SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  16
Télécharger pour lire hors ligne
เศรษฐกิจพอเพียงกับคณิตศาสตร์
เกษตรทฤษฎีใหม่
    การปฏิบัติตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงสามารถปฏิบัติได้หลาย
แนวทาง แต่จะขอเสนอเกษตรทฤษฎีใหม่ที่ใช้ในการจัดพื้นที่ให้เกิด
ประโยชน์สูงสุด
"ทฤษฎีใหม่" เป็นแนวทางหรือหลักในการบริหารจัดการที่ดินและน้้า เพื่อ
การเกษตรในที่ดินขนาดเล็กให้เกิดประโยชน์สูงสุด ด้วยหลักเศรษฐกิจพอเพียง
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระราชด้ารินี้เพื่อเป็นการช่วยเหลือ
เกษตรกรที่ประสบความยากล้าบาก ให้สามารถผ่านช่วงวิกฤต โดยเฉพาะการขาด
แคลนน้้าได้โดยไม่เดือดร้อนและยากล้าบากนัก

      การด้าเนินงานตามทฤษฎีใหม่มี 3 ขั้นตอน คือ
1 ) การผลิต ให้พึ่งตนเองด้วยวิธีง่าย ค่อยเป็นค่อยไปตามก้าลัง ให้พอมีพอกิน
2 ) การรวมพลังกันในรูปแบบ หรือ สหกรณ์ ร่วมแรงร่วมใจกัน ในด้านการผลิต
การตลาด ความเป็นอยู่ สวัสดิการ การศึกษา สังคมและศาสนา
3 ) การด้าเนินธุรกิจโดยติดต่อ ประสานงาน จัดหาทุนหรือแหล่งเงิน
ทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 1




ขุดสระเก็บกักน้้า
พื้นที่ประมาณ 30% ให้ขุดสระเก็บกักน้้า เพื่อให้มีน้าใช้สม่้าเสมอตลอด
ปี โดยเก็บกักน้้าฝนในฤดูฝน และใช้เสริมการปลูกพืชในฤดูแล้ง หรือ
ระยะฝนทิ้งช่วง ตลอดจนการเลี้ยงสัตว์ และพืชน้้าต่างๆ เช่น ผักบุ้ง ผัก
กระเฉด โสน ฯลฯ
ปลูกข้าว
พื้นที่ประมาณ 30 % ให้ปลูกข้าวในฤดูฝน เพื่อใช้เป็นอาหารประจ้าวัน
ส้าหรับครัวเรือนให้เพียงพอตลอดปี โดยไม่ต้องซื้อหาในราคาแพง เป็น
การลดค่าใช้จาย และสามารพึ่งตนเองได้
             ่
ปลูกผลไม้ ไม้ยืนต้น พืชไร่ พืชผัก
พื้นที่ประมาณ 30 % ให้ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น พืชไร่ พืชผัก พืชสมุนไพร
ฯลฯ อย่างผสมผสานกัน และหลากหลายในพื้นที่เดียวกัน เพื่อใช้เป็น
อาหารประจ้าวัน หากเหลือจากการบริโภคก็น้าไปขายได้
เป็นที่อยู่อาศัย และอื่นๆ
พื้นที่ประมาณ 10 % ใช้เป็นที่อยู่อาศัย เลี้ยงสัตว์ ถนนหนทาง คันดิน
โรงเรือนและสิ่งก่อสร้างอื่นๆ รวมทั้งคอกเลี้ยงสัตว์ เรือนเพาะช้า ยุ้งฉาง
เก็บผลิตผลการเกษตร ฯลฯ
หลักการและแนวทางส้าคัญในการด้าเนินงานเกษตรตามแนว
"ทฤษฎีใหม่ขนที่ 1" ที่ควรทราบมีดังนี้
                ั้
- เป็นระบบการผลิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง ที่เกษตรกรสามารถเลี้ยง
ตัวเองได้ในระดับที่ประหยัดก่อน
- ต้องมีพื้นที่ส่วนหนึ่งท้านาข้าว เพราะข้าวเป็นปัจจัยหลักที่ทุกครัวเรือน
ต้องปลูก เพื่อให้มีข้าวพอบริโภคตลอดทั้งปี
- ต้องมีน้าส้ารองไว้ใช้เพียงพอตลอดปี เพื่อการเพาะปลูกในระยะฝนทิ้ง
ช่วง หรือในฤดูแล้ง
- ใช้อัตราส่วน 30 : 30 : 30 : 10 ในการแบ่งพื้นที่ออกเป็น 4 ส่วน ไม่ว่า
จะมีพื้นที่ถือครองน้อยหรือมาก
ตัวอย่างการคิดหาการแบ่งพื้นที่ หากเรามีพื้นที่ 60 ไร่
   การหาพื้นที่ปลูกข้าว
   พื้นที่ 100 ไร่ เป็นพื้นที่ปลูกข้าว             30 ไร่
   พื้นที่ 1           ไร่ เป็นพื้นที่ปลูกข้าว      30 ÷ 100
   พื้นที่ 60 ไร่ เป็นพื้นที่ปลูกข้าว
                      30 ÷ 100 × 60 = 18 ไร่
   พื้นที่ปลูกข้าว        12 ไร่
   การหาพื้นที่พืชผักผลไม้ คิดเช่นเดียวกัน
                 พื้นที่ปลูกผักผลไม้         30 ÷ 100 × 60 = 18 ไร่
   การหาพื้นที่แหล่งน้า คิดเช่นเดียวกัน
                  พื้นที่แหล่งน้้า             30 ÷ 100 × 60 = 18 ไร่
การหาพื้นที่ที่อยู่อาศัยและเลี้ยงสัตว์
    พื้นที่ที่อยู่อาศัยและเลี้ยงสัตว์    10 ÷ 100 × 60 = 6 ไร่
    รวมพื้นที่ทั้งหมด พื้นที่ปลูกข้าว 18 ไร่ พื้นที่ปลูกผักผลไม้ 18 ไร่
    พื้นที่แหล่งน้้า 18 ไร่ และพืนที่ที่อยู่อาศัยและเลี้ยงสัตว์ 6 ไร่
                                       ้
    รวมพื้นที่ทั้งหมด 18 + 18 + 18 + 6 = 60 ไร่
ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สอง
                               เมื่อเกษตรกรเข้าใจในหลักการและได้ปฏิบัติในทีดินของตนจนได้ผล
                                                                                 ่
    แล้ว ก็ต้องเริ่มขั้นทีสอง คือให้เกษตรกรรวมพลังกันในรูป กลุ่ม หรือ สหกรณ์ ร่วมแรงร่วมใจกัน
                          ่
    ด้าเนินการในด้าน
                               (๑) การผลิต (พันธุ์พืช เตรียมดิน ชลประทาน ฯลฯ)
                               - เกษตรกรจะต้องร่วมมือในการผลิต โดยเริ่ม ตั้งแต่ขั้นเตรียมดิน การ
    หาพันธุ์พืช ปุ๋ย การจัดหาน้้า และอื่นๆ เพื่อการเพาะปลูก
                               (๒) การตลาด (ลานตากข้าว ยุ้ง เครื่องสีข้าว การจ้าหน่ายผลผลิต)
                               - เมื่อมีผลผลิตแล้ว จะต้องเตรียมการต่างๆ เพื่อการขายผลผลิตให้ได้
    ประโยชน์สูงสุด เช่น การเตรียมลานตากข้าวร่วมกัน การจัดหายุ้งรวบรวมข้าว เตรียมหาเครื่องสี
    ข้าว ตลอดจนการรวมกันขายผลผลิตให้ได้ราคาดีและลดค่าใช้จ่ายลงด้วย
                               (๓) การเป็นอยู่ (กะปิ น้้าปลา อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ฯลฯ)
                               - ในขณะเดียวกันเกษตรกรต้องมีความเป็นอยูที่ดีพอสมควร โดยมี
                                                                             ่
    ปัจจัยพืนฐานในการด้ารงชีวิต เช่น อาหารการกินต่างๆ กะปิ น้้าปลา เสื้อผ้า ที่พอเพียง
            ้
(๔) สวัสดิการ (สาธารณสุข เงินกู้)
                            - แต่ละชุมชนควรมีสวัสดิภาพและบริการที่จ้าเป็น เช่น มีสถานีอนามัย
เมื่อยามป่วยไข้ หรือมีกองทุนไว้กู้ยืมเพื่อประโยชน์ในกิจกรรมต่างๆ ของชุมชน
                            (๕) การศึกษา (โรงเรียน ทุนการศึกษา)
                            - ชุมชนควรมีบทบาทในการส่งเสริมการศึกษา เช่น มีกองทุนเพื่อ
การศึกษาเล่าเรียนให้แก่เยาวชนของชมชนเอง
                            (๖) สังคมและศาสนา
                            - ชุมชนควรเป็นที่รวมในการพัฒนาสังคมและจิตใจ โดยมีศาสนาเป็นที่
ยึดเหนี่ยว
                            โดยกิจกรรมทั้งหมดดังกล่าวข้างต้น จะต้องได้รับความร่วมมือจากทุก
ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าส่วนราชการ องค์กรเอกชน ตลอดจนสมาชิกในชุมชนนั้นเป็นส้าคัญ
ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สาม
                            เมื่อด้าเนินการผ่านพ้นขั้นทีสองแล้ว เกษตรกร หรือกลุ่มเกษตรกรก็ควร
                                                        ่
    พัฒนาก้าวหน้าไปสู่ขนทีสามต่อไป คือติดต่อประสานงาน เพื่อจัดหาทุน หรือแหล่งเงิน เช่น
                       ั้ ่
    ธนาคาร หรือบริษัท ห้างร้านเอกชน มาช่วยในการลงทุนและพัฒนาคุณภาพชีวิต
                            ทั้งนี้ ทังฝ่ายเกษตรกรและฝ่ายธนาคาร หรือบริษัทเอกชนจะได้รับ
                                      ้
    ประโยชน์ร่วมกัน กล่าวคือ
                            - เกษตรกรขายข้าวได้ราคาสูง (ไม่ถูกกดราคา)
                            - ธนาคารหรือบริษัทเอกชนสามารถซื้อข้าวบริโภคในราคาต่้า (ซื้อ
    ข้าวเปลือกตรงจากเกษตรกรและมาสีเอง)
                            - เกษตรกรซื้อเครื่องอุปโภคบริโภคได้ในราคาต่้า เพราะรวมกันซื้อเป็น
    จ้านวนมาก (เป็นร้านสหกรณ์ราคาขายส่ง)
                            - ธนาคารหรือบริษัทเอกชน จะสามารถกระจายบุคลากร เพื่อไป
    ด้าเนินการในกิจกรรมต่างๆ ให้เกิดผลดี
ประโยชน์ของ "ทฤษฎีใหม่ สรุปได้ดังนี้
   - ประชาชนพออยู่พอกินในระดับประหยัด เลี้ยงตนเองได้ ไม่อดอยาก ตามหลัก
   ปรัชญาของ "เศรษฐกิจพอเพียง"
   - ในหน้าแล้งก็สามารถน้าน้้าที่เก็บกักไว้ในสระมาปลูกพืชที่ใช้น้าน้อย เช่น ถั่ว
   ต่างๆ ได้ โดยไม่ต้องอาศัยชลประทาน
   - ในปีที่ฝนตกตามฤดูกาล ก็สามารถสร้างรายได้ให้ร่้ารวยได้
   - ในกรณีที่เกิดอุทกภัย ก็สามารถฟื้นตัว และช่วยตัวเองได้ในระดับหนึ่ง โดย
   ราชการไม่ต้องช่วยเหลือมากนัก
เกษตรทฤษฎีใหม่เป็นแนวทางอันมีประโยชน์มากมายให้กับชาว
เกษตรกร แต่ผู้ที่ไม่ได้เป็นเกษตรกรหรือประชาชนทั่วไปนั้นก็สามารถ
น้าทฤษฎีใหม่ไปใช้ได้เช่นกัน โดยประยุกต์จากการใช้กับการเกษตรมา
เป็นพื้นที่ในบ้านเอง
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม
ด.ช.ศุภณัฐ    แก้วบุญเรือง              เลขที่   12
ด.ช.อิษวัต    เจียระไนรุ่งโรจน์         เลขที่   17
ด.ญ.จริญญา    ราษฎร์พิทักษ์             เลขที่   20
ด.ญ.พัณณิตา   ศิลปพงศ์พาณิช             เลขที่   29
ด.ญ.มิ่งกมล   เชื้อหงษ์ทอง              เลขที่   32
น.ส.มุกอาภา   สายค้าฟู                  เลขที่   33
                             ชั้น ม.3/16

Contenu connexe

Similaire à เศรษฐกิจ..[1]

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงGGreat
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่Chung Bowji
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่Chung Bowji
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงKruhy LoveOnly
 
เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่Intrapan Suwan
 
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)Nutthakorn Songkram
 
ความพอเพียงแนวทางพ่อหลวง
ความพอเพียงแนวทางพ่อหลวงความพอเพียงแนวทางพ่อหลวง
ความพอเพียงแนวทางพ่อหลวงKruwaw-ru Kan
 
เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงIFon Lapthavon
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงJiraprapa Suwannajak
 
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืนเศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืนAnantaya
 
Merged document
Merged documentMerged document
Merged documentapecthaitu
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรchompoo28
 
Social Enterprise: Introduction and SROI
Social Enterprise: Introduction and SROISocial Enterprise: Introduction and SROI
Social Enterprise: Introduction and SROISarinee Achavanuntakul
 
Green net introduction
Green net introductionGreen net introduction
Green net introductionT_Greennet
 
โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่Budsayarangsri Hasuttijai
 

Similaire à เศรษฐกิจ..[1] (20)

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่
 
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
 
ความพอเพียงแนวทางพ่อหลวง
ความพอเพียงแนวทางพ่อหลวงความพอเพียงแนวทางพ่อหลวง
ความพอเพียงแนวทางพ่อหลวง
 
เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
case study Cp
case study Cpcase study Cp
case study Cp
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืนเศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
 
Thai economic
Thai economicThai economic
Thai economic
 
Thai economic
Thai economicThai economic
Thai economic
 
Merged document
Merged documentMerged document
Merged document
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
Social Enterprise: World & Thailand
Social Enterprise: World & ThailandSocial Enterprise: World & Thailand
Social Enterprise: World & Thailand
 
Social Enterprise: Introduction and SROI
Social Enterprise: Introduction and SROISocial Enterprise: Introduction and SROI
Social Enterprise: Introduction and SROI
 
Green net introduction
Green net introductionGreen net introduction
Green net introduction
 
โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่
 

Plus de Jiraprapa Suwannajak

พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรJiraprapa Suwannajak
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมJiraprapa Suwannajak
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันJiraprapa Suwannajak
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงJiraprapa Suwannajak
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยJiraprapa Suwannajak
 
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันแบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันJiraprapa Suwannajak
 
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIct
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIctสื่อชั้นสูงและการบูรณาการIct
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIctJiraprapa Suwannajak
 
กราฟิกเพื่อการศึกษา
กราฟิกเพื่อการศึกษากราฟิกเพื่อการศึกษา
กราฟิกเพื่อการศึกษาJiraprapa Suwannajak
 

Plus de Jiraprapa Suwannajak (20)

พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
ภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวย
 
เมทริกซ์...
เมทริกซ์...เมทริกซ์...
เมทริกซ์...
 
รากที่สอง..
รากที่สอง..รากที่สอง..
รากที่สอง..
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
เศษส่วน
เศษส่วนเศษส่วน
เศษส่วน
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึม
 
ลอการิทึม
ลอการิทึมลอการิทึม
ลอการิทึม
 
ลอการิทึม..[1]
ลอการิทึม..[1]ลอการิทึม..[1]
ลอการิทึม..[1]
 
ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
 
วงกลมวงรี
วงกลมวงรีวงกลมวงรี
วงกลมวงรี
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
 
ปรัชญาเศร..
ปรัชญาเศร..ปรัชญาเศร..
ปรัชญาเศร..
 
สมการตรีโกณ
สมการตรีโกณสมการตรีโกณ
สมการตรีโกณ
 
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันแบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
 
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIct
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIctสื่อชั้นสูงและการบูรณาการIct
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIct
 
กราฟิกเพื่อการศึกษา
กราฟิกเพื่อการศึกษากราฟิกเพื่อการศึกษา
กราฟิกเพื่อการศึกษา
 

เศรษฐกิจ..[1]

  • 2. เกษตรทฤษฎีใหม่ การปฏิบัติตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงสามารถปฏิบัติได้หลาย แนวทาง แต่จะขอเสนอเกษตรทฤษฎีใหม่ที่ใช้ในการจัดพื้นที่ให้เกิด ประโยชน์สูงสุด
  • 3. "ทฤษฎีใหม่" เป็นแนวทางหรือหลักในการบริหารจัดการที่ดินและน้้า เพื่อ การเกษตรในที่ดินขนาดเล็กให้เกิดประโยชน์สูงสุด ด้วยหลักเศรษฐกิจพอเพียง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระราชด้ารินี้เพื่อเป็นการช่วยเหลือ เกษตรกรที่ประสบความยากล้าบาก ให้สามารถผ่านช่วงวิกฤต โดยเฉพาะการขาด แคลนน้้าได้โดยไม่เดือดร้อนและยากล้าบากนัก การด้าเนินงานตามทฤษฎีใหม่มี 3 ขั้นตอน คือ 1 ) การผลิต ให้พึ่งตนเองด้วยวิธีง่าย ค่อยเป็นค่อยไปตามก้าลัง ให้พอมีพอกิน 2 ) การรวมพลังกันในรูปแบบ หรือ สหกรณ์ ร่วมแรงร่วมใจกัน ในด้านการผลิต การตลาด ความเป็นอยู่ สวัสดิการ การศึกษา สังคมและศาสนา 3 ) การด้าเนินธุรกิจโดยติดต่อ ประสานงาน จัดหาทุนหรือแหล่งเงิน
  • 4. ทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 1 ขุดสระเก็บกักน้้า พื้นที่ประมาณ 30% ให้ขุดสระเก็บกักน้้า เพื่อให้มีน้าใช้สม่้าเสมอตลอด ปี โดยเก็บกักน้้าฝนในฤดูฝน และใช้เสริมการปลูกพืชในฤดูแล้ง หรือ ระยะฝนทิ้งช่วง ตลอดจนการเลี้ยงสัตว์ และพืชน้้าต่างๆ เช่น ผักบุ้ง ผัก กระเฉด โสน ฯลฯ
  • 5. ปลูกข้าว พื้นที่ประมาณ 30 % ให้ปลูกข้าวในฤดูฝน เพื่อใช้เป็นอาหารประจ้าวัน ส้าหรับครัวเรือนให้เพียงพอตลอดปี โดยไม่ต้องซื้อหาในราคาแพง เป็น การลดค่าใช้จาย และสามารพึ่งตนเองได้ ่
  • 6. ปลูกผลไม้ ไม้ยืนต้น พืชไร่ พืชผัก พื้นที่ประมาณ 30 % ให้ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น พืชไร่ พืชผัก พืชสมุนไพร ฯลฯ อย่างผสมผสานกัน และหลากหลายในพื้นที่เดียวกัน เพื่อใช้เป็น อาหารประจ้าวัน หากเหลือจากการบริโภคก็น้าไปขายได้
  • 7. เป็นที่อยู่อาศัย และอื่นๆ พื้นที่ประมาณ 10 % ใช้เป็นที่อยู่อาศัย เลี้ยงสัตว์ ถนนหนทาง คันดิน โรงเรือนและสิ่งก่อสร้างอื่นๆ รวมทั้งคอกเลี้ยงสัตว์ เรือนเพาะช้า ยุ้งฉาง เก็บผลิตผลการเกษตร ฯลฯ
  • 8. หลักการและแนวทางส้าคัญในการด้าเนินงานเกษตรตามแนว "ทฤษฎีใหม่ขนที่ 1" ที่ควรทราบมีดังนี้ ั้ - เป็นระบบการผลิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง ที่เกษตรกรสามารถเลี้ยง ตัวเองได้ในระดับที่ประหยัดก่อน - ต้องมีพื้นที่ส่วนหนึ่งท้านาข้าว เพราะข้าวเป็นปัจจัยหลักที่ทุกครัวเรือน ต้องปลูก เพื่อให้มีข้าวพอบริโภคตลอดทั้งปี - ต้องมีน้าส้ารองไว้ใช้เพียงพอตลอดปี เพื่อการเพาะปลูกในระยะฝนทิ้ง ช่วง หรือในฤดูแล้ง - ใช้อัตราส่วน 30 : 30 : 30 : 10 ในการแบ่งพื้นที่ออกเป็น 4 ส่วน ไม่ว่า จะมีพื้นที่ถือครองน้อยหรือมาก
  • 9. ตัวอย่างการคิดหาการแบ่งพื้นที่ หากเรามีพื้นที่ 60 ไร่ การหาพื้นที่ปลูกข้าว พื้นที่ 100 ไร่ เป็นพื้นที่ปลูกข้าว 30 ไร่ พื้นที่ 1 ไร่ เป็นพื้นที่ปลูกข้าว 30 ÷ 100 พื้นที่ 60 ไร่ เป็นพื้นที่ปลูกข้าว 30 ÷ 100 × 60 = 18 ไร่ พื้นที่ปลูกข้าว 12 ไร่ การหาพื้นที่พืชผักผลไม้ คิดเช่นเดียวกัน พื้นที่ปลูกผักผลไม้ 30 ÷ 100 × 60 = 18 ไร่ การหาพื้นที่แหล่งน้า คิดเช่นเดียวกัน พื้นที่แหล่งน้้า 30 ÷ 100 × 60 = 18 ไร่
  • 10. การหาพื้นที่ที่อยู่อาศัยและเลี้ยงสัตว์ พื้นที่ที่อยู่อาศัยและเลี้ยงสัตว์ 10 ÷ 100 × 60 = 6 ไร่ รวมพื้นที่ทั้งหมด พื้นที่ปลูกข้าว 18 ไร่ พื้นที่ปลูกผักผลไม้ 18 ไร่ พื้นที่แหล่งน้้า 18 ไร่ และพืนที่ที่อยู่อาศัยและเลี้ยงสัตว์ 6 ไร่ ้ รวมพื้นที่ทั้งหมด 18 + 18 + 18 + 6 = 60 ไร่
  • 11. ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สอง เมื่อเกษตรกรเข้าใจในหลักการและได้ปฏิบัติในทีดินของตนจนได้ผล ่ แล้ว ก็ต้องเริ่มขั้นทีสอง คือให้เกษตรกรรวมพลังกันในรูป กลุ่ม หรือ สหกรณ์ ร่วมแรงร่วมใจกัน ่ ด้าเนินการในด้าน (๑) การผลิต (พันธุ์พืช เตรียมดิน ชลประทาน ฯลฯ) - เกษตรกรจะต้องร่วมมือในการผลิต โดยเริ่ม ตั้งแต่ขั้นเตรียมดิน การ หาพันธุ์พืช ปุ๋ย การจัดหาน้้า และอื่นๆ เพื่อการเพาะปลูก (๒) การตลาด (ลานตากข้าว ยุ้ง เครื่องสีข้าว การจ้าหน่ายผลผลิต) - เมื่อมีผลผลิตแล้ว จะต้องเตรียมการต่างๆ เพื่อการขายผลผลิตให้ได้ ประโยชน์สูงสุด เช่น การเตรียมลานตากข้าวร่วมกัน การจัดหายุ้งรวบรวมข้าว เตรียมหาเครื่องสี ข้าว ตลอดจนการรวมกันขายผลผลิตให้ได้ราคาดีและลดค่าใช้จ่ายลงด้วย (๓) การเป็นอยู่ (กะปิ น้้าปลา อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ฯลฯ) - ในขณะเดียวกันเกษตรกรต้องมีความเป็นอยูที่ดีพอสมควร โดยมี ่ ปัจจัยพืนฐานในการด้ารงชีวิต เช่น อาหารการกินต่างๆ กะปิ น้้าปลา เสื้อผ้า ที่พอเพียง ้
  • 12. (๔) สวัสดิการ (สาธารณสุข เงินกู้) - แต่ละชุมชนควรมีสวัสดิภาพและบริการที่จ้าเป็น เช่น มีสถานีอนามัย เมื่อยามป่วยไข้ หรือมีกองทุนไว้กู้ยืมเพื่อประโยชน์ในกิจกรรมต่างๆ ของชุมชน (๕) การศึกษา (โรงเรียน ทุนการศึกษา) - ชุมชนควรมีบทบาทในการส่งเสริมการศึกษา เช่น มีกองทุนเพื่อ การศึกษาเล่าเรียนให้แก่เยาวชนของชมชนเอง (๖) สังคมและศาสนา - ชุมชนควรเป็นที่รวมในการพัฒนาสังคมและจิตใจ โดยมีศาสนาเป็นที่ ยึดเหนี่ยว โดยกิจกรรมทั้งหมดดังกล่าวข้างต้น จะต้องได้รับความร่วมมือจากทุก ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าส่วนราชการ องค์กรเอกชน ตลอดจนสมาชิกในชุมชนนั้นเป็นส้าคัญ
  • 13. ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สาม เมื่อด้าเนินการผ่านพ้นขั้นทีสองแล้ว เกษตรกร หรือกลุ่มเกษตรกรก็ควร ่ พัฒนาก้าวหน้าไปสู่ขนทีสามต่อไป คือติดต่อประสานงาน เพื่อจัดหาทุน หรือแหล่งเงิน เช่น ั้ ่ ธนาคาร หรือบริษัท ห้างร้านเอกชน มาช่วยในการลงทุนและพัฒนาคุณภาพชีวิต ทั้งนี้ ทังฝ่ายเกษตรกรและฝ่ายธนาคาร หรือบริษัทเอกชนจะได้รับ ้ ประโยชน์ร่วมกัน กล่าวคือ - เกษตรกรขายข้าวได้ราคาสูง (ไม่ถูกกดราคา) - ธนาคารหรือบริษัทเอกชนสามารถซื้อข้าวบริโภคในราคาต่้า (ซื้อ ข้าวเปลือกตรงจากเกษตรกรและมาสีเอง) - เกษตรกรซื้อเครื่องอุปโภคบริโภคได้ในราคาต่้า เพราะรวมกันซื้อเป็น จ้านวนมาก (เป็นร้านสหกรณ์ราคาขายส่ง) - ธนาคารหรือบริษัทเอกชน จะสามารถกระจายบุคลากร เพื่อไป ด้าเนินการในกิจกรรมต่างๆ ให้เกิดผลดี
  • 14. ประโยชน์ของ "ทฤษฎีใหม่ สรุปได้ดังนี้ - ประชาชนพออยู่พอกินในระดับประหยัด เลี้ยงตนเองได้ ไม่อดอยาก ตามหลัก ปรัชญาของ "เศรษฐกิจพอเพียง" - ในหน้าแล้งก็สามารถน้าน้้าที่เก็บกักไว้ในสระมาปลูกพืชที่ใช้น้าน้อย เช่น ถั่ว ต่างๆ ได้ โดยไม่ต้องอาศัยชลประทาน - ในปีที่ฝนตกตามฤดูกาล ก็สามารถสร้างรายได้ให้ร่้ารวยได้ - ในกรณีที่เกิดอุทกภัย ก็สามารถฟื้นตัว และช่วยตัวเองได้ในระดับหนึ่ง โดย ราชการไม่ต้องช่วยเหลือมากนัก
  • 16. รายชื่อสมาชิกกลุ่ม ด.ช.ศุภณัฐ แก้วบุญเรือง เลขที่ 12 ด.ช.อิษวัต เจียระไนรุ่งโรจน์ เลขที่ 17 ด.ญ.จริญญา ราษฎร์พิทักษ์ เลขที่ 20 ด.ญ.พัณณิตา ศิลปพงศ์พาณิช เลขที่ 29 ด.ญ.มิ่งกมล เชื้อหงษ์ทอง เลขที่ 32 น.ส.มุกอาภา สายค้าฟู เลขที่ 33 ชั้น ม.3/16