่างกันของผูเ้ รี ยน และนอกจากนี้ วิธีสอนแบบวิทยาศาสตร์ เป็ นการสอน
ที่เปิ ดโอกาสให้นกเรี ยนพบปั ญหาและคิดหาวิธีแก้ปัญหาตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ซึ่ งเริ่ มต้นที่
                         ั
ขั้นตอนการระบุปัญหา การตั้งสมมติฐาน ทําการทดลอง สังเกตขณะทดลอง รวบรวมและวิเคราะห์
ข้อมูล ตรวจสอบข้อมูล และสรุ ปผลการทดลอง
            จากการศึ ก ษาแนวทางการพัฒนากระบวนการคิ ดอย่า งมี วิจารณญาณของเพ็ญพิ ศุ ท ธิ์
เนคมานุรักษ์ (2536 : 34) ประกอบด้วยกระบวนการต่างๆ ดังนี้คือ
            1. การระบุหรื อทําความเข้าใจกับประเด็นปั ญหา ข้อคําถาม ข้ออ้าง (claims) หรื อ
ข้อโต้แย้ง
            2. การรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับประเด็นที่พิจารณาจากแหล่งต่างๆที่มีอยู่
            3. การพิจารณาความน่าเชื่อถือของข้อมูลและการระบุความพอเพียงของข้อมูล
                                                               ่่
            4. การระบุคุณลักษณะของข้อมูลที่มีอยูวา ข้อมูลใดเป็ นความคิดเห็น ข้อมูลใดเป็ น
ข้อเท็จจริ ง และจัดลําดับความสําคัญของข้อมูล รวมทั้งการพิจารณาได้ถึงเบื้องต้นที่อยูเ่ บื้องหลังของ
ข้อมูลที่ปรากฏ
            5. การตั้งสมมติฐาน เพื่อกําหนดขอบเขต แนวทางของการพิจารณาหาข้อสรุ ปของ
ข้อคําถาม ประเด็นปัญหา หรื อข้อโต้แย้ง
            6. การลงข้อสรุ ป โดยพิจารณาเลือกใช้วธีการที่เหมาะสมจากข้อมูลที่ปรากฏ
                                                               ิ
            7. การประเมินผล เป็ นการประเมินความสมเหตุสมผลของข้อสรุ ป
            ผู ้วิ จ ัย จึ ง เห็ น ว่ า น่ า จะนํ า มาสร้ า งแบบฝึ กกระบวนการคิ ด อย่ า งมี วิ จ ารณญาณใน
แผนการจัดการเรี ยนรู้วิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ เพื่อใช้สําหรับนักเรี ยนระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2
                                                             ่
ได้ เนื่องจาก นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 อยูในช่วงอายุที่มีพฒนาการของความสามารถทางสมอง
                                                                        ั
ของมนุษย์ ตามทฤษฎีพฒนาการของ Piaget (Piaget’s Theory of Cognitive) ที่เสนอว่า พัฒนาการ
                                  ั
ของความสามารถทางสมองของมนุษย์น้ น เริ่ มตั้งแต่แรกเกิดไปจนถึงขั้นสู งสุ ดในช่วงอายุประมาณ
                                                      ั
                                           ่                                ่
16 ปี ซึ่ งอายุของนักเรี ยนที่อยูในระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 นั้น อยูในขั้นที่ 4 ของทฤษฎีพฒนาการ  ั
ทางเชาว์ปัญญา คือ ขั้นปฏิบติการด้วยนามธรรม ที่กล่าวว่า เด็กอายุประมาณ 12 ปี ขึ้นไป สามารถ
                                 ั
เข้าใจในสิ่ งที่เป็ นนามธรรมได้ มีการคิดอย่างสมเหตุสมผลในการแก้ปัญหา สามารถแก้ปัญหาได้
หลายๆทาง สามารถคิดแบบวิทยาศาสตร์ ได้ รู ้จกคิดด้วยการสร้างภาพแทนในใจขึ้น สามารถคิด
                                                              ั
เกี่ยวกับสิ่ งที่นอกเหนื อไปจากสิ่ งปั จจุบน มีความพอใจที่จะคิดพิจารณาเกี่ยวกับสิ่ งที่เป็ นนามธรรม
                                                 ั
สามารถคิดสร้างทฤษฎีและทดสอบแบบวิทยาศาสตร์ ได้การคิดของเด็กจะไม่ยดติดอยูกบข้อมูลที่มา               ึ      ่ ั
                                                                ่
จากการสังเกตเพียงอย่างเดียว และเป็ นการคิดที่อยูในรู ปของการตั้งสมมติฐานหรื อสถานการณ์ที่ยง                       ั
ไม่ได้เกิดขึ้นจริ ง เด็กวัยนี้มีความคิดเป็ นของตนเองและเข้าใจความคิดของผูอื่นด้วย               ้
             โดยการวิ จ ัย ครั้ งนี้ ผูวิ จ ัย หวัง เป็ นอย่ า งยิ่ ง ว่ า ผลการวิ จ ัย ที่ ไ ด้จ ะเป็ นแนวทางในการ
                                       ้
จัดการจัดการเรี ยนรู้ เพื่อพัฒนานักเรี ยนให้เป็ นผูที่มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณ และเป็ นคนดี มี
                                                           ้
คุณธรรม มีปัญญา มีความสุ ข มีความเป็ นไทย มีความพร้อมในการศึกษาต่อ มีศกยภาพพร้อมที่จะ                  ั
แข่ ง ขันและร่ ว มมื ออย่า งสร้ า งสรรค์ใ นเวที โ ลก ตามความมุ่ ง หมายของหลัก สู ต รการศึ ก ษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544

วัตถุประสงค์ ของการวิจัย
           เพื่ อเปรี ย บเที ย บความสามารถในการคิ ดอย่า งมี วิ จารณญาณของนัก เรี ย นที่ เรี ย นวิช า
โครงงานวิทยาศาสตร์ ตามแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมีวิจารณญาณก่อนเรี ยนและ
หลังเรี ยน

ประโยชน์ ของการวิจัย
          1. ได้แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมีวจารณญาณ
                                                                ิ
          2. นักเรี ยนได้รับการส่ งเสริ มการคิดอย่างมีวิจารณญาณและสามารถนําไปประยุกต์ใช้ใน
การดําเนินชีวตได้
              ิ
          3. เป็ นแนวทางในการนํารู ปแบบการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมี
วิจารณญาณ ไปใช้ในรายวิชาอื่น

ขอบเขตของการวิจัย
         1. ประชากรที่ใช้ในการวิจย ได้แก่ นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนฟากกว๊าน
                                   ั
วิทยาคม อําเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา ปี การศึกษา 2549 จํานวน 2 ห้องเรี ยน 91 คน
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจย ได้แก่ นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนฟากกว๊าน
                                         ั
วิทยาคม อําเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา ปี การศึกษา 2549 จํานวน 2 ห้องเรี ยน คือ ชั้นมัธยมศึกษา
ปี ที่ 2/1 จํานวน 45 คน และมัธยมศึกษาปี ที่ 2/2 จํานวน 46 คน
              2. ตัวแปรที่ศึกษา
              ตัวแปรต้น ได้แก่ การจัดการเรี ยนรู้วิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมี
วิจารณญาณ
              ตัวแปรตาม ได้แก่ คะแนนความสามารถในการคิดอย่างมีวจารณญาณ  ิ

สมมติฐานการวิจัย
        นักเรี ยนที่เรี ยนวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ตามแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มการคิดอย่าง
มีวจารณญาณมีคะแนนเฉลี่ยของการคิดอย่างมีวจารณญาณหลังการเรี ยนสู งกว่าก่อนการเรี ยน
   ิ                                         ิ

นิยามศัพท์เฉพาะ
            การคิดอย่ างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) หมายถึ ง การคิ ดอย่างถู กต้องเป็ น
กระบวนการโดยอาศัยทั้งความรู ้ เจตคติและทักษะในการพิจารณาไตร่ ตรองอย่างรอบคอบ และมี
เหตุผล เกี่ยวกับสถานการณ์หรื อปั ญหาที่ปรากฏ โดยมีการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์
หลักฐานที่น่าเชื่อถือมาสนับสนุนยืนยันก่อนที่จะลงข้อสรุ ป และประเมินข้อสรุ ปนั้น
            ความสามารถในการคิดอย่ างมีวิจารณญาณ หมายถึงคะแนนรวมที่ได้จากแบบวัดการคิด
อย่างมีวจารณญาณ หลังจากที่เรี ยนตามแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมีวิจารณญาณที่
          ิ
ผูวจยสร้างขึ้น
  ้ิั
            แบบวัดการคิดอย่างมีวจารณญาณ หมายถึงแบบวัดความสามารถในการคิด 7 ด้าน ดังนี้
                                ิ
            1. การระบุประเด็นปัญหา หมายถึง ความสามารถด้านการระบุประเด็นปัญหาจาก
              ํ
ข้อความที่กาหนด
            2. การรวบรวมข้อมูล หมายถึง ความสามารถในการสังเกตเพื่อรวบรวมข้อมูลจากแหล่ง
ต่างๆ
            3. การพิจารณาความน่าเชื่ อถือของข้อมูล หมายถึง ความสามารถในการพิจารณาความ
น่าเชื่ อถือของแหล่งข้อมูล การประเมินความถูกต้องของข้อมูล และการประเมินความเพียงพอของ
ข้อมูลทั้งในแง่ปริ มาณและคุณภาพ
            4. การระบุคุณลักษณะของข้อมูล หมายถึง ความสามารถในการจําแนกประเภทของ
ข้อมูลและการระบุแนวความคิดที่อยูเ่ บื้องหลังของข้อมูลที่กาหนด
                                                         ํ
5. การตั้งสมมติฐาน หมายถึง ความสามารถในการคิดถึงความสัมพันธ์เชิงเหตุผล
ระหว่างข้อมูลที่มีอยูเ่ พื่อระบุทางเลือกที่เป็ นไปได้
              6. การลงข้อสรุ ป หมายถึง ความสามารถในการใช้เหตุผลแบบอุปนัยและการใช้เหตุผล
แบบนิรนัย
              7. การประเมินผล หมายถึง ความสามารถในการยืนยันหรื อเปลี่ยนแปลงข้อสรุ ปโดย
อาศัยเกณฑ์ที่ถูกต้องเหมาะสมจากแหล่งข้อมูลต่างๆ และความสามารถในการทํานายผลที่คาดว่า
น่าจะเกิดตามมาจากผลการตัดสิ นข้อสรุ ปได้
              การจัดการเรียนรู้ วชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ทส่งเสริมการคิดอย่ างมีวิจารณญาณ หมายถึง
                                    ิ                       ี่
การจัดการเรี ยนรู้วิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ โดยใช้แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมี
วิจารณญาณที่ผวจยสร้างขึ้น
                   ู้ ิ ั
              แผนการจัดการเรี ยนรู้ ที่ส่งเสริ มการคิดอย่ างมีวิจารณญาณ หมายถึง แผนการจัดการ
เรี ยนรู้วชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ว30207 ที่ผวจยสร้างขึ้นจากแนวทาง วิธีการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้
          ิ                                      ู้ ิ ั
ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยบางแบบฝึ กได้ใช้แนวทางการสอนคิดอย่างมีวิจารณญาณ
ของ ดร.สุ วทย์ มูลคํา แผนการจัดการเรี ยนรู ้แต่ละแผนจะมีการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริ มให้นกเรี ยนคิด
               ิ                                                                            ั
อย่างมีวจารณญาณในส่ วนของกระบวนการจัดการเรี ยนรู ้ซ่ ึ งมีข้ นตอนต่างๆดังนี้
            ิ                                                      ั
                  ขั้นที่ 1 ขั้นกระตุนความคิด โดยผูวิจยใช้คาถามนําเข้าสู่ บทเรี ยน เพื่อให้นกเรี ยนคิด
                                      ้                 ้ ั    ํ                              ั
และอภิปรายคําตอบอย่างอิสระ
                  ขั้นที่ 2 ขั้นคิดวิเคราะห์ โดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
การทดลอง การสื บค้น กิจกรรมจิ๊กซอว์ ตามความเหมาะสมของเนื้อหาแต่ละเรื่ อง
                  ขั้นที่ 3 ขั้นเสนอแนวคิด โดยการอภิปราย นําเสนอ การทําแผนผังความคิด
                  ขั้นที่ 4 ขั้นสรุ ปความคิด โดยการเขียนสรุ ปความคิดที่เรี ยนผ่านไปในแต่ละเรื่ องเป็ น
ของตนเองลงในสมุดบันทึก
                  ขั้นที่ 5 ขั้นฝึ กกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยให้นกเรี ยนทําใบกิ จกรรมที่
                                                                                ั
ผูวจยสร้างขึ้นตามแนวคิดกระบวนการคิดอย่างมีวจารณญาณของเพ็ญพิศุทธิ์ เนคมานุรักษ์
  ้ิั                                                    ิ
วิธีดาเนินการวิจัย

         ในการวิจยเรื่ อง ผลการจัดการเรี ยนรู ้ วิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมี
                 ั
วิจารณญาณของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนฟากกว๊านวิทยาคม ผูวิจยได้ดาเนินการใน
                                                                            ้ ั     ํ
ด้านต่างๆดังนี้

แผนแบบการทดลอง

         การวิจยครั้งนี้ ศึกษากลุ่มตัวอย่างหนึ่งกลุ่มสองห้องเรี ยน คือนักเรี ยนที่เรี ยนวิชาโครงงาน
                ั
วิทยาศาสตร์ ตามแผนการจัดการเรี ยนรู ้ ที่ส่งเสริ มการคิ ดอย่างมีวิจารณญาณ เขียนเป็ นแผนภาพ
(Diagram) ได้ดงนี้
              ั

                                    O1         X        O2


                เมื่อ O1 คือ การวัดความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณก่อนได้รับการจัดการ
เรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มความสามารถในการคิดอย่างมีวจารณญาณ
                                                ิ
                O2 คือ การวัดความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณหลังได้รับการจัดการเรี ยนรู ้ ที่
ส่ งเสริ มความสามารถในการคิดอย่างมีวจารณญาณ
                                        ิ
                X คือ การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้วิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมี
วิจารณญาณ

ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง

          ประชากรที่ใช้ในการทดลองครั้งนี้ ได้แก่ นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยน
ฟากกว๊านวิทยาคม อําเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา ที่เรี ยนวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ว30207
ปี การศึกษา 2549 จํานวน 2 ห้องเรี ยน จํานวน 91 คน
กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนฟากกว๊านวิทยาคม อําเภอเมือง
พะเยา จังหวัดพะเยา ซึ่ งกําลังเรี ยนวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ว30207 ปี การศึกษา 2549จํานวน 2
ห้องเรี ยน จํานวน 91 คน

ตัวแปรทีศึกษา
        ่
          ตัวแปรต้น ได้แก่ การจัดการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมีวจารณญาณ
                                                                        ิ
          ตัวแปรตาม ได้แก่ คะแนนความสามารถในการคิดอย่างมีวจารณญาณ     ิ

เครื่องมือทีใช้ ในการวิจัย
            ่
           การทดลองครั้งนี้ผวจยได้สร้างเครื่ องมือเพื่อใช้ในการวิจยดังนี้
                            ู้ ิ ั                                  ั
           1. แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมีวิจารณญาณวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์
ว30207 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2
           2. แบบวัดการคิดอย่างมีวจารณญาณ ที่ผวจยสร้างขึ้น
                                   ิ                ู้ ิ ั

           แผนการจัดการเรียนรู้ ทส่งเสริมการคิดอย่ างมีวจารณญาณ
                                   ี่                        ิ
           การสร้างแผนการจัดการเรี ยนรู ้ ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ผูวิจยสร้างขึ้นโดย
                                                                                ้ ั
ดําเนินการตามขั้นตอนดังนี้
           1. ศึกษาเอกสาร หนังสื อ ตํารา งานวิจย และบทความต่างๆ นํามาวิเคราะห์ เพื่อสรุ ป
                                                      ั
จุดมุ่งหมายและแนวทาง วิธีการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมีวจารณญาณ
                                                                             ิ
           2. วิเคราะห์คาอธิบายรายวิชา และผลการเรี ยนรู้ที่คาดหวังรายวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์
                        ํ
           3. ศึกษาทฤษฎี หลักการสอนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ เพื่อนํามาประยุกต์ให้สอดคล้อง
กับเนื้อหา
           4. จัดทําแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมีวจารณญาณ จํานวน 8 แผน เวลา
                                                                    ิ
70 คาบ ดังนี้
           แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 1 เรื่ องศึกษาสภาพปัญหา
           แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 2 เรื่ องตั้งปริ ศนาหาคําตอบ
           แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 3 เรื่ องประกอบการทดลอง
           แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 4 เรื่ องจัดเก็บข้อมูล
           แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 5 เรื่ องสรุ ปความรู้
           แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 6 เรื่ องรายงานให้ทราบ
แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 7 เรื่ องสื บค้นเพิ่มเติม
            แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 8 เรื่ องจัดแสดงผลงาน
            5. เขียนแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมีวจารณญาณ ซึ่งประกอบด้วย
                                                                    ิ
จุดประสงค์การเรี ยนรู้ แนวความคิดหลัก กระบวนการจัดการเรี ยนรู้ การวัดและประเมินผล
สื่ อและแหล่งเรี ยนรู ้ กิจกรรมเสนอแนะ โดยแผนการจัดการเรี ยนรู ้แต่ละแผนจะมีการจัดกิจกรรมที่
ส่ งเสริ มให้นกเรี ยนคิดอย่างมีวจารณญาณในส่ วนของกระบวนการจัดการเรี ยนรู ้
               ั                 ิ
            6. ตรวจสอบคุณภาพของแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่สร้างขึ้น โดยดําเนินการดังนี้
                 6.1 นําเสนอให้ผเู้ ชี่ยวชาญตรวจสอบ และหาค่า IOC
                 6.2 นําไปหาค่า E1/E2 โดยตั้งค่า E1/E2 ไว้ที่ 75/75
            7. ได้แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมีวจารณญาณและนําไปใช้ทดลอง
                                                                  ิ

           แบบวัดการคิดอย่างมีวจารณญาณ
                                 ิ
           ผูวิจยได้ดาเนิ นการสร้ างแบบวัดการคิ ดอย่างมีวิจารณญาณตามขั้นตอน ดังรายละเอียด
             ้ ั     ํ
ต่อไปนี้
              1.กํา หนดจุ ด มุ่ ง หมายในการวัด ในที่ น้ ี ผู ้วิ จ ัย ต้ อ งการสร้ า งแบบวัด การคิ ด อย่ า งมี
วิจารณญาณโดยมี จุดมุ่งหมายเพื่อศึ กษาความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรี ยน
ชั้นมัธยมศึกษา ปี ที่ 2 ซึ่ งแบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณจะวัด 7 ด้านคือ การระบุประเด็นปั ญหา
การรวบรวมข้อ มู ล การพิ จ ารณาความน่ า เชื่ อ ถื อของแหล่ ง ข้อ มู ล การระบุ ล ก ษณะข้อ มูล การ
                                                                                          ั
ตั้งสมมติ ฐาน การลงข้อสรุ ป และการประเมินผล โดยอาศัยแนวคิดจากแบบสอบของเพ็ญพิศุทธิ์
เนคมานุ รักษ์ (2537 : 165–199) เพื่อประเมินการคิดอย่างมีวิจารณญาณของผูรับการทดสอบ เป็ น ้
แบบวัดปรนัยชนิดเลือกตอบ 3 ตัวเลือก แบ่งเป็ นแบบสอบย่อย 7 ด้าน ดังนี้
                    1.1 ด้านการระบุประเด็นปั ญหา (Identifying Problem) หมายถึง คะแนนความ
ถู ก ต้อ งที่ ไ ด้จ ากแบบสอบด้า นการระบุ ป ระเด็ น ปั ญ หา ซึ่ งประกอบด้ว ยข้อ คํา ถามเกี่ ย วกับ
ความสามารถในการระบุประเด็นปั ญหาจากข้อความที่กาหนด             ํ
                    1.2 ด้านการรวบรวมข้อมูล (Collecting Information) หมายถึง คะแนนความถูกต้อง
ที่ได้จากแบบสอบด้านการรวบรวมข้อมูล ซึ่ งประกอบด้วยข้อคําถามเกี่ยวกับความสามารถในการ
สังเกตเพื่อรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ
                    1.3 ด้านการพิจารณาความน่าเชื่ อถือของแหล่งข้อมูล (Credibility of Source of
Information) หมายถึง คะแนนความถูกต้องที่ได้จากแบบสอบด้านการพิจารณาความน่าเชื่ อถือของ
แหล่ ง ข้อ มู ล ซึ่ งประกอบด้ว ยข้อ คํา ถามเกี่ ย วกับ การพิ จ ารณาความน่ า เชื่ อ ถื อ ของแหล่ ง ข้อ มู ล
การประเมินความถูกต้องของข้อมูล และการประเมินความเพียงพอของข้อมูลทั้งในเชิ งปริ มาณและ
คุณภาพ
                1.4 ด้านการระบุลกษณะของข้อมูล (Identifying Information) หมายถึง คะแนน
                                   ั
ความถู ก ต้องที่ ไ ด้จากแบบวัดด้า นการะบุ ล ัก ษณะข้อมู ล ซึ่ ง ประกอบด้วยข้อคํา ถามเกี่ ย วกับ
การจําแนกประเภทข้อมูล และการระบุแนวความคิดที่อยูเ่ บื้อหลังข้อมูลที่ปรากฏ
                1.5 ด้านการตั้งสมมติฐาน (Hypothesis) หมายถึงคะแนนความถูกต้องที่ได้จาก
แบบวัดด้า นการตั้งสมมติ ฐาน ซึ่ ง ประกอบด้วยข้อคําถามเกี่ ย วกับ ความสามารถในการคิ ดถึ ง
ความสัมพันธ์เชิงเหตุผลระหว่างข้อมูลที่มีอยูเ่ พื่อระบุทางเลือกที่เป็ นไปได้
                1.6 ด้านการลงข้อสรุ ป (Conclusion) หมายถึง คะแนนความถูกต้องที่ได้จากแบบวัด
ด้านการสรุ ปซึ่ งประกอบด้วยข้อคําถามเกี่ยวกับการใช้เหตุผลแบบอุปนัย (Induction) และการใช้
เหตุผลแบบนิรนัย (Deductive)
                1.7 ด้านการประเมินผล (Evaluation) หมายถึง คะแนนความถูกต้องที่ได้จาก
แบบสอบด้านการประเมินผล ซึ่ งประกอบด้วยข้อคําถามเกี่ยวกับความสามารถในการยืนยันหรื อ
เปลี่ยนแปลงข้อสรุ ป โดยอาศัยเกณฑ์ที่ถูกต้องเหมาะสมจากข้อมูลต่างๆ รวมทั้งความสามารถ
ในการทํานายผลที่คาดว่าน่าจะเกิดตามมาจากผลการตัดสิ นข้อสรุ ปได้
            2. ศึกษาเอกสาร ตํารา และการวิจยที่เกี่ยวกับการสร้างแบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
                                           ั
ทัวไป เพื่อนํามาเป็ นแนวทางในการเขียนข้อคําถาม
    ่
            4. สร้างแบบวัดการคิดอย่างมีวจารณญาณ โดยลักษณะแบบวัดจะประกอบด้วยข้อคําถาม
                                        ิ
ซึ่ งข้อคําถามเป็ นแบบปรนัยชนิด 3 ตัวเลือก ในแต่ละข้อจะมีคาตอบที่ถูกเพียงหนึ่ งคําตอบ ถ้าตอบ
                                                               ํ
ถูกในแต่ละข้อ จะให้คะแนนข้อละ 1 คะแนน ถ้าตอบผิดในแต่ละข้อจะให้คะแนนข้อละ 0 คะแนน
            5. ตรวจสอบคุณภาพของแบบวัดการคิดอย่างมีวจารณญาณที่สร้างขึ้นโดย
                                                           ิ
                5.1 ตรวจสอบความตรงเชิ งโครงสร้างและเนื้ อหา โดยการนําแบบวัดการคิดอย่างมี
วิจารณญาณไปให้ผูเ้ ชี่ ยวชาญจํา นวน 5 ท่า น ตรวจสอบความสอดคล้องของข้อคํา ถามกับ
ความสามารถที่ตองการวัดทั้ง 7 ด้าน และภาษาที่ใช้ หลังจากนั้นผูวิจยได้ดาเนิ นการปรับปรุ ง
                   ้                                                     ้ ั ํ
เปลี่ยนแปลงข้อคําถาม ตัวเลือก และภาษาที่ใช้ให้เหมาะสมตามข้อเสนอของผูเ้ ชี่ยวชาญดังแสดงใน
ภาคผนวก ข
                5.2 นําแบบวัดการคิดอย่างมีวจารณญาณที่สร้างขึ้นไปทดสอบกับนักเรี ยนชั้นมัธยม
                                              ิ
ศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนฟากกว๊านวิทยาคม อําเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา จํานวน 36 คน เพื่อหาค่า
อํานาจจําแนกและค่าความยากง่ายของแบบวัด ได้ผลดังแสดงในภาคผนวก ค
5.3 คัดเลือกแบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณที่มีค่าความยากง่าย ระหว่าง 0.2 – 0.8
และค่าอํานาจจําแนกระหว่าง 0.2 – 1.0 ได้แบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณฉบับทดลอง จํานวน
25 ข้อ
          5.4 นํา แบบวัดการคิ ดอย่า งมี วิจารณญาณ ที่ คดเลื อกไปทดสอบกับ นัก เรี ยนชั้น
                                                            ั
มัธยมศึกษาปี ที่ 3/1 โรงเรี ยนฟากกว๊านวิทยาคม อําเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา จํานวน 36 คน ที่
ยังไม่เคยทําข้อสอบมาก่อน เพื่อหาค่าความเชื่ อมันของแบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยวิธี
                                               ่
ของ Kuder Richardson สู ตร KR-20 ได้ค่าความเชื่อมันเท่ากับ 0.65 ดังแสดงในภาคผนวก ค
                                                   ่

วิธีการเก็บรวบรวมข้ อมูล

           การวิจย ครั้ งนี้ ผูวิจย ดํา เนิ นการเก็บ รวบรวมข้อมูล ด้วยตนเอง โดยดําเนิ นตามขั้นตอน
                    ั          ้ ั
ดังต่อไปนี้
           1. ผูวิจยทําการจัดเตรี ยมแบบวัด แผนการจัดการเรี ยนรู้ เครื่ องมือต่างๆในแผนและ
                   ้ ั
จัดเตรี ยมอุปกรณ์ ให้เรี ยบร้อยก่อนนําไปทดลอง
           2. ผูวิจยทําการทดสอบก่อนเรี ยน นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนฟากกว๊าน
                  ้ ั
วิทยาคม อําเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา จํานวน 2 ห้องเรี ยน โดยใช้แบบวัดการคิดอย่างมี
วิจารณญาณ
           3. นักเรี ยนที่เรี ยนวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ตามแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มการคิด
อย่างมีวิจารณญาณ ผูวิจยจัดการเรี ยนรู้ โดยใช้แผนการจัดการเรี ยนรู้วิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ที่
                         ้ ั
ส่ งเสริ มการคิดอย่างมี วิจารณญาณ รวมทั้งสิ้ น 8 แผน ใช้เวลา 70 คาบ คาบละ 50 นาที เริ่ มตั้งแต่
วันที่ 22 พฤษภาคม 2549 ถึง 17 กุมภาพันธ์ 2549
           4. เมื่อเสร็ จสิ้ นการสอนแล้วทําการทดสอบหลังเรี ยนของนักเรี ยน ที่เรี ยนวิชาโครงงาน
วิทยาศาสตร์ ตามแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมีวิจารณญาณ

การจัดกระทากับข้ อมูลและวิเคราะห์ ข้อมูล

          ในการวิเคราะห์ขอมูล ผูวจยวิเคราะห์ค่าทางสถิติโดยใช้โปรแกรมสําเร็ จรู ป ดังต่อไปนี้
                             ้       ้ิั
          1. หาค่าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของคะแนนจากแบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
ก่อนสอนของนักเรี ยนที่เรี ยนวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ตามแผนการจัดการเรี ยนรู ้ท่ีส่งเสริ มการคิด
อย่างมีวจารณญาณ
        ิ
2. หาค่าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของคะแนนจากแบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
ก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนของนักเรี ยนที่เรี ยนวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ตามแผนการจัดการเรี ยนรู ้ ที่
ส่ งเสริ มการคิดอย่างมีวจารณญาณ เพื่อศึกษาคะแนนเฉลี่ยในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรี ยน
                         ิ
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2
            3. ทดสอบความแตกต่างของคะแนนจากแบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณก่อนเรี ยน
และหลังเรี ยนของนักเรี ยนที่เรี ยนวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ตามแผนการจัดการเรี ยนรู ้ท่ีส่งเสริ มการ
คิดอย่างมีวจารณญาณด้วยการทดสอบค่าที (t-test Dependent) เพื่อทดสอบสมมติฐาน
             ิ
สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ

            การวิจยเรื่ อง ผลการจัดการเรี ยนรู ้วิทยาศาสตร์ ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมีวจารณญาณของ
                  ั                                                                   ิ
นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนฟากกว๊านวิทยาคม ครั้งนี้ มีวตถุประสงค์เพื่อ เปรี ยบเทียบ
                                                                          ั
ความสามารถในการคิ ดอย่า งมี วิจารณญาณของนัก เรี ย นที่ เรี ย นวิช าโครงงานวิท ยาศาสตร์ ตาม
แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมีวจารณญาณก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้
                                                 ิ
ในการวิจยครั้งนี้ เป็ นนักเรี ยนระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 จํานวน 91 คน เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจย
          ั                                                                                       ั
ประกอบด้วยแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมีวิจารณญาณ วิชาโครงงานวิทยาศาสตร์
ว30207 แบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ในการดําเนิ นการวิจย ผูวิจยทดสอบก่อนเรี ยนด้วย
                                                                       ั ้ ั
แบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ เมื่อสิ้ นสุ ดการจัดการเรี ยนรู้ ทดสอบด้วยแบบวัดที่ส่งเสริ มการ
คิดอย่างมี วิจารณญาณอีกครั้ง จากผลการทดสอบทั้งสองครั้ งได้นาข้อมูลมาวิเคราะห์ โดยการ
                                                                        ํ
ทดสอบค่าที (t-test Dependent)

สรุ ปผลการวิจัย

           นักเรี ยนที่เรี ยนวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ตามแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มการคิดอย่าง
มีวิจารณญาณมีคะแนนเฉลี่ยของการคิดอย่างมีวิจารณญาณหลังการทดลองสู งกว่าก่อนการทดลอง
ผลการวิจยพบว่าคะแนนเฉลี่ ยของความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรี ยนที่เรี ยน
         ั
วิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ท่ีส่งเสริ มการคิดอย่างมีวิจารณญาณสู งกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรี ยนอย่างมี
นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่ งเป็ นไปตามสมมติฐานที่ต้ งไว้
                                                           ั

อภิปรายผล

               จากการวิจยเรื่ องผลการจัดการเรี ยนรู ้ วิทยาศาสตร์ ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมี วิจารณญาณ
                          ั
ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนฟากกว๊านวิทยาคม สามารถอภิปรายผลได้ดงนี้          ั
               การเปรี ยบเทียบความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ 2 ที่เรี ยนวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ตามแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
พบว่า ค่าเฉลี่ยของคะแนนหลังเรี ยนสู งกว่าค่าเฉลี่ยคะแนนก่อนเรี ยนอย่างมีนยสําคัญที่ระดับ .05 ซึ่ ง
                                                                                 ั
เป็ นไปตามสมมติฐาน คือ นักเรี ยนที่เรี ยนวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ตามแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่
ส่ งเสริ มการคิดอย่างมีวิจารณญาณมีคะแนนเฉลี่ยของการคิดอย่างมีวิจารณญาณหลังการทดลองสู ง
กว่าก่อนการทดลอง ซึ่ งสอดคล้องกับผลการวิจยของเพ็ญพิศุทธิ์ เนคมานุรักษ์ (2537 : 140-144) ที่
                                                 ั
ศึกษาเรื่ อง การพัฒนารู ปแบบพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณสําหรับนักศึกษาครู ซึ่ งผลการศึกษา
พบว่านักศึกษากลุ่มทดลองที่ใช้รูปแบบพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณมีคะแนนเฉลี่ยของการคิด
อย่างมีวิจารณญาณหลังการทดลองสู งกว่าก่อนการทดลอง และนักศึกษากลุ่มทดลองที่ใช้รูปแบบ
พัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณมีคะแนนเฉลี่ ยของการคิดอย่างมีวิจารณญาณหลังการทดลองสู ง
กว่านักศึกษากลุ่มควบคุมที่ใช้การสอนตามปกติ
             นอกจากนี้ยงสอดคล้องกับงานวิจยของกอบแก้ว แท้สูงเนิน (2538 : ง ) ที่ได้ศึกษาผลการ
                             ั               ั
ใช้แบบฝึ กเพื่อพัฒนาทักษะการคิ ดวิจารณญาณของนักเรี ย นชั้น มัธ ยมศึก ษาปี ที่ 4 โรงเรี ย น
มหิ ศราธิ บดี จังหวัดนครราชสี มา โดยพบว่า ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรี ยนที่ใช้
แบบฝึ กทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณสู งกว่ากลุ่มที่ไม่ได้ใช้แบบฝึ กอย่างมีนยสําคัญทางสถิ ติที่
                                                                              ั
ระดับ .05 และงานวิจยของมลิวลย์ สมศักดิ์ (2540 : ง ) ที่ศึกษาเรื่ องรู ปแบบการสอนเพื่อพัฒนาการ
                           ั          ั
คิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรี ยนในโครงการขยายโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผลการศึกษา
พบว่า การคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรี ยนที่ใช้รูปแบบการพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณสู ง
กว่านักเรี ยนที่ไม่ได้รับการพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ซึ่ งก่อนการเรี ยนนักเรี ยนอาจมีวิธีการ
คิดวิเคราะห์ประเด็นปั ญหาหรื อสถานการณ์ปัญหาต่างๆโดยระบบการคิดของตนเองเป็ นวิธีการคิด
         ่
เดิมอยูในระดับหนึ่ ง ตามทฤษฎีพฒนาการของ Piaget (Piaget’s Theory of Cognitive) ที่กล่าวถึง
                                        ั
พัฒนาการทางสติปัญญาของเด็กวัยรุ่ น (12-15 ปี ) ว่าอยูในระยะการคิดอย่างเป็ นนามธรรม (Formal-
                                                        ่
Operational Stage) ในช่วงนี้ นกเรี ยนสามารถคิดอย่างเป็ นเหตุเป็ นผลและคิดในสิ่ งที่ซบซ้อนอย่าง
                                    ั                                               ั
เป็ นนามธรรมได้มากขึ้น แต่วธีการคิดนั้นอาจยังไม่มีวธีการคิดพินิจพิเคราะห์ ไตร่ ตรองข้อมูลที่เป็ น
                                 ิ                    ิ
ขั้นตอนนําไปสู่ กระบวนการคิดอย่างมี             วิจารณญาณ หลังจากที่นกเรี ยนได้รับประสบการณ์
                                                                        ั
การเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมีวจารณญาณจากการเรี ยนวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ท่ีส่งเสริ มการ
                                          ิ
คิดอย่างมีวิจารณญาณทําให้ความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรี ยนสู งขึ้น อาจสื บ
เนื่องมาจากการที่นกเรี ยนได้ฝึกกระบวนการคิดอย่างมีข้ นตอนจากแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ ม
                         ั                                ั
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ เป็ นการจัดระบบการคิดของนักเรี ยนใหม่ ให้มีระบบระเบียบมากขึ้น
เพราะแผนการจัดการเรี ยนรู ้ วิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ผวิจยู้ ั
สร้างขึ้นนี้ได้นาเอาวิธีการสอนที่ส่งเสริ มการคิดรู ปแบบต่างๆของนักการศึกษาหลายๆท่านมาใช้ใน
                   ํ
กระบวนการจัดการเรี ยนรู้ในแผนการจัดการเรี ยนรู้ ดังเช่น ขั้นกระตุนความคิด ใช้การกระตุน
                                                                          ้                     ้
โดยตั้งคําถามให้นกเรี ยนคิด ซึ่งชาตรี สําราญ ได้อธิบายการสอนให้เด็กคิดเกี่ยวกับการใช้คาถามใน
                        ั                                                                         ํ
การจัดการจัดการเรี ยนรู้
                          ่
             สรุ ปได้วา การถามคําถาม จัดเป็ นสิ่ งเร้าที่ดีที่สุดที่จะฝึ กให้เด็กคิด เพราะการถามเป็ นการ
นํานักเรี ยนให้เกิดการคิดไตร่ ตรอง ทบทวนความเข้าใจของตนเองและพยายามคิดเพื่อจะหาคําตอบ
มาตอบคําถามของครู ให้ได้ (ชาตรี สําราญ. 2543 : 29-39) นอกจากนี้ การถามคําถามก็เป็ นกลยุทธ์
อย่างหนึ่งของการสอน ถือว่าเป็ นวิธีที่ดีท่ีจะใช้ในการสื่ อสารกับนักเรี ยนและจุดประกายไปสู่ คาถาม      ํ
อื่นๆ หรื อความสนใจค้นคว้าหาคําตอบทําให้นกเรี ยนเกิดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ คิดสร้างสรรค์
                                                    ั
ก่อให้เกิดความท้าทายและถ้าการถามไม่คุกคามหรื อเค้นหาคําตอบจากนักเรี ยนมากเกินไป ก็จะทํา
ให้เกิดสถานการณ์ที่เหมาะสมต่อการเรี ยนรู ้ ก่อให้นกเรี ยนเกิดความรู ้ สร้างสิ่ งเชื่อมโยงและจูงใจให้
                                                         ั
นักเรี ยนรู ้จกการคิดแบบไตร่ ตรองหรื อการวางแผน (Plans) ขั้นคิดวิเคราะห์ ในขั้นนี้ ผวิจยได้ใช้
                ั                                                                              ู้ ั
วิธีก ารเรี ย นรู้ ต่า งๆที่ ส่ง เสริ มกระบวนการคิ ดแก่ นัก เรี ย น เช่ นกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้
กระบวนการกลุ่ม วิธีการทางวิทยาศาสตร์ การทําแผนผัง ความคิด การอภิปราย เป็ นต้น ซึ่ งวิธีการ
เหล่านี้          ทิศนา แขมมณี และคณะได้สรุ ปว่าการสอนเพื่อพัฒนากระบวนการคิด โดยการสอน
เนื้ อหาสาระต่า งๆโดยใช้รูปแบบหรื อกระบวนการสอนที่เน้นกระบวนการคิ ด ครู สามารถนํา
รู ปแบบการสอนเหล่านี้ ซึ่ งเป็ นรู ปแบบการสอนที่มีผคนคิดพัฒนา และทดสอบ พิสูจน์แล้วมาใช้
                                                               ู้ ้
เป็ นกระบวนการสอน ซึ่ งจะช่วยให้ครู สามารถพัฒนานักเรี ยนได้ท้ งด้านเนื้ อหาสาระและการคิดไป
                                                                           ั
พร้อมๆกัน (ทิศนา แขมมณี และคณะ. 2540 : 64) ดังนั้นจึงเป็ นอีกขั้นตอนหนึ่ งที่สามารถพัฒนา
นักเรี ยนให้เกิดทักษะการคิดขึ้นได้ นอกจากนี้ แล้วในขั้นนําเสนอแนวคิด ก็ยงมีการจัดกิจกรรมให้
                                                                                      ั
นัก เรี ย นได้ฝึกกระบวนการคิ ดโดยเปิ ดโอกาสให้นัก เรี ย นออกมาอภิ ปรายนําเสนอแนวคิ ดจาก
ขั้นตอนการคิดวิเคราะห์หน้าชั้นเรี ยน ซึ่ งการอภิปรายจัดเป็ นกิจกรรมหนึ่ งในการพัฒนาทักษะการ
คิดอย่างมีวจารณญาณ ในขั้นสรุ ปความคิดมีการให้นกเรี ยนสรุ ปความคิดเป็ นแผนผังความคิดลงใน
              ิ                                            ั
สมุดบันทึกของตนเอง ในขั้นตอนนี้ นักเรี ยนจะเกิดมโนภาพและกระบวนการคิดตั้งแต่ตนจนจบ                   ้
ช่ วยให้เห็ นภาพรวมของเรื่ องที่ เรี ยนอย่างชัดเจน ซึ่ งจะช่ วยในการวิเคราะห์ ความสัมพันธ์ ของ
ความคิดและนอกจากนี้ ผูวิจยยังนําเอาแนวคิ ดกระบวนการคิ ดอย่างมี วิจารณญาณของเพ็ญพิศุทธิ์
                                  ้ ั
เนคมานุรักษ์ (2537 : 26-27)ที่สรุ ปว่ากระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณประกอบด้วยกระบวนการ
ต่างๆ คือ การระบุหรื อทําความเข้า ใจกับประเด็นปั ญหา การรวบรวมข้อมูลการพิจารณาความ
น่าเชื่ อถื อของข้อมูล การระบุคุณลักษณะของข้อมูล การตั้งสมมติฐานการลงข้อสรุ ป และการ
ประเมินข้อสรุ ป กระบวนการต่างๆเหล่านี้ ผวิจยได้นามาเป็ นแนวทางในการทําใบกิจกรรมเพื่อฝึ ก
                                                 ู้ ั        ํ
การคิดอย่างมีวจารณญาณในแผนการจัดการเรี ยนรู ้ทุกแผน
                    ิ
จะเห็นว่าการที่นกเรี ยนได้ฝึกกระบวนการคิดอย่างมีข้ นตอนจากแผนการจัดการเรี ยนรู ้ น้ ี
                                    ั                                  ั
นักเรี ยนได้มีการจัดองค์ประกอบของสมอง ก่อให้เกิ ดศักยภาพของสมองดี ข้ ึนเป็ นไปตามทฤษฎี
                                                                                   ่
ของ Guilford (Guilford’s Theory) ดังที่ ทิศนา แขมมณี กล่าวไว้ สรุ ปได้วาความสามารถทางสมอง
                                                             ั
ของมนุษย์จะประกอบด้วย 3 มิติ ที่มีความสัมพันธ์กนคือ เนื้ อหา(Contents) ปฏิบติการ (Operations)
                                                                                       ั
และผลผลิต (Products) นันคือ ในการสร้างเสริ มศักยภาพทางการคิดที่เป็ นระบบของมนุ ษย์น้ น
                                      ่                                                            ั
จะต้องมี เหตุการณ์ หรื อเรื่ องราวต่างๆที่ก่อให้เกิ ดความคิดอาจเป็ นภาพสัญลักษณ์ บทความหรื อ
ข้อความใดๆ ที่สื่อให้เกิ ดแนวคิด จากนั้นขบวนการในสมองจะเกิดการปฏิบติการเพื่อจัดการกับั
ความรู ้หรื อสิ่ งเร้าที่ได้รับนั้น โดยอาจมีท้ งการรับรู ้ทาความเข้าใจกับสิ่ งนั้น
                                                 ั             ํ                         (ทิศนา แขม
มณี . 2540 : 19-22) การเก็บรักษาสิ่ งที่รับรู้ไว้ใช้ การคิดที่หลากหลายหรื อการคิดแบบเอนกนัย
(Divergent thinking) เป็ นการคิดเพื่อให้ได้แนวทางในการแก้ปัญหาหรื อการคิดแบบ                   เอกนัย
(Convergent thinking)รวมทั้ งการคิ ดประเมิ นค่า (Evaluation)ในสิ่ งที่ คิด ผลที่ได้จากการคิด
                                                                 ั
(Product) จะเป็ นสิ่ งที่สามารถจัดเชื่อมโยงความสัมพันธ์กนอย่างเป็ นระเบียบแบบแผนและสามารถ
นําผลที่คิดนั้นไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ตอไปได้    ่
            นอกจากนี้ การที่ นกเรี ยนได้ฝึกกระบวนการคิดด้วยการทํากิ จกรรมซํ้าๆกันหลายๆครั้ ง
                                        ั
ส่ งผลให้นักเรี ยนเกิ ดการเรี ยนรู ้ และมี ความชํานาญในการคิ ดอย่างมี ข้ นตอนจนเกิ ดทักษะการคิ ด
                                                                               ั
เป็ นไปตามกฎแห่งการฝึ ก (Law of Exercise) ซึ่งเป็ นกฎการเรี ยนรู้ของธอร์ นไดค์ ที่ทิศนา แขมมณี
                            ่
(2540 : 7) ได้สรุ ปไว้วา หากสิ่ งใดก็ตามที่มีการฝึ ก จะมีความคล่องแคล่วและสามารถทําได้ดี ซึ่งจาก
สภาพการจัดการเรี ยนรู้ ที่ผวิจยได้สังเกตในขณะทําการวิจย พบว่า ในการทํากิ จกรรมการเรี ยนรู ้
                                  ู้ ั                               ั
ตามแผนการจัดการเรี ยนรู้ใน 2 แผนแรก นักเรี ยนจะเกิดความสับสน ไม่เข้าใจ เมื่อรวมกลุ่มเพื่อ
อภิปรายผลการคิด หรื อแสดงความคิ ดเห็ นต่า งๆ ก็ไม่มีการอภิ ปรายแสดงความคิ ดเห็ นหรื อ
แลกเปลี่ ยนผลการคิดซึ่ งกันและกัน นอกจากนี้ ยงพบว่าการปฏิบติกิจกรรมของนักเรี ยนจะใช้เวลา
                                                       ั                 ั
มากกว่าที่กาหนดไว้ ผูวจยต้องชี้แนะ แนะนํา กระตุนให้นกเรี ยนปฏิบติกิจกรรมตามแนวทางในการ
             ํ                ้ิั                          ้       ั         ั
ทํากิจกรรมทุกขั้นตอน ทําให้การปฏิบติกิจกรรมตามกระบวนการจัดการเรี ยนรู ้เพื่อฝึ กการคิดอย่างมี
                                           ั
วิจารณญาณของนักเรี ยนในแผนต่อมามีผลดีข้ ึน นั้นคือ นักเรี ยนเริ่ มปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเป็ นไป
                                ํ
ตามขั้นตอนและเวลาที่กาหนดไว้ นอกจากนี้ จากการประเมินผลการทําใบกิจกรรมฝึ กกระบวนการ
คิดอย่างมีวิจารณญาณ พบว่านักเรี ยนสามารถทําแบบฝึ กได้ถูกต้องมากขึ้น แสดงว่าการสอนวิชา
โครงงานวิทยาศาสตร์ ท่ีส่งเสริ มการคิดอย่างมีวิจารณญาณนี้ สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการคิด
ของนักเรี ยนให้มีระบบระเบียบมากขึ้น เป็ นการจัดระบบการคิด และเพิ่มศักยภาพทางการคิดของ
นักเรี ยนให้มีประสิ ทธิ ภาพสู งขึ้นได้
งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่

Contenu connexe

Tendances

รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองรายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองKhunkrunuch
 
รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awardsรายงาน Obec awards
รายงาน Obec awardsJiraporn
 
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...Kobwit Piriyawat
 
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี Mana Suksa
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้Kobwit Piriyawat
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญกคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญThitiwat Paisan
 
ตัวอย่างผลงาน Obec awards ด้านวิชาการ
ตัวอย่างผลงาน Obec awards  ด้านวิชาการตัวอย่างผลงาน Obec awards  ด้านวิชาการ
ตัวอย่างผลงาน Obec awards ด้านวิชาการptv534224
 
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554Nattapon
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54Montree Jareeyanuwat
 
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์Krupol Phato
 
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วย
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วยการเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วย
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วยWichai Likitponrak
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012tassanee chaicharoen
 
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551คน ขี้เล่า
 

Tendances (20)

รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองรายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
 
บทที่ 2++77
บทที่  2++77บทที่  2++77
บทที่ 2++77
 
รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awardsรายงาน Obec awards
รายงาน Obec awards
 
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
 
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญกคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
 
ตัวอย่างผลงาน Obec awards ด้านวิชาการ
ตัวอย่างผลงาน Obec awards  ด้านวิชาการตัวอย่างผลงาน Obec awards  ด้านวิชาการ
ตัวอย่างผลงาน Obec awards ด้านวิชาการ
 
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัยมคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
 
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54
 
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
 
ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)
ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)
ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)
 
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วย
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วยการเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วย
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วย
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
 

En vedette

เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองรายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองChamoi Buarabutthong
 
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...Kobwit Piriyawat
 
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...Kobwit Piriyawat
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนKobwit Piriyawat
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...Kobwit Piriyawat
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์Kobwit Piriyawat
 

En vedette (7)

เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองรายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
 
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
 
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
 

Similaire à งานวิจัยเผยแพร่

ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1Kiw E D
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...Sawittri Phaisal
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์jariya221
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่Ailada_oa
 
งานนำเสนอ111
งานนำเสนอ111งานนำเสนอ111
งานนำเสนอ111varangkruepila
 
งานนำเสนอ111
งานนำเสนอ111งานนำเสนอ111
งานนำเสนอ111varangkruepila
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Pitsiri Lumphaopun
 

Similaire à งานวิจัยเผยแพร่ (20)

ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
งานนำเสนอ111
งานนำเสนอ111งานนำเสนอ111
งานนำเสนอ111
 
งานนำเสนอ111
งานนำเสนอ111งานนำเสนอ111
งานนำเสนอ111
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
project
projectproject
project
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Innovation
InnovationInnovation
Innovation
 

Plus de Jiraporn

Best practice2013
Best practice2013Best practice2013
Best practice2013Jiraporn
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์Jiraporn
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 
profile Fakkwanwittayakom school
profile Fakkwanwittayakom schoolprofile Fakkwanwittayakom school
profile Fakkwanwittayakom schoolJiraporn
 
งานและพลังงาน
งานและพลังงานงานและพลังงาน
งานและพลังงานJiraporn
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมJiraporn
 
แบบฝึกหัดเอกภพ
แบบฝึกหัดเอกภพแบบฝึกหัดเอกภพ
แบบฝึกหัดเอกภพJiraporn
 
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ Jiraporn
 
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305Jiraporn
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้าJiraporn
 
1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์Jiraporn
 
Attachment
AttachmentAttachment
AttachmentJiraporn
 
ชุดการสอนใส่ใจสุขภาพ
ชุดการสอนใส่ใจสุขภาพชุดการสอนใส่ใจสุขภาพ
ชุดการสอนใส่ใจสุขภาพJiraporn
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อJiraporn
 
รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awards รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awards Jiraporn
 
สรุปความรู้ พันธุกรรม
สรุปความรู้ พันธุกรรมสรุปความรู้ พันธุกรรม
สรุปความรู้ พันธุกรรมJiraporn
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศJiraporn
 

Plus de Jiraporn (20)

Best practice2013
Best practice2013Best practice2013
Best practice2013
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
profile Fakkwanwittayakom school
profile Fakkwanwittayakom schoolprofile Fakkwanwittayakom school
profile Fakkwanwittayakom school
 
งานและพลังงาน
งานและพลังงานงานและพลังงาน
งานและพลังงาน
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
แบบฝึกหัดเอกภพ
แบบฝึกหัดเอกภพแบบฝึกหัดเอกภพ
แบบฝึกหัดเอกภพ
 
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
 
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
M3 91c
M3 91cM3 91c
M3 91c
 
M3 91d
M3 91dM3 91d
M3 91d
 
1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์
 
Eco1
Eco1Eco1
Eco1
 
Attachment
AttachmentAttachment
Attachment
 
ชุดการสอนใส่ใจสุขภาพ
ชุดการสอนใส่ใจสุขภาพชุดการสอนใส่ใจสุขภาพ
ชุดการสอนใส่ใจสุขภาพ
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awards รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awards
 
สรุปความรู้ พันธุกรรม
สรุปความรู้ พันธุกรรมสรุปความรู้ พันธุกรรม
สรุปความรู้ พันธุกรรม
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 

งานวิจัยเผยแพร่

  • 1. ชื่องานวิจย : ผลการจัดการเรี ยนรู ้วชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมีวจารณญาณของ ั ิ ิ นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนฟากกว๊านวิทยาคม ชื่อผูวจย : นางสาวจิราภรณ์ ไชยมงคล ้ิั สถานศึกษา : โรงเรี ยนฟากกว๊านวิทยาคม อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา ปี การศึกษา : 2549 บทคัดย่ อ การวิ จย ครั้ งนี้ มี จุดประสงค์เพื่ อศึ ก ษาความสามารถในการคิ ดอย่า งมี วิจารณญาณของ ั นัก เรี ย นที่ เรี ย นวิ ช าโครงงานวิท ยาศาสตร์ ต ามแผนการจัด การเรี ย นรู ้ ท่ี ส่ ง เสริ ม การคิ ด อย่า งมี วิจารณญาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจยครั้งนี้ คือนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ปี การศึกษา 2549 ั โรงเรี ยนฟากกว๊านวิทยาคม อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา จํานวน 91 คน เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจย คือ ั แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมีวจารณญาณวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ช้ นมัธยมศึกษา ิ ั ปี ที่ 2 จํานวน 8 แผน และแบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ทําการวิเคราะห์ขอมูลโดยเปรี ยบเทียบ ้ คะแนนเฉลี่ ยของความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรี ยนก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน ผลการวิจยสรุ ปได้ดงนี้ ั ั นักเรี ยนที่เรี ยนวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ตามแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมี วิจ ารณญาณ มี คะแนนเฉลี่ ย ของการคิ ดอย่า งมี วิจารญาณหลัง การเรี ย นสู ง กว่า ก่ อนเรี ยนอย่า งมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
  • 2. งานวิจัยเรื่อง ผลการจัดการเรียนรู้ ทส่งเสริมคิดอย่ างมีวจารณญาณ ่ี ิ รายวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา การสอนให้นกเรี ยนคิดเป็ นเรื่ องที่สาคัญอย่างยิงในยุคปฏิรูปการศึกษาเพราะมนุ ษย์ทุกคน ั ํ ่ จําเป็ นต้องใช้ความคิดเพื่อการดําเนิ นชี วิตของมนุ ษย์เอง ความเป็ นปกติสุขและการดําเนิ นชี วิตที่ ประสบความสุ ข ความสําเร็ จ เป็ นผลจากประสิ ทธิภาพของการคิด กลวิธีและทักษะกระบวนการคิด ในลักษณะต่างๆจึงมีประโยชน์ต่อมนุ ษย์ ควรอย่างยิ่งที่จะได้รับการฝึ กฝนและเรี ยนรู ้เพื่อให้สมอง ได้ทางานอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และการคิดเป็ นกลไกที่สาคัญอย่างยิงในการพัฒนาความสามารถทาง ํ ํ ่ สมอง ซึ่ งคุณภาพของสมองก็ไม่ได้อยูที่การมีสมองเท่านั้นแต่อยู่ที่การใช้สมองเป็ นสําคัญ การฝึ ก ่ ทักษะการคิดและกระบวนการคิด จึงเป็ นปั จจัยสําคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาสติปัญญาของเด็กเพื่อจะ เจริ ญเติบโตไปเป็ นผูใหญ่ที่มีคุณภาพ เป็ นกําลังสําคัญในการพัฒนาประเทศ และด้วยการเล็งเห็นถึง ้ ความสําคัญของการพัฒนาการคิด ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พุทธศักราช 2542 หมวด 4 ว่าด้วยแนวการจัดการศึกษา มาตรา 24 ด้านการจัดกระบวนการเรี ยนรู้ จึงกําหนดให้สถานศึกษา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดําเนิ นการโดย ให้ฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ และการประยุกต์ ความรู้มาใช้ เพื่อป้ องกันและแก้ไขปั ญหา (กระทรวงศึกษาธิ การ. 2545 : 3) นอกจากนี้ แล้ว จุดมุ่งหมายข้อหนึ่ งของหลักสู ตรการศึ กษาขั้นพื้นฐาน ยังมุ่งเน้นให้นักเรี ยนมี คุ ณลักษณะที่ พึงประสงค์ในด้านมีความสามารถใน การคิด การแก้ปัญหา และมีวิสัยทัศน์ และแนวทางในการ จัดการเรี ยนรู ้มุ่งพัฒนานักเรี ยนในลักษณะองค์รวม มีความสมดุลทั้งด้านจิตใจ ร่ างกาย สังคมและ ่ ปั ญญา โดยให้นกเรี ยนสร้างความรู ้ผานกระบวนการคิดด้วยตนเอง (กระทรวงศึกษาธิ การ. 2545 : ั 4) จากการจัดการเรี ยนรู้ ในปั จจุบนเรามักพบว่านักเรี ยนส่ วนใหญ่มีความสามารถสู ง ด้านที่ ั เกี่ยวกับทักษะพื้นฐาน แต่เมื่อถึงส่ วนที่ตองใช้ความคิดและเหตุผล การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่เป็ น ้ การเปิ ดโอกาสให้นกเรี ยนได้แสดงออกทางด้านความคิด นักเรี ยนยังทําได้ไม่ดีเท่าที่ควร (ทิศนา ั แขมมณี และคณะ. 2540 : 45) แม้กระทังการดํารงชีวิตในโรงเรี ยน ก็ยงแสดงให้เห็นว่านักเรี ยนไม่ ่ ั รู้จกคิด นักเรี ยนมักกระทําผิดกฎระเบียบต่างๆของโรงเรี ยนเสมอ เช่น การเสพสิ่ งเสพติด การก่อเหตุ ั ทะเลาะวิวาท การนําสุ ราเข้ามาดื่ มในโรงเรี ยน การเล่ นการพนัน หนี โรงเรี ยนไปเล่ นเกมส์ คอมพิวเตอร์ ชูสาว ซึ่ งเมื่อกระทําไปแล้วก็รู้ว่าจะต้องได้รับการลงโทษ แต่ก็ยงทําหรื อแม้แต่การ ้ ั ่ ั ่ ดํารงชี วิตในสังคมทัวไป ก็ยงส่ อให้เห็นว่านักเรี ยนยังขาดทักษะการคิดอยูมาก เช่นจากเหตุการณ์
  • 3. ต่างๆตามที่ สื่อได้นาเสนอในเรื่ องเกี่ ยวกับการก่อเหตุ ของวัยรุ่ นซึ่ งกําลังอยู่ในช่ วงเป็ นวัยที่กาลัง ํ ํ เรี ยน ไม่วาจะเป็ นเรื่ องการทะเลาะวิวาท การเสพสิ่ งเสพติด การลักขโมย การรวมกลุ่มวัยรุ่ นก่อกวน ่ สังคม ทําลายสิ่ งของสาธารณะด้วยความคึกคะนอง การแย่งชิ งคนรักจนเป็ นสาเหตุของการทําร้าย กันจนถึงขั้นบาดเจ็บหรื อเสี ยชีวต การหนีเที่ยวกลางคืนตามสถานเริ งรมย์ต่างๆจนเป็ นเหตุให้เกิดคดี ิ รุ มข่มขืนกระทําชําเราเพื่อนหญิงในวัยเดียวกัน ปั ญหาเหล่านี้ ลวนแต่จะเกิ ดขึ้นอย่างต่อเนื่ องรุ นแรงขึ้นเรื่ อยๆ ซึ่ งสาเหตุของปั ญหานั้น ้ เกิ ดขึ้นเนื่ องจากเด็กกระทําลงไปโดยขาดทักษะการคิด และการที่ เด็กขาดทักษะการคิดก็มาจาก หลายสาเหตุ หลายฝ่ าย ระบบการศึกษาก็เป็ นสาเหตุหนึ่ง จากการจัดการศึกษาที่ผานมาถึงแม้ว่า ่ รัฐบาลได้ให้ความสนใจและส่ งเสริ มทักษะกระบวนการคิดโดยกําหนดไว้ในจุดมุ่งหมายหลักของ หลักสู ตรมัธยมศึกษา พุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุ ง พ.ศ. 2533) กําหนดให้นกเรี ยนสามารถ ั “คิดเป็ น ทําเป็ น และแก้ปัญหาเป็ น” โดยให้มีการจัดกิ จกรรมการจัดการเรี ยนรู้ ที่มุ่งเน้นทักษะ กระบวนการคิดและให้นกเรี ยนมีนิสัยรักการคิด ซึ่ งได้บรรจุไว้ในจุดประสงค์ของแต่ละวิชาให้เด็ก ั ได้มีโอกาสในการคิด แต่ในทางปฏิ บติการจัดการศึกษาในห้องเรี ยนไม่ได้จดกิ จกรรมที่ส่งเสริ ม ั ั การคิดอย่างชัดเจน (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. 2544 : 114-115 ) การสอนยังเน้นวิธีการท่องจําทําให้เด็กไม่ได้พฒนาความคิดเท่าที่ควร ซึ่ งการฝึ กให้เด็ก ั รู ้จกคิดเป็ นสิ่ งที่จาเป็ นอย่างยิ่ง เพราะในการคิดใดๆหากบุคคลสามารถคิดได้อย่างคล่องแคล่วและ ั ํ หลากหลายรู้รายละเอียดและมีความชัดเจนในสิ่ งที่คิด รวมทั้งสามารถคิดอย่างกว้างไกล ลึกซึ้ ง และ ถูกทิศทางรู ้จกพิจารณาข้อมูลอย่างรอบคอบโดยใช้เหตุผลในการแสวงหาทางเลือกหรื อหาคําตอบมี ั การพิจารณาถึงผลที่จะตามมาและคุณค่า หรื อความหมายที่แท้จริ งของสิ่ งนั้น มีการไตร่ ตรองก่อนที่ จะลงความเห็นหรื อตัดสิ นใจ ก็จะช่วยให้การคิดนั้นเป็ นไปอย่างรอบคอบหรื ออย่างมีวจารณญาณ ิ และการคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ได้ ก็จะสามารถนําไปใช้ประโยชน์ในชี วิตประจําวันได้ เช่น การ นําไปใช้ในการตัดสิ นใจที่จะเชื่ อหรื อไม่เชื่ อ ทําหรื อไม่ทาสิ่ งใด หรื ออาจนําไปใช้ในการแก้ปัญหา ํ การปฏิบติการสร้าง การผลิต การสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ เป็ นต้นและจากข้อสรุ ปของนักการศึกษา ั หลายท่านที่ให้ขอสรุ ปเกี่ ยวกับการคิดอย่างมีวิจารณญาณไว้ว่าการคิดอย่างมีวิจารณญาณ(Critical ้ Thinking) เป นการคิดพิจารณาไตร ตรองอย่างรอบคอบเกี่ยวกับข อมูลหรื อสภาพการณ ที่ ปรากฏ โดยอาศัยความรู ความคิดและประสบการณ ของตนเองในการสํารวจหลักฐานอย า งรอบคอบ เพื่อนําไปสู่ ข อสรุ ปที่สมเหตุสมผล นอกจากนั้นการคิดอย่างมีวิจารณญาณยังเป นการคิดเพื่อประเมินหรื อทําให ความคิดกระจ างชัดเจนโดยมุ งเน้นเพื่อการตัดสิ นว าสิ่ ง ใดควรทําหรื อควรเชื่อ ดังนั้นการคิดอย่างมีวิจารณญาณจึงมีความสําคัญต อการดําเนิ นชีวิตและ จากผลการวิจยที่ผวิจยค้นคว้าแสดงให เห็นว า การคิดอย่างมีวิจารณญาณ เป็ นความสามารถ ั ู้ ั
  • 4. ทางสติป ญญาอย างหนึ่งที่สามารถพัฒนาได ทุกระดับทั้งประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษาโดยใช สิ่ งเร าและวิธีการที่เหมาะสมในการกระตุ นให บุคคลได ใช ความสามารถที่มีอยู แล วเพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพของการคิด ( Watson and Glaser. 1964 : 24) การจัดการเรี ยนรู ้ วิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ตามแนวทางของสถาบันส่ งเสริ มการสอน วิท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มุ่ ง เน้น ให้มี ก ารพัฒ นาผูเ้ รี ย นด้า นทัก ษะและกระบวนการคิ ด ความสามารถในการเรี ยนรู้ กระบวนการสื บค้นหาความรู้ การแก้ไขปั ญหาและการคิ ดค้น สร้างสรรค์ องค์ความรู ้ใหม่ๆ โดยเน้นการจัดการเรี ยนรู้ ที่หลากหลาย เพื่อตอบสนองความ ต้องการความสนใจที่แตกต่างกันของผูเ้ รี ยน และนอกจากนี้ วิธีสอนแบบวิทยาศาสตร์ เป็ นการสอน ที่เปิ ดโอกาสให้นกเรี ยนพบปั ญหาและคิดหาวิธีแก้ปัญหาตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ซึ่ งเริ่ มต้นที่ ั ขั้นตอนการระบุปัญหา การตั้งสมมติฐาน ทําการทดลอง สังเกตขณะทดลอง รวบรวมและวิเคราะห์ ข้อมูล ตรวจสอบข้อมูล และสรุ ปผลการทดลอง จากการศึ ก ษาแนวทางการพัฒนากระบวนการคิ ดอย่า งมี วิจารณญาณของเพ็ญพิ ศุ ท ธิ์ เนคมานุรักษ์ (2536 : 34) ประกอบด้วยกระบวนการต่างๆ ดังนี้คือ 1. การระบุหรื อทําความเข้าใจกับประเด็นปั ญหา ข้อคําถาม ข้ออ้าง (claims) หรื อ ข้อโต้แย้ง 2. การรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับประเด็นที่พิจารณาจากแหล่งต่างๆที่มีอยู่ 3. การพิจารณาความน่าเชื่อถือของข้อมูลและการระบุความพอเพียงของข้อมูล ่่ 4. การระบุคุณลักษณะของข้อมูลที่มีอยูวา ข้อมูลใดเป็ นความคิดเห็น ข้อมูลใดเป็ น ข้อเท็จจริ ง และจัดลําดับความสําคัญของข้อมูล รวมทั้งการพิจารณาได้ถึงเบื้องต้นที่อยูเ่ บื้องหลังของ ข้อมูลที่ปรากฏ 5. การตั้งสมมติฐาน เพื่อกําหนดขอบเขต แนวทางของการพิจารณาหาข้อสรุ ปของ ข้อคําถาม ประเด็นปัญหา หรื อข้อโต้แย้ง 6. การลงข้อสรุ ป โดยพิจารณาเลือกใช้วธีการที่เหมาะสมจากข้อมูลที่ปรากฏ ิ 7. การประเมินผล เป็ นการประเมินความสมเหตุสมผลของข้อสรุ ป ผู ้วิ จ ัย จึ ง เห็ น ว่ า น่ า จะนํ า มาสร้ า งแบบฝึ กกระบวนการคิ ด อย่ า งมี วิ จ ารณญาณใน แผนการจัดการเรี ยนรู้วิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ เพื่อใช้สําหรับนักเรี ยนระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ่ ได้ เนื่องจาก นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 อยูในช่วงอายุที่มีพฒนาการของความสามารถทางสมอง ั ของมนุษย์ ตามทฤษฎีพฒนาการของ Piaget (Piaget’s Theory of Cognitive) ที่เสนอว่า พัฒนาการ ั ของความสามารถทางสมองของมนุษย์น้ น เริ่ มตั้งแต่แรกเกิดไปจนถึงขั้นสู งสุ ดในช่วงอายุประมาณ ั ่ ่ 16 ปี ซึ่ งอายุของนักเรี ยนที่อยูในระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 นั้น อยูในขั้นที่ 4 ของทฤษฎีพฒนาการ ั
  • 5. ทางเชาว์ปัญญา คือ ขั้นปฏิบติการด้วยนามธรรม ที่กล่าวว่า เด็กอายุประมาณ 12 ปี ขึ้นไป สามารถ ั เข้าใจในสิ่ งที่เป็ นนามธรรมได้ มีการคิดอย่างสมเหตุสมผลในการแก้ปัญหา สามารถแก้ปัญหาได้ หลายๆทาง สามารถคิดแบบวิทยาศาสตร์ ได้ รู ้จกคิดด้วยการสร้างภาพแทนในใจขึ้น สามารถคิด ั เกี่ยวกับสิ่ งที่นอกเหนื อไปจากสิ่ งปั จจุบน มีความพอใจที่จะคิดพิจารณาเกี่ยวกับสิ่ งที่เป็ นนามธรรม ั สามารถคิดสร้างทฤษฎีและทดสอบแบบวิทยาศาสตร์ ได้การคิดของเด็กจะไม่ยดติดอยูกบข้อมูลที่มา ึ ่ ั ่ จากการสังเกตเพียงอย่างเดียว และเป็ นการคิดที่อยูในรู ปของการตั้งสมมติฐานหรื อสถานการณ์ที่ยง ั ไม่ได้เกิดขึ้นจริ ง เด็กวัยนี้มีความคิดเป็ นของตนเองและเข้าใจความคิดของผูอื่นด้วย ้ โดยการวิ จ ัย ครั้ งนี้ ผูวิ จ ัย หวัง เป็ นอย่ า งยิ่ ง ว่ า ผลการวิ จ ัย ที่ ไ ด้จ ะเป็ นแนวทางในการ ้ จัดการจัดการเรี ยนรู้ เพื่อพัฒนานักเรี ยนให้เป็ นผูที่มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณ และเป็ นคนดี มี ้ คุณธรรม มีปัญญา มีความสุ ข มีความเป็ นไทย มีความพร้อมในการศึกษาต่อ มีศกยภาพพร้อมที่จะ ั แข่ ง ขันและร่ ว มมื ออย่า งสร้ า งสรรค์ใ นเวที โ ลก ตามความมุ่ ง หมายของหลัก สู ต รการศึ ก ษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 วัตถุประสงค์ ของการวิจัย เพื่ อเปรี ย บเที ย บความสามารถในการคิ ดอย่า งมี วิ จารณญาณของนัก เรี ย นที่ เรี ย นวิช า โครงงานวิทยาศาสตร์ ตามแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมีวิจารณญาณก่อนเรี ยนและ หลังเรี ยน ประโยชน์ ของการวิจัย 1. ได้แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมีวจารณญาณ ิ 2. นักเรี ยนได้รับการส่ งเสริ มการคิดอย่างมีวิจารณญาณและสามารถนําไปประยุกต์ใช้ใน การดําเนินชีวตได้ ิ 3. เป็ นแนวทางในการนํารู ปแบบการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมี วิจารณญาณ ไปใช้ในรายวิชาอื่น ขอบเขตของการวิจัย 1. ประชากรที่ใช้ในการวิจย ได้แก่ นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนฟากกว๊าน ั วิทยาคม อําเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา ปี การศึกษา 2549 จํานวน 2 ห้องเรี ยน 91 คน
  • 6. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจย ได้แก่ นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนฟากกว๊าน ั วิทยาคม อําเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา ปี การศึกษา 2549 จํานวน 2 ห้องเรี ยน คือ ชั้นมัธยมศึกษา ปี ที่ 2/1 จํานวน 45 คน และมัธยมศึกษาปี ที่ 2/2 จํานวน 46 คน 2. ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรต้น ได้แก่ การจัดการเรี ยนรู้วิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมี วิจารณญาณ ตัวแปรตาม ได้แก่ คะแนนความสามารถในการคิดอย่างมีวจารณญาณ ิ สมมติฐานการวิจัย นักเรี ยนที่เรี ยนวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ตามแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มการคิดอย่าง มีวจารณญาณมีคะแนนเฉลี่ยของการคิดอย่างมีวจารณญาณหลังการเรี ยนสู งกว่าก่อนการเรี ยน ิ ิ นิยามศัพท์เฉพาะ การคิดอย่ างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) หมายถึ ง การคิ ดอย่างถู กต้องเป็ น กระบวนการโดยอาศัยทั้งความรู ้ เจตคติและทักษะในการพิจารณาไตร่ ตรองอย่างรอบคอบ และมี เหตุผล เกี่ยวกับสถานการณ์หรื อปั ญหาที่ปรากฏ โดยมีการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์ หลักฐานที่น่าเชื่อถือมาสนับสนุนยืนยันก่อนที่จะลงข้อสรุ ป และประเมินข้อสรุ ปนั้น ความสามารถในการคิดอย่ างมีวิจารณญาณ หมายถึงคะแนนรวมที่ได้จากแบบวัดการคิด อย่างมีวจารณญาณ หลังจากที่เรี ยนตามแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ ิ ผูวจยสร้างขึ้น ้ิั แบบวัดการคิดอย่างมีวจารณญาณ หมายถึงแบบวัดความสามารถในการคิด 7 ด้าน ดังนี้ ิ 1. การระบุประเด็นปัญหา หมายถึง ความสามารถด้านการระบุประเด็นปัญหาจาก ํ ข้อความที่กาหนด 2. การรวบรวมข้อมูล หมายถึง ความสามารถในการสังเกตเพื่อรวบรวมข้อมูลจากแหล่ง ต่างๆ 3. การพิจารณาความน่าเชื่ อถือของข้อมูล หมายถึง ความสามารถในการพิจารณาความ น่าเชื่ อถือของแหล่งข้อมูล การประเมินความถูกต้องของข้อมูล และการประเมินความเพียงพอของ ข้อมูลทั้งในแง่ปริ มาณและคุณภาพ 4. การระบุคุณลักษณะของข้อมูล หมายถึง ความสามารถในการจําแนกประเภทของ ข้อมูลและการระบุแนวความคิดที่อยูเ่ บื้องหลังของข้อมูลที่กาหนด ํ
  • 7. 5. การตั้งสมมติฐาน หมายถึง ความสามารถในการคิดถึงความสัมพันธ์เชิงเหตุผล ระหว่างข้อมูลที่มีอยูเ่ พื่อระบุทางเลือกที่เป็ นไปได้ 6. การลงข้อสรุ ป หมายถึง ความสามารถในการใช้เหตุผลแบบอุปนัยและการใช้เหตุผล แบบนิรนัย 7. การประเมินผล หมายถึง ความสามารถในการยืนยันหรื อเปลี่ยนแปลงข้อสรุ ปโดย อาศัยเกณฑ์ที่ถูกต้องเหมาะสมจากแหล่งข้อมูลต่างๆ และความสามารถในการทํานายผลที่คาดว่า น่าจะเกิดตามมาจากผลการตัดสิ นข้อสรุ ปได้ การจัดการเรียนรู้ วชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ทส่งเสริมการคิดอย่ างมีวิจารณญาณ หมายถึง ิ ี่ การจัดการเรี ยนรู้วิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ โดยใช้แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมี วิจารณญาณที่ผวจยสร้างขึ้น ู้ ิ ั แผนการจัดการเรี ยนรู้ ที่ส่งเสริ มการคิดอย่ างมีวิจารณญาณ หมายถึง แผนการจัดการ เรี ยนรู้วชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ว30207 ที่ผวจยสร้างขึ้นจากแนวทาง วิธีการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ิ ู้ ิ ั ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยบางแบบฝึ กได้ใช้แนวทางการสอนคิดอย่างมีวิจารณญาณ ของ ดร.สุ วทย์ มูลคํา แผนการจัดการเรี ยนรู ้แต่ละแผนจะมีการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริ มให้นกเรี ยนคิด ิ ั อย่างมีวจารณญาณในส่ วนของกระบวนการจัดการเรี ยนรู ้ซ่ ึ งมีข้ นตอนต่างๆดังนี้ ิ ั ขั้นที่ 1 ขั้นกระตุนความคิด โดยผูวิจยใช้คาถามนําเข้าสู่ บทเรี ยน เพื่อให้นกเรี ยนคิด ้ ้ ั ํ ั และอภิปรายคําตอบอย่างอิสระ ขั้นที่ 2 ขั้นคิดวิเคราะห์ โดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การทดลอง การสื บค้น กิจกรรมจิ๊กซอว์ ตามความเหมาะสมของเนื้อหาแต่ละเรื่ อง ขั้นที่ 3 ขั้นเสนอแนวคิด โดยการอภิปราย นําเสนอ การทําแผนผังความคิด ขั้นที่ 4 ขั้นสรุ ปความคิด โดยการเขียนสรุ ปความคิดที่เรี ยนผ่านไปในแต่ละเรื่ องเป็ น ของตนเองลงในสมุดบันทึก ขั้นที่ 5 ขั้นฝึ กกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยให้นกเรี ยนทําใบกิ จกรรมที่ ั ผูวจยสร้างขึ้นตามแนวคิดกระบวนการคิดอย่างมีวจารณญาณของเพ็ญพิศุทธิ์ เนคมานุรักษ์ ้ิั ิ
  • 8. วิธีดาเนินการวิจัย ในการวิจยเรื่ อง ผลการจัดการเรี ยนรู ้ วิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมี ั วิจารณญาณของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนฟากกว๊านวิทยาคม ผูวิจยได้ดาเนินการใน ้ ั ํ ด้านต่างๆดังนี้ แผนแบบการทดลอง การวิจยครั้งนี้ ศึกษากลุ่มตัวอย่างหนึ่งกลุ่มสองห้องเรี ยน คือนักเรี ยนที่เรี ยนวิชาโครงงาน ั วิทยาศาสตร์ ตามแผนการจัดการเรี ยนรู ้ ที่ส่งเสริ มการคิ ดอย่างมีวิจารณญาณ เขียนเป็ นแผนภาพ (Diagram) ได้ดงนี้ ั O1 X O2 เมื่อ O1 คือ การวัดความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณก่อนได้รับการจัดการ เรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มความสามารถในการคิดอย่างมีวจารณญาณ ิ O2 คือ การวัดความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณหลังได้รับการจัดการเรี ยนรู ้ ที่ ส่ งเสริ มความสามารถในการคิดอย่างมีวจารณญาณ ิ X คือ การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้วิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมี วิจารณญาณ ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง ประชากรที่ใช้ในการทดลองครั้งนี้ ได้แก่ นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยน ฟากกว๊านวิทยาคม อําเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา ที่เรี ยนวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ว30207 ปี การศึกษา 2549 จํานวน 2 ห้องเรี ยน จํานวน 91 คน
  • 9. กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนฟากกว๊านวิทยาคม อําเภอเมือง พะเยา จังหวัดพะเยา ซึ่ งกําลังเรี ยนวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ว30207 ปี การศึกษา 2549จํานวน 2 ห้องเรี ยน จํานวน 91 คน ตัวแปรทีศึกษา ่ ตัวแปรต้น ได้แก่ การจัดการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมีวจารณญาณ ิ ตัวแปรตาม ได้แก่ คะแนนความสามารถในการคิดอย่างมีวจารณญาณ ิ เครื่องมือทีใช้ ในการวิจัย ่ การทดลองครั้งนี้ผวจยได้สร้างเครื่ องมือเพื่อใช้ในการวิจยดังนี้ ู้ ิ ั ั 1. แผนการจัดการเรี ยนรู ้ ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมีวิจารณญาณวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ว30207 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 2. แบบวัดการคิดอย่างมีวจารณญาณ ที่ผวจยสร้างขึ้น ิ ู้ ิ ั แผนการจัดการเรียนรู้ ทส่งเสริมการคิดอย่ างมีวจารณญาณ ี่ ิ การสร้างแผนการจัดการเรี ยนรู ้ ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ผูวิจยสร้างขึ้นโดย ้ ั ดําเนินการตามขั้นตอนดังนี้ 1. ศึกษาเอกสาร หนังสื อ ตํารา งานวิจย และบทความต่างๆ นํามาวิเคราะห์ เพื่อสรุ ป ั จุดมุ่งหมายและแนวทาง วิธีการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมีวจารณญาณ ิ 2. วิเคราะห์คาอธิบายรายวิชา และผลการเรี ยนรู้ที่คาดหวังรายวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ํ 3. ศึกษาทฤษฎี หลักการสอนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ เพื่อนํามาประยุกต์ให้สอดคล้อง กับเนื้อหา 4. จัดทําแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมีวจารณญาณ จํานวน 8 แผน เวลา ิ 70 คาบ ดังนี้ แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 1 เรื่ องศึกษาสภาพปัญหา แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 2 เรื่ องตั้งปริ ศนาหาคําตอบ แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 3 เรื่ องประกอบการทดลอง แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 4 เรื่ องจัดเก็บข้อมูล แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 5 เรื่ องสรุ ปความรู้ แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 6 เรื่ องรายงานให้ทราบ
  • 10. แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 7 เรื่ องสื บค้นเพิ่มเติม แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 8 เรื่ องจัดแสดงผลงาน 5. เขียนแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมีวจารณญาณ ซึ่งประกอบด้วย ิ จุดประสงค์การเรี ยนรู้ แนวความคิดหลัก กระบวนการจัดการเรี ยนรู้ การวัดและประเมินผล สื่ อและแหล่งเรี ยนรู ้ กิจกรรมเสนอแนะ โดยแผนการจัดการเรี ยนรู ้แต่ละแผนจะมีการจัดกิจกรรมที่ ส่ งเสริ มให้นกเรี ยนคิดอย่างมีวจารณญาณในส่ วนของกระบวนการจัดการเรี ยนรู ้ ั ิ 6. ตรวจสอบคุณภาพของแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่สร้างขึ้น โดยดําเนินการดังนี้ 6.1 นําเสนอให้ผเู้ ชี่ยวชาญตรวจสอบ และหาค่า IOC 6.2 นําไปหาค่า E1/E2 โดยตั้งค่า E1/E2 ไว้ที่ 75/75 7. ได้แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมีวจารณญาณและนําไปใช้ทดลอง ิ แบบวัดการคิดอย่างมีวจารณญาณ ิ ผูวิจยได้ดาเนิ นการสร้ างแบบวัดการคิ ดอย่างมีวิจารณญาณตามขั้นตอน ดังรายละเอียด ้ ั ํ ต่อไปนี้ 1.กํา หนดจุ ด มุ่ ง หมายในการวัด ในที่ น้ ี ผู ้วิ จ ัย ต้ อ งการสร้ า งแบบวัด การคิ ด อย่ า งมี วิจารณญาณโดยมี จุดมุ่งหมายเพื่อศึ กษาความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรี ยน ชั้นมัธยมศึกษา ปี ที่ 2 ซึ่ งแบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณจะวัด 7 ด้านคือ การระบุประเด็นปั ญหา การรวบรวมข้อ มู ล การพิ จ ารณาความน่ า เชื่ อ ถื อของแหล่ ง ข้อ มู ล การระบุ ล ก ษณะข้อ มูล การ ั ตั้งสมมติ ฐาน การลงข้อสรุ ป และการประเมินผล โดยอาศัยแนวคิดจากแบบสอบของเพ็ญพิศุทธิ์ เนคมานุ รักษ์ (2537 : 165–199) เพื่อประเมินการคิดอย่างมีวิจารณญาณของผูรับการทดสอบ เป็ น ้ แบบวัดปรนัยชนิดเลือกตอบ 3 ตัวเลือก แบ่งเป็ นแบบสอบย่อย 7 ด้าน ดังนี้ 1.1 ด้านการระบุประเด็นปั ญหา (Identifying Problem) หมายถึง คะแนนความ ถู ก ต้อ งที่ ไ ด้จ ากแบบสอบด้า นการระบุ ป ระเด็ น ปั ญ หา ซึ่ งประกอบด้ว ยข้อ คํา ถามเกี่ ย วกับ ความสามารถในการระบุประเด็นปั ญหาจากข้อความที่กาหนด ํ 1.2 ด้านการรวบรวมข้อมูล (Collecting Information) หมายถึง คะแนนความถูกต้อง ที่ได้จากแบบสอบด้านการรวบรวมข้อมูล ซึ่ งประกอบด้วยข้อคําถามเกี่ยวกับความสามารถในการ สังเกตเพื่อรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ 1.3 ด้านการพิจารณาความน่าเชื่ อถือของแหล่งข้อมูล (Credibility of Source of Information) หมายถึง คะแนนความถูกต้องที่ได้จากแบบสอบด้านการพิจารณาความน่าเชื่ อถือของ แหล่ ง ข้อ มู ล ซึ่ งประกอบด้ว ยข้อ คํา ถามเกี่ ย วกับ การพิ จ ารณาความน่ า เชื่ อ ถื อ ของแหล่ ง ข้อ มู ล
  • 11. การประเมินความถูกต้องของข้อมูล และการประเมินความเพียงพอของข้อมูลทั้งในเชิ งปริ มาณและ คุณภาพ 1.4 ด้านการระบุลกษณะของข้อมูล (Identifying Information) หมายถึง คะแนน ั ความถู ก ต้องที่ ไ ด้จากแบบวัดด้า นการะบุ ล ัก ษณะข้อมู ล ซึ่ ง ประกอบด้วยข้อคํา ถามเกี่ ย วกับ การจําแนกประเภทข้อมูล และการระบุแนวความคิดที่อยูเ่ บื้อหลังข้อมูลที่ปรากฏ 1.5 ด้านการตั้งสมมติฐาน (Hypothesis) หมายถึงคะแนนความถูกต้องที่ได้จาก แบบวัดด้า นการตั้งสมมติ ฐาน ซึ่ ง ประกอบด้วยข้อคําถามเกี่ ย วกับ ความสามารถในการคิ ดถึ ง ความสัมพันธ์เชิงเหตุผลระหว่างข้อมูลที่มีอยูเ่ พื่อระบุทางเลือกที่เป็ นไปได้ 1.6 ด้านการลงข้อสรุ ป (Conclusion) หมายถึง คะแนนความถูกต้องที่ได้จากแบบวัด ด้านการสรุ ปซึ่ งประกอบด้วยข้อคําถามเกี่ยวกับการใช้เหตุผลแบบอุปนัย (Induction) และการใช้ เหตุผลแบบนิรนัย (Deductive) 1.7 ด้านการประเมินผล (Evaluation) หมายถึง คะแนนความถูกต้องที่ได้จาก แบบสอบด้านการประเมินผล ซึ่ งประกอบด้วยข้อคําถามเกี่ยวกับความสามารถในการยืนยันหรื อ เปลี่ยนแปลงข้อสรุ ป โดยอาศัยเกณฑ์ที่ถูกต้องเหมาะสมจากข้อมูลต่างๆ รวมทั้งความสามารถ ในการทํานายผลที่คาดว่าน่าจะเกิดตามมาจากผลการตัดสิ นข้อสรุ ปได้ 2. ศึกษาเอกสาร ตํารา และการวิจยที่เกี่ยวกับการสร้างแบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ั ทัวไป เพื่อนํามาเป็ นแนวทางในการเขียนข้อคําถาม ่ 4. สร้างแบบวัดการคิดอย่างมีวจารณญาณ โดยลักษณะแบบวัดจะประกอบด้วยข้อคําถาม ิ ซึ่ งข้อคําถามเป็ นแบบปรนัยชนิด 3 ตัวเลือก ในแต่ละข้อจะมีคาตอบที่ถูกเพียงหนึ่ งคําตอบ ถ้าตอบ ํ ถูกในแต่ละข้อ จะให้คะแนนข้อละ 1 คะแนน ถ้าตอบผิดในแต่ละข้อจะให้คะแนนข้อละ 0 คะแนน 5. ตรวจสอบคุณภาพของแบบวัดการคิดอย่างมีวจารณญาณที่สร้างขึ้นโดย ิ 5.1 ตรวจสอบความตรงเชิ งโครงสร้างและเนื้ อหา โดยการนําแบบวัดการคิดอย่างมี วิจารณญาณไปให้ผูเ้ ชี่ ยวชาญจํา นวน 5 ท่า น ตรวจสอบความสอดคล้องของข้อคํา ถามกับ ความสามารถที่ตองการวัดทั้ง 7 ด้าน และภาษาที่ใช้ หลังจากนั้นผูวิจยได้ดาเนิ นการปรับปรุ ง ้ ้ ั ํ เปลี่ยนแปลงข้อคําถาม ตัวเลือก และภาษาที่ใช้ให้เหมาะสมตามข้อเสนอของผูเ้ ชี่ยวชาญดังแสดงใน ภาคผนวก ข 5.2 นําแบบวัดการคิดอย่างมีวจารณญาณที่สร้างขึ้นไปทดสอบกับนักเรี ยนชั้นมัธยม ิ ศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนฟากกว๊านวิทยาคม อําเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา จํานวน 36 คน เพื่อหาค่า อํานาจจําแนกและค่าความยากง่ายของแบบวัด ได้ผลดังแสดงในภาคผนวก ค
  • 12. 5.3 คัดเลือกแบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณที่มีค่าความยากง่าย ระหว่าง 0.2 – 0.8 และค่าอํานาจจําแนกระหว่าง 0.2 – 1.0 ได้แบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณฉบับทดลอง จํานวน 25 ข้อ 5.4 นํา แบบวัดการคิ ดอย่า งมี วิจารณญาณ ที่ คดเลื อกไปทดสอบกับ นัก เรี ยนชั้น ั มัธยมศึกษาปี ที่ 3/1 โรงเรี ยนฟากกว๊านวิทยาคม อําเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา จํานวน 36 คน ที่ ยังไม่เคยทําข้อสอบมาก่อน เพื่อหาค่าความเชื่ อมันของแบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยวิธี ่ ของ Kuder Richardson สู ตร KR-20 ได้ค่าความเชื่อมันเท่ากับ 0.65 ดังแสดงในภาคผนวก ค ่ วิธีการเก็บรวบรวมข้ อมูล การวิจย ครั้ งนี้ ผูวิจย ดํา เนิ นการเก็บ รวบรวมข้อมูล ด้วยตนเอง โดยดําเนิ นตามขั้นตอน ั ้ ั ดังต่อไปนี้ 1. ผูวิจยทําการจัดเตรี ยมแบบวัด แผนการจัดการเรี ยนรู้ เครื่ องมือต่างๆในแผนและ ้ ั จัดเตรี ยมอุปกรณ์ ให้เรี ยบร้อยก่อนนําไปทดลอง 2. ผูวิจยทําการทดสอบก่อนเรี ยน นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนฟากกว๊าน ้ ั วิทยาคม อําเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา จํานวน 2 ห้องเรี ยน โดยใช้แบบวัดการคิดอย่างมี วิจารณญาณ 3. นักเรี ยนที่เรี ยนวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ตามแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มการคิด อย่างมีวิจารณญาณ ผูวิจยจัดการเรี ยนรู้ โดยใช้แผนการจัดการเรี ยนรู้วิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ที่ ้ ั ส่ งเสริ มการคิดอย่างมี วิจารณญาณ รวมทั้งสิ้ น 8 แผน ใช้เวลา 70 คาบ คาบละ 50 นาที เริ่ มตั้งแต่ วันที่ 22 พฤษภาคม 2549 ถึง 17 กุมภาพันธ์ 2549 4. เมื่อเสร็ จสิ้ นการสอนแล้วทําการทดสอบหลังเรี ยนของนักเรี ยน ที่เรี ยนวิชาโครงงาน วิทยาศาสตร์ ตามแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมีวิจารณญาณ การจัดกระทากับข้ อมูลและวิเคราะห์ ข้อมูล ในการวิเคราะห์ขอมูล ผูวจยวิเคราะห์ค่าทางสถิติโดยใช้โปรแกรมสําเร็ จรู ป ดังต่อไปนี้ ้ ้ิั 1. หาค่าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของคะแนนจากแบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ก่อนสอนของนักเรี ยนที่เรี ยนวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ตามแผนการจัดการเรี ยนรู ้ท่ีส่งเสริ มการคิด อย่างมีวจารณญาณ ิ
  • 13. 2. หาค่าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของคะแนนจากแบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนของนักเรี ยนที่เรี ยนวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ตามแผนการจัดการเรี ยนรู ้ ที่ ส่ งเสริ มการคิดอย่างมีวจารณญาณ เพื่อศึกษาคะแนนเฉลี่ยในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรี ยน ิ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 3. ทดสอบความแตกต่างของคะแนนจากแบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณก่อนเรี ยน และหลังเรี ยนของนักเรี ยนที่เรี ยนวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ตามแผนการจัดการเรี ยนรู ้ท่ีส่งเสริ มการ คิดอย่างมีวจารณญาณด้วยการทดสอบค่าที (t-test Dependent) เพื่อทดสอบสมมติฐาน ิ
  • 14. สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ การวิจยเรื่ อง ผลการจัดการเรี ยนรู ้วิทยาศาสตร์ ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมีวจารณญาณของ ั ิ นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนฟากกว๊านวิทยาคม ครั้งนี้ มีวตถุประสงค์เพื่อ เปรี ยบเทียบ ั ความสามารถในการคิ ดอย่า งมี วิจารณญาณของนัก เรี ย นที่ เรี ย นวิช าโครงงานวิท ยาศาสตร์ ตาม แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมีวจารณญาณก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ิ ในการวิจยครั้งนี้ เป็ นนักเรี ยนระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 จํานวน 91 คน เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจย ั ั ประกอบด้วยแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมีวิจารณญาณ วิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ว30207 แบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ในการดําเนิ นการวิจย ผูวิจยทดสอบก่อนเรี ยนด้วย ั ้ ั แบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ เมื่อสิ้ นสุ ดการจัดการเรี ยนรู้ ทดสอบด้วยแบบวัดที่ส่งเสริ มการ คิดอย่างมี วิจารณญาณอีกครั้ง จากผลการทดสอบทั้งสองครั้ งได้นาข้อมูลมาวิเคราะห์ โดยการ ํ ทดสอบค่าที (t-test Dependent) สรุ ปผลการวิจัย นักเรี ยนที่เรี ยนวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ตามแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มการคิดอย่าง มีวิจารณญาณมีคะแนนเฉลี่ยของการคิดอย่างมีวิจารณญาณหลังการทดลองสู งกว่าก่อนการทดลอง ผลการวิจยพบว่าคะแนนเฉลี่ ยของความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรี ยนที่เรี ยน ั วิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ท่ีส่งเสริ มการคิดอย่างมีวิจารณญาณสู งกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรี ยนอย่างมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่ งเป็ นไปตามสมมติฐานที่ต้ งไว้ ั อภิปรายผล จากการวิจยเรื่ องผลการจัดการเรี ยนรู ้ วิทยาศาสตร์ ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมี วิจารณญาณ ั ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนฟากกว๊านวิทยาคม สามารถอภิปรายผลได้ดงนี้ ั การเปรี ยบเทียบความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ที่เรี ยนวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ตามแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมีวิจารณญาณ พบว่า ค่าเฉลี่ยของคะแนนหลังเรี ยนสู งกว่าค่าเฉลี่ยคะแนนก่อนเรี ยนอย่างมีนยสําคัญที่ระดับ .05 ซึ่ ง ั
  • 15. เป็ นไปตามสมมติฐาน คือ นักเรี ยนที่เรี ยนวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ตามแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ ส่ งเสริ มการคิดอย่างมีวิจารณญาณมีคะแนนเฉลี่ยของการคิดอย่างมีวิจารณญาณหลังการทดลองสู ง กว่าก่อนการทดลอง ซึ่ งสอดคล้องกับผลการวิจยของเพ็ญพิศุทธิ์ เนคมานุรักษ์ (2537 : 140-144) ที่ ั ศึกษาเรื่ อง การพัฒนารู ปแบบพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณสําหรับนักศึกษาครู ซึ่ งผลการศึกษา พบว่านักศึกษากลุ่มทดลองที่ใช้รูปแบบพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณมีคะแนนเฉลี่ยของการคิด อย่างมีวิจารณญาณหลังการทดลองสู งกว่าก่อนการทดลอง และนักศึกษากลุ่มทดลองที่ใช้รูปแบบ พัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณมีคะแนนเฉลี่ ยของการคิดอย่างมีวิจารณญาณหลังการทดลองสู ง กว่านักศึกษากลุ่มควบคุมที่ใช้การสอนตามปกติ นอกจากนี้ยงสอดคล้องกับงานวิจยของกอบแก้ว แท้สูงเนิน (2538 : ง ) ที่ได้ศึกษาผลการ ั ั ใช้แบบฝึ กเพื่อพัฒนาทักษะการคิ ดวิจารณญาณของนักเรี ย นชั้น มัธ ยมศึก ษาปี ที่ 4 โรงเรี ย น มหิ ศราธิ บดี จังหวัดนครราชสี มา โดยพบว่า ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรี ยนที่ใช้ แบบฝึ กทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณสู งกว่ากลุ่มที่ไม่ได้ใช้แบบฝึ กอย่างมีนยสําคัญทางสถิ ติที่ ั ระดับ .05 และงานวิจยของมลิวลย์ สมศักดิ์ (2540 : ง ) ที่ศึกษาเรื่ องรู ปแบบการสอนเพื่อพัฒนาการ ั ั คิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรี ยนในโครงการขยายโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผลการศึกษา พบว่า การคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรี ยนที่ใช้รูปแบบการพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณสู ง กว่านักเรี ยนที่ไม่ได้รับการพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ซึ่ งก่อนการเรี ยนนักเรี ยนอาจมีวิธีการ คิดวิเคราะห์ประเด็นปั ญหาหรื อสถานการณ์ปัญหาต่างๆโดยระบบการคิดของตนเองเป็ นวิธีการคิด ่ เดิมอยูในระดับหนึ่ ง ตามทฤษฎีพฒนาการของ Piaget (Piaget’s Theory of Cognitive) ที่กล่าวถึง ั พัฒนาการทางสติปัญญาของเด็กวัยรุ่ น (12-15 ปี ) ว่าอยูในระยะการคิดอย่างเป็ นนามธรรม (Formal- ่ Operational Stage) ในช่วงนี้ นกเรี ยนสามารถคิดอย่างเป็ นเหตุเป็ นผลและคิดในสิ่ งที่ซบซ้อนอย่าง ั ั เป็ นนามธรรมได้มากขึ้น แต่วธีการคิดนั้นอาจยังไม่มีวธีการคิดพินิจพิเคราะห์ ไตร่ ตรองข้อมูลที่เป็ น ิ ิ ขั้นตอนนําไปสู่ กระบวนการคิดอย่างมี วิจารณญาณ หลังจากที่นกเรี ยนได้รับประสบการณ์ ั การเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมีวจารณญาณจากการเรี ยนวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ท่ีส่งเสริ มการ ิ คิดอย่างมีวิจารณญาณทําให้ความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรี ยนสู งขึ้น อาจสื บ เนื่องมาจากการที่นกเรี ยนได้ฝึกกระบวนการคิดอย่างมีข้ นตอนจากแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ ม ั ั การคิดอย่างมีวิจารณญาณ เป็ นการจัดระบบการคิดของนักเรี ยนใหม่ ให้มีระบบระเบียบมากขึ้น เพราะแผนการจัดการเรี ยนรู ้ วิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ที่ส่งเสริ มการคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ผวิจยู้ ั สร้างขึ้นนี้ได้นาเอาวิธีการสอนที่ส่งเสริ มการคิดรู ปแบบต่างๆของนักการศึกษาหลายๆท่านมาใช้ใน ํ กระบวนการจัดการเรี ยนรู้ในแผนการจัดการเรี ยนรู้ ดังเช่น ขั้นกระตุนความคิด ใช้การกระตุน ้ ้
  • 16. โดยตั้งคําถามให้นกเรี ยนคิด ซึ่งชาตรี สําราญ ได้อธิบายการสอนให้เด็กคิดเกี่ยวกับการใช้คาถามใน ั ํ การจัดการจัดการเรี ยนรู้ ่ สรุ ปได้วา การถามคําถาม จัดเป็ นสิ่ งเร้าที่ดีที่สุดที่จะฝึ กให้เด็กคิด เพราะการถามเป็ นการ นํานักเรี ยนให้เกิดการคิดไตร่ ตรอง ทบทวนความเข้าใจของตนเองและพยายามคิดเพื่อจะหาคําตอบ มาตอบคําถามของครู ให้ได้ (ชาตรี สําราญ. 2543 : 29-39) นอกจากนี้ การถามคําถามก็เป็ นกลยุทธ์ อย่างหนึ่งของการสอน ถือว่าเป็ นวิธีที่ดีท่ีจะใช้ในการสื่ อสารกับนักเรี ยนและจุดประกายไปสู่ คาถาม ํ อื่นๆ หรื อความสนใจค้นคว้าหาคําตอบทําให้นกเรี ยนเกิดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ คิดสร้างสรรค์ ั ก่อให้เกิดความท้าทายและถ้าการถามไม่คุกคามหรื อเค้นหาคําตอบจากนักเรี ยนมากเกินไป ก็จะทํา ให้เกิดสถานการณ์ที่เหมาะสมต่อการเรี ยนรู ้ ก่อให้นกเรี ยนเกิดความรู ้ สร้างสิ่ งเชื่อมโยงและจูงใจให้ ั นักเรี ยนรู ้จกการคิดแบบไตร่ ตรองหรื อการวางแผน (Plans) ขั้นคิดวิเคราะห์ ในขั้นนี้ ผวิจยได้ใช้ ั ู้ ั วิธีก ารเรี ย นรู้ ต่า งๆที่ ส่ง เสริ มกระบวนการคิ ดแก่ นัก เรี ย น เช่ นกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้ กระบวนการกลุ่ม วิธีการทางวิทยาศาสตร์ การทําแผนผัง ความคิด การอภิปราย เป็ นต้น ซึ่ งวิธีการ เหล่านี้ ทิศนา แขมมณี และคณะได้สรุ ปว่าการสอนเพื่อพัฒนากระบวนการคิด โดยการสอน เนื้ อหาสาระต่า งๆโดยใช้รูปแบบหรื อกระบวนการสอนที่เน้นกระบวนการคิ ด ครู สามารถนํา รู ปแบบการสอนเหล่านี้ ซึ่ งเป็ นรู ปแบบการสอนที่มีผคนคิดพัฒนา และทดสอบ พิสูจน์แล้วมาใช้ ู้ ้ เป็ นกระบวนการสอน ซึ่ งจะช่วยให้ครู สามารถพัฒนานักเรี ยนได้ท้ งด้านเนื้ อหาสาระและการคิดไป ั พร้อมๆกัน (ทิศนา แขมมณี และคณะ. 2540 : 64) ดังนั้นจึงเป็ นอีกขั้นตอนหนึ่ งที่สามารถพัฒนา นักเรี ยนให้เกิดทักษะการคิดขึ้นได้ นอกจากนี้ แล้วในขั้นนําเสนอแนวคิด ก็ยงมีการจัดกิจกรรมให้ ั นัก เรี ย นได้ฝึกกระบวนการคิ ดโดยเปิ ดโอกาสให้นัก เรี ย นออกมาอภิ ปรายนําเสนอแนวคิ ดจาก ขั้นตอนการคิดวิเคราะห์หน้าชั้นเรี ยน ซึ่ งการอภิปรายจัดเป็ นกิจกรรมหนึ่ งในการพัฒนาทักษะการ คิดอย่างมีวจารณญาณ ในขั้นสรุ ปความคิดมีการให้นกเรี ยนสรุ ปความคิดเป็ นแผนผังความคิดลงใน ิ ั สมุดบันทึกของตนเอง ในขั้นตอนนี้ นักเรี ยนจะเกิดมโนภาพและกระบวนการคิดตั้งแต่ตนจนจบ ้ ช่ วยให้เห็ นภาพรวมของเรื่ องที่ เรี ยนอย่างชัดเจน ซึ่ งจะช่ วยในการวิเคราะห์ ความสัมพันธ์ ของ ความคิดและนอกจากนี้ ผูวิจยยังนําเอาแนวคิ ดกระบวนการคิ ดอย่างมี วิจารณญาณของเพ็ญพิศุทธิ์ ้ ั เนคมานุรักษ์ (2537 : 26-27)ที่สรุ ปว่ากระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณประกอบด้วยกระบวนการ ต่างๆ คือ การระบุหรื อทําความเข้า ใจกับประเด็นปั ญหา การรวบรวมข้อมูลการพิจารณาความ น่าเชื่ อถื อของข้อมูล การระบุคุณลักษณะของข้อมูล การตั้งสมมติฐานการลงข้อสรุ ป และการ ประเมินข้อสรุ ป กระบวนการต่างๆเหล่านี้ ผวิจยได้นามาเป็ นแนวทางในการทําใบกิจกรรมเพื่อฝึ ก ู้ ั ํ การคิดอย่างมีวจารณญาณในแผนการจัดการเรี ยนรู ้ทุกแผน ิ
  • 17. จะเห็นว่าการที่นกเรี ยนได้ฝึกกระบวนการคิดอย่างมีข้ นตอนจากแผนการจัดการเรี ยนรู ้ น้ ี ั ั นักเรี ยนได้มีการจัดองค์ประกอบของสมอง ก่อให้เกิ ดศักยภาพของสมองดี ข้ ึนเป็ นไปตามทฤษฎี ่ ของ Guilford (Guilford’s Theory) ดังที่ ทิศนา แขมมณี กล่าวไว้ สรุ ปได้วาความสามารถทางสมอง ั ของมนุษย์จะประกอบด้วย 3 มิติ ที่มีความสัมพันธ์กนคือ เนื้ อหา(Contents) ปฏิบติการ (Operations) ั และผลผลิต (Products) นันคือ ในการสร้างเสริ มศักยภาพทางการคิดที่เป็ นระบบของมนุ ษย์น้ น ่ ั จะต้องมี เหตุการณ์ หรื อเรื่ องราวต่างๆที่ก่อให้เกิ ดความคิดอาจเป็ นภาพสัญลักษณ์ บทความหรื อ ข้อความใดๆ ที่สื่อให้เกิ ดแนวคิด จากนั้นขบวนการในสมองจะเกิดการปฏิบติการเพื่อจัดการกับั ความรู ้หรื อสิ่ งเร้าที่ได้รับนั้น โดยอาจมีท้ งการรับรู ้ทาความเข้าใจกับสิ่ งนั้น ั ํ (ทิศนา แขม มณี . 2540 : 19-22) การเก็บรักษาสิ่ งที่รับรู้ไว้ใช้ การคิดที่หลากหลายหรื อการคิดแบบเอนกนัย (Divergent thinking) เป็ นการคิดเพื่อให้ได้แนวทางในการแก้ปัญหาหรื อการคิดแบบ เอกนัย (Convergent thinking)รวมทั้ งการคิ ดประเมิ นค่า (Evaluation)ในสิ่ งที่ คิด ผลที่ได้จากการคิด ั (Product) จะเป็ นสิ่ งที่สามารถจัดเชื่อมโยงความสัมพันธ์กนอย่างเป็ นระเบียบแบบแผนและสามารถ นําผลที่คิดนั้นไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ตอไปได้ ่ นอกจากนี้ การที่ นกเรี ยนได้ฝึกกระบวนการคิดด้วยการทํากิ จกรรมซํ้าๆกันหลายๆครั้ ง ั ส่ งผลให้นักเรี ยนเกิ ดการเรี ยนรู ้ และมี ความชํานาญในการคิ ดอย่างมี ข้ นตอนจนเกิ ดทักษะการคิ ด ั เป็ นไปตามกฎแห่งการฝึ ก (Law of Exercise) ซึ่งเป็ นกฎการเรี ยนรู้ของธอร์ นไดค์ ที่ทิศนา แขมมณี ่ (2540 : 7) ได้สรุ ปไว้วา หากสิ่ งใดก็ตามที่มีการฝึ ก จะมีความคล่องแคล่วและสามารถทําได้ดี ซึ่งจาก สภาพการจัดการเรี ยนรู้ ที่ผวิจยได้สังเกตในขณะทําการวิจย พบว่า ในการทํากิ จกรรมการเรี ยนรู ้ ู้ ั ั ตามแผนการจัดการเรี ยนรู้ใน 2 แผนแรก นักเรี ยนจะเกิดความสับสน ไม่เข้าใจ เมื่อรวมกลุ่มเพื่อ อภิปรายผลการคิด หรื อแสดงความคิ ดเห็ นต่า งๆ ก็ไม่มีการอภิ ปรายแสดงความคิ ดเห็ นหรื อ แลกเปลี่ ยนผลการคิดซึ่ งกันและกัน นอกจากนี้ ยงพบว่าการปฏิบติกิจกรรมของนักเรี ยนจะใช้เวลา ั ั มากกว่าที่กาหนดไว้ ผูวจยต้องชี้แนะ แนะนํา กระตุนให้นกเรี ยนปฏิบติกิจกรรมตามแนวทางในการ ํ ้ิั ้ ั ั ทํากิจกรรมทุกขั้นตอน ทําให้การปฏิบติกิจกรรมตามกระบวนการจัดการเรี ยนรู ้เพื่อฝึ กการคิดอย่างมี ั วิจารณญาณของนักเรี ยนในแผนต่อมามีผลดีข้ ึน นั้นคือ นักเรี ยนเริ่ มปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเป็ นไป ํ ตามขั้นตอนและเวลาที่กาหนดไว้ นอกจากนี้ จากการประเมินผลการทําใบกิจกรรมฝึ กกระบวนการ คิดอย่างมีวิจารณญาณ พบว่านักเรี ยนสามารถทําแบบฝึ กได้ถูกต้องมากขึ้น แสดงว่าการสอนวิชา โครงงานวิทยาศาสตร์ ท่ีส่งเสริ มการคิดอย่างมีวิจารณญาณนี้ สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการคิด ของนักเรี ยนให้มีระบบระเบียบมากขึ้น เป็ นการจัดระบบการคิด และเพิ่มศักยภาพทางการคิดของ นักเรี ยนให้มีประสิ ทธิ ภาพสู งขึ้นได้