SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  6
Télécharger pour lire hors ligne
พลังงาน (Energy)
   พลังงาน หมายถึง สิ่งที่ใช้เพื่อการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
หรือให้มีการเคลื่อนที่ของมวลสารจากสภาพหนึ่งไปอีกสภาพ
หนึ่ง
ประเภทของพลังงาน

1. พลังงานจากแร่เชื้อเพลิงธรรมชาติ ได้แก่ ปิโตรเลียม
   ถ่านหิน หินน้้ามัน สารกัมมันตรังสี เป็นต้น
2. พลังงานจากแร่ธรรมชาติ ได้แก่ พลังน้้า พลังงาน
    แสงอาทิตย์ พลังงานลม และพลังงานความร้อนใต้พิภพ
3. พลังงานจากเชื้อเพลิงรูปอื่น เช่น ฟืน ถ่านไม้ ขี้เลื่อย แกลบ
    ชานอ้อย เป็นต้น
• ถ่านหิน ( Coal )
     ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิงฟอสซิล ( Fossil fuel ) มีต้นกาเนิด มาจากการสะสม
ของอินทรียวัตถุ ( ซากพืช ) ที่ทับถมกันนานประมาณ 40 - 300 ล้านปี ถ่านหิน
มีส่วนประกอบของสารหลายชนิด โดยมีธาตุที่สาคัญ คือคาร์บอนถ่านหินชนิด
ใดมีเปอร์เซนต์ของธาตุคาร์บอนมากจะเป็นถ่านหินที่มีคุณภาพดี เผาไหม้แล้ว
ให้ความร้อนสูง ถ่านหินมี 4 ชนิด เรียงตามปริมาณคาร์บอนสูงไปต่า
ได้แก่ แอนทราไซต์ ( anthacite ) บิทูมินัส ( bituminous ) ลิกไนต์ ( lignite )
และถ่านพีท ( peat )
    สาหรับถ่านหินที่พบในประเทศไทยเป็นถ่านหินที่พบว่ามีคุณภาพต่า อยู่ใน
ชั้นลิกไนต์และซับบิทูมินัส มีค่าความร้อนระหว่าง 2,800 - 5,200 กิโลแคลอรี่
ต่อกิโลกรัมหรืออาจกล่าวได้ว่าถ่านลิกไนต์ 2 - 3.7 ตันจะให้ค่าความร้อน
เท่ากับน้ามันเตา 1 ตัน
• ฟืนและถ่านไม้
      ฟืนและถ่านไม้จัดเป็นเชื้อเพลิงเพื่อการยังชีพของมนุษย์ที่
เก่าแก่ที่สุด โดยเฉพาะประเทศด้อยพัฒนา ถึงแม้ประชาชนในเมือง
จะนิยมใช้พลังงานรูปอื่นๆ แทนไม้ฟืนและถ่านไม้แล้วก็ตาม แต่
ประชาชนในชนบทและในเมืองบางส่วนก็ยังนิยมใช้อยู่
   การน้าไม้มาใช้เพื่อเป็นแหล่งความร้อนและพลังงานท้าให้ป่าไม้ปก
คลุมโลกอยู่ประมาณร้อยละ 20 ลดลงอย่างน่าเป็นห่วง ส่งผลกระทบ
ต่อสิ่งแวดล้อมมากมาย เป็นการลงทุนที่ไม่คุ้มกับหน่วยความร้อนที่
ได้ จึงกล่าวได้ว่าฟืนและถ่านไม้เป็นแหล่งพลังงานที่ไม่น่าจะพัฒนา
ให้มีการใช้ในโลกปัจจุบัน
• วัสดุเหลือทิ้งจากการเกษตร
       ได้แก่ แกลบ ขี้เลื่อย ฟางข้าว ชานอ้อย ซังข้าวโพด
       ฟางข้าวประมาณ 35 ล้านตัน และกากอ้อยประมาณ 7 ล้านตันมีศักยภาพ
ในเชิงความร้อนเทียบเท่าน้ามันดิบ 13.3 ล้านตันน้ามันดิบ
      การนาวัสดุเหล่านี้มาเป็นเชื้อเพลิงสามารถกระทาได้หลายวิธี เช่น ใช้เป็น
เชื้อเพลิงโดยตรงในเตาเพื่อผลิตความร้อนในหม้อน้าหรือผลิตกระแสไฟฟ้า
และการทาเป็นเชื้อเพลิงอัดแท่งแทนฟืน เป็นต้น ประโยชน์ที่ได้รับมีหลายทาง
เช่น ใช้เป็นเชื้อเพลิงหุงต้มในครัวเรือนขับเคลื่อนเครื่องยนต์ ต้นกาลังสาหรับ
การสูบน้า ไถนา สีข้าว ผลิตกระแสไฟฟ้าและใช้ความร้อนในการอบพืช ใน
ปัจจุบันได้มีการวิจัย ค้นหาและพัฒนาให้สามารถนามาใช้ประโยชน์อย่างมี
ประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งนี้จะต้องพิจารณาถึงความเหมาะสมทางด้านวิชาการ
เศรษฐกิจและสังคมด้านปัญหาสิ่งแวดล้อม ก่อนจะส่งเสริมให้มีการใช้กันอย่าง
แพร่หลายต่อไป

Contenu connexe

En vedette

ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำJiraporn
 
ทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดินทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดินJiraporn
 
สัตว์ป่า
สัตว์ป่าสัตว์ป่า
สัตว์ป่าJiraporn
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมdnavaroj
 
แบบทดสอบวิชาการละเมิดสิทธิ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (เฉลย)ตอน1
แบบทดสอบวิชาการละเมิดสิทธิ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (เฉลย)ตอน1แบบทดสอบวิชาการละเมิดสิทธิ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (เฉลย)ตอน1
แบบทดสอบวิชาการละเมิดสิทธิ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (เฉลย)ตอน1peter dontoom
 
ข้อสอบ เรื่องชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สำหรับ นักเรียน
ข้อสอบ เรื่องชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สำหรับ นักเรียนข้อสอบ เรื่องชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สำหรับ นักเรียน
ข้อสอบ เรื่องชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สำหรับ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timssNirut Uthatip
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
ข้อสอบการอ่าน (PISA)
ข้อสอบการอ่าน (PISA)ข้อสอบการอ่าน (PISA)
ข้อสอบการอ่าน (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceKobwit Piriyawat
 

En vedette (10)

ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
 
ทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดินทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดิน
 
สัตว์ป่า
สัตว์ป่าสัตว์ป่า
สัตว์ป่า
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
แบบทดสอบวิชาการละเมิดสิทธิ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (เฉลย)ตอน1
แบบทดสอบวิชาการละเมิดสิทธิ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (เฉลย)ตอน1แบบทดสอบวิชาการละเมิดสิทธิ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (เฉลย)ตอน1
แบบทดสอบวิชาการละเมิดสิทธิ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (เฉลย)ตอน1
 
ข้อสอบ เรื่องชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สำหรับ นักเรียน
ข้อสอบ เรื่องชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สำหรับ นักเรียนข้อสอบ เรื่องชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สำหรับ นักเรียน
ข้อสอบ เรื่องชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สำหรับ นักเรียน
 
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
ข้อสอบการอ่าน (PISA)
ข้อสอบการอ่าน (PISA)ข้อสอบการอ่าน (PISA)
ข้อสอบการอ่าน (PISA)
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 

Plus de Jiraporn

Best practice2013
Best practice2013Best practice2013
Best practice2013Jiraporn
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์Jiraporn
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 
profile Fakkwanwittayakom school
profile Fakkwanwittayakom schoolprofile Fakkwanwittayakom school
profile Fakkwanwittayakom schoolJiraporn
 
งานและพลังงาน
งานและพลังงานงานและพลังงาน
งานและพลังงานJiraporn
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมJiraporn
 
แบบฝึกหัดเอกภพ
แบบฝึกหัดเอกภพแบบฝึกหัดเอกภพ
แบบฝึกหัดเอกภพJiraporn
 
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ Jiraporn
 
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305Jiraporn
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้าJiraporn
 
1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์Jiraporn
 
Attachment
AttachmentAttachment
AttachmentJiraporn
 
รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awardsรายงาน Obec awards
รายงาน Obec awardsJiraporn
 
ชุดการสอนใส่ใจสุขภาพ
ชุดการสอนใส่ใจสุขภาพชุดการสอนใส่ใจสุขภาพ
ชุดการสอนใส่ใจสุขภาพJiraporn
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อJiraporn
 
รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awards รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awards Jiraporn
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54Jiraporn
 

Plus de Jiraporn (20)

Best practice2013
Best practice2013Best practice2013
Best practice2013
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
profile Fakkwanwittayakom school
profile Fakkwanwittayakom schoolprofile Fakkwanwittayakom school
profile Fakkwanwittayakom school
 
งานและพลังงาน
งานและพลังงานงานและพลังงาน
งานและพลังงาน
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
แบบฝึกหัดเอกภพ
แบบฝึกหัดเอกภพแบบฝึกหัดเอกภพ
แบบฝึกหัดเอกภพ
 
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
 
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
M3 91c
M3 91cM3 91c
M3 91c
 
M3 91d
M3 91dM3 91d
M3 91d
 
1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์1.อิเล็กทรอนิกส์
1.อิเล็กทรอนิกส์
 
Eco1
Eco1Eco1
Eco1
 
Attachment
AttachmentAttachment
Attachment
 
รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awardsรายงาน Obec awards
รายงาน Obec awards
 
ชุดการสอนใส่ใจสุขภาพ
ชุดการสอนใส่ใจสุขภาพชุดการสอนใส่ใจสุขภาพ
ชุดการสอนใส่ใจสุขภาพ
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awards รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awards
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
 

พลังงาน

  • 1.
  • 2. พลังงาน (Energy) พลังงาน หมายถึง สิ่งที่ใช้เพื่อการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ หรือให้มีการเคลื่อนที่ของมวลสารจากสภาพหนึ่งไปอีกสภาพ หนึ่ง
  • 3. ประเภทของพลังงาน 1. พลังงานจากแร่เชื้อเพลิงธรรมชาติ ได้แก่ ปิโตรเลียม ถ่านหิน หินน้้ามัน สารกัมมันตรังสี เป็นต้น 2. พลังงานจากแร่ธรรมชาติ ได้แก่ พลังน้้า พลังงาน แสงอาทิตย์ พลังงานลม และพลังงานความร้อนใต้พิภพ 3. พลังงานจากเชื้อเพลิงรูปอื่น เช่น ฟืน ถ่านไม้ ขี้เลื่อย แกลบ ชานอ้อย เป็นต้น
  • 4. • ถ่านหิน ( Coal ) ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิงฟอสซิล ( Fossil fuel ) มีต้นกาเนิด มาจากการสะสม ของอินทรียวัตถุ ( ซากพืช ) ที่ทับถมกันนานประมาณ 40 - 300 ล้านปี ถ่านหิน มีส่วนประกอบของสารหลายชนิด โดยมีธาตุที่สาคัญ คือคาร์บอนถ่านหินชนิด ใดมีเปอร์เซนต์ของธาตุคาร์บอนมากจะเป็นถ่านหินที่มีคุณภาพดี เผาไหม้แล้ว ให้ความร้อนสูง ถ่านหินมี 4 ชนิด เรียงตามปริมาณคาร์บอนสูงไปต่า ได้แก่ แอนทราไซต์ ( anthacite ) บิทูมินัส ( bituminous ) ลิกไนต์ ( lignite ) และถ่านพีท ( peat ) สาหรับถ่านหินที่พบในประเทศไทยเป็นถ่านหินที่พบว่ามีคุณภาพต่า อยู่ใน ชั้นลิกไนต์และซับบิทูมินัส มีค่าความร้อนระหว่าง 2,800 - 5,200 กิโลแคลอรี่ ต่อกิโลกรัมหรืออาจกล่าวได้ว่าถ่านลิกไนต์ 2 - 3.7 ตันจะให้ค่าความร้อน เท่ากับน้ามันเตา 1 ตัน
  • 5. • ฟืนและถ่านไม้ ฟืนและถ่านไม้จัดเป็นเชื้อเพลิงเพื่อการยังชีพของมนุษย์ที่ เก่าแก่ที่สุด โดยเฉพาะประเทศด้อยพัฒนา ถึงแม้ประชาชนในเมือง จะนิยมใช้พลังงานรูปอื่นๆ แทนไม้ฟืนและถ่านไม้แล้วก็ตาม แต่ ประชาชนในชนบทและในเมืองบางส่วนก็ยังนิยมใช้อยู่ การน้าไม้มาใช้เพื่อเป็นแหล่งความร้อนและพลังงานท้าให้ป่าไม้ปก คลุมโลกอยู่ประมาณร้อยละ 20 ลดลงอย่างน่าเป็นห่วง ส่งผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมมากมาย เป็นการลงทุนที่ไม่คุ้มกับหน่วยความร้อนที่ ได้ จึงกล่าวได้ว่าฟืนและถ่านไม้เป็นแหล่งพลังงานที่ไม่น่าจะพัฒนา ให้มีการใช้ในโลกปัจจุบัน
  • 6. • วัสดุเหลือทิ้งจากการเกษตร ได้แก่ แกลบ ขี้เลื่อย ฟางข้าว ชานอ้อย ซังข้าวโพด ฟางข้าวประมาณ 35 ล้านตัน และกากอ้อยประมาณ 7 ล้านตันมีศักยภาพ ในเชิงความร้อนเทียบเท่าน้ามันดิบ 13.3 ล้านตันน้ามันดิบ การนาวัสดุเหล่านี้มาเป็นเชื้อเพลิงสามารถกระทาได้หลายวิธี เช่น ใช้เป็น เชื้อเพลิงโดยตรงในเตาเพื่อผลิตความร้อนในหม้อน้าหรือผลิตกระแสไฟฟ้า และการทาเป็นเชื้อเพลิงอัดแท่งแทนฟืน เป็นต้น ประโยชน์ที่ได้รับมีหลายทาง เช่น ใช้เป็นเชื้อเพลิงหุงต้มในครัวเรือนขับเคลื่อนเครื่องยนต์ ต้นกาลังสาหรับ การสูบน้า ไถนา สีข้าว ผลิตกระแสไฟฟ้าและใช้ความร้อนในการอบพืช ใน ปัจจุบันได้มีการวิจัย ค้นหาและพัฒนาให้สามารถนามาใช้ประโยชน์อย่างมี ประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งนี้จะต้องพิจารณาถึงความเหมาะสมทางด้านวิชาการ เศรษฐกิจและสังคมด้านปัญหาสิ่งแวดล้อม ก่อนจะส่งเสริมให้มีการใช้กันอย่าง แพร่หลายต่อไป