SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  2
Télécharger pour lire hors ligne
บทเพลงบรรเลงคณิตศาสตร์

                                                     โดยนางสาวสุประภาดา ภัคเนียรนาท

                เมื่อกล่าวถึงวิชาคณิตศาสตร์ ทุกคนก็คงจะพูดเหมือนกันว่า เป็นวิชาที่ยาก มี
สูตรเยอะ ซับซ้อน มีเนื้อหาที่เป็นบทนิยามหรือทฤษฎีบทที่เข้าใจยาก เรียนไปตั้งมากมายแต่
นามาใช้ในชีวิตประจาวันได้เพียงไม่กี่เรื่อง ทาให้ไม่อยากเรียน มีความรู้สึกไม่ชอบวิชา
คณิตศาสตร์ โดยแท้จริงแล้ววิชาคณิตศาสตร์มีจุดประสงค์เพื่อมุ่งให้ผู้เรียนฝึกกระบวนการ
คิด การแก้ปัญหา เพื่อนามาใช้ในชีวิตประจาวัน ซึ่งมีนักเรียนส่วนน้อยมากที่ชอบเรียนวิชา
คณิตศาสตร์ ซึ่งก็มาจากหลายสาเหตุ เช่น เนื้อหาในบทเรียนยาก ไม่มีสื่อการสอนที่น่าสนใจ
เทคนิควิธีการสอนของครูไม่น่าสนใจ ไม่สนุก ครูผู้สอนดุ เข้มงวดเกินไป ทาให้นักเรียนเบื่อ
หน่าย ไม่ตั้งใจเรียน ไม่สนใจที่จะเรียน ซึ่งเป็นปัญหากับครูผู้สอนทุกคน ตั้งแต่อดีตจนถึง
ปัจจุบัน ดังนั้น ครูผู้สอนจึงต้องหาวิธีการต่างๆ ที่จะช่วยแก้ไขปัญหาดังกล่าว ในที่นี้จะขอ
กล่าวถึงการแก้ปัญหาการเรียนคณิตศาสตร์ด้วยเพลง เพื่อใช้นาเข้าสู่บทเรียน และสรุป
บทเรียน ใช้ทานองเพลงที่นักเรียนรู้จัก โดยแทรกความคิดรวบยอด สูตรคณิตศาสตร์
หลักการคานวณทางคณิตศาสตร์ ไว้ในบทเพลงด้วย ตัวอย่างบทเพลงที่มีผู้เขียนเนื้อร้อง
และเรียบเรียงไว้ ดังนี้

                                   เพลงร้อยละ
     (ทานอง เพลงช้าง) คาร้อง วีรยุทธ ด้วงใย (คบ. คณิตศาสตร์ ศศ.ม. การสอน
    คณิตศาสตร์หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนวัดพระศรีมหาธาตุ
                           มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร)

                          ร้อย ร้อย ร้อย ร้อยละรู้จักหรือเปล่า
                     ร้อยละหนูจงรีบเอา เศษส่วนเข้ามาส่วนเป็น 100
                               หรือไม่อย่างนั้นไม่ต้องถอย
                             เปลี่ยนร้อยละเป็นเปอร์เซ็นต์เอย

                                 เพลงสูตรการหาพื้นที่
   ( ทานองคุณลาใย) คาร้อง รัชนี โสพันธ์ (ครู คศ.1 กศ.ม. การบริหารการศึกษา
     โรงเรียนบ้านวังรางสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4)
จะจาไม่เคยลืมเลือน จะเตือนตัวเองเอาไว้
                 พื้นที่สี่เหลี่ยมพื้นผ้าไง จะจาเอาไว้ว่า กว้าง คูณ ยาว
                พื้นที่จัตุรัสทาไง         เอ่อพึงนึกได้ว่า ด้าน คูณ ด้าน
                                ความยาวของฐานและก็คูณสูงเข้าไป
                    อันนี้ไม่ใช่ของใครสี่เหลี่ยมด้านขนานไงหนูลืมหรือยัง
                    พื้นที่สี่เหลี่ยมคางหมู คุณน้องหนู ๆ จงฟังดังนี้
                    เศษ1 ส่วน 2 คูณซิ ก็คูณผลบวกของด้านคู่ขนาน
                    อีกอย่างอย่าลืมอันนี้ คูณสูงด้วยซี จะโชคดี โชคดี

                                       เพลงรักคณิตแล้วค่ะ
  (ทานอง เพลงเลิกแล้วค่ะ) คาร้อง วีรยุทธ ด้วงใย (คบ. คณิตศาสตร์ ศศ.ม. การสอน
     คณิตศาสตร์หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนวัดพระศรีมหาธาตุ
                                    มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร)
                (สร้อย) เลิกแล้วค่ะ หนูเลิกซ่อมเลขแล้วค่ะ เลิกแล้วค่ะ การบ้าน
                      เลิกลอกแล้วค่ะ อ๋อไม่หรอกค่ะ ไม่คิดหนีเรียนหรอกค่ะ
                    โอ้แก้วตามาเรียนคณิตกัน ทุกคนต่างสุขสรรค์ยินดีปรีดา
                       ได้รู้จักการคานวณนานา พวกเรานั้นหนาฟิตกันทุกคน
                         (สร้อย) เรียนคณิตต้องคิดต้องจาต้องท่อง (ซ้า)
              โอ้เพื่อนจ๋าเราต้องมาช่วยเหลือกัน คณิตศาสตร์สร้างสรรค์ปัญญา
                 ให้ล้าเลิศ คิดเข้าไปคิดให้หัวระเบิด คิดไปให้เตลิดอย่ามัวรอรา
                         (สร้อย) เรียนคณิตต้องคิดต้องจาต้องท่อง (ซ้า)
               การสอนวิชาคณิตศาสตร์ด้วยเพลงถือว่าเป็นการแก้ปัญหาวิธีหนึ่งที่สามารถ
ดึงดูดให้นักเรียนเกิดความสนใจในการเรียน ตั้งใจเรียนมากขึ้น สนุกสนานและมีเจตคติที่ดี
ต่อวิชาคณิตศาสตร์และเป็นวิชาที่ไม่น่าเบื่ออีกต่อไป…

ขอขอบคุณผู้ที่เรียบเรียงตัวอย่างบทเพลงเกี่ยวกับคณิตศาสตร์เหล่านี้


                                     เอกสารอ้างอิง
      www.bloggang.com/viewdiary.php?id=free4u&month (17 ธันวาคม 2553 )
      isc.ru.ac.th/data/ED0004420.doc (17 ธันวาคม 2553 )
      gotoknow.org/blog/km-bkk2/111958 (17 ธันวาคม 2553 )

Contenu connexe

Tendances

เฉลยแบบฝึก
เฉลยแบบฝึกเฉลยแบบฝึก
เฉลยแบบฝึกKu'kab Ratthakiat
 
สรรพนาม
สรรพนามสรรพนาม
สรรพนามPornkanok Pkn
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4Itt Bandhudhara
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการsrkschool
 
กิจกรรมฐาน
กิจกรรมฐานกิจกรรมฐาน
กิจกรรมฐานwara
 
จำนวนนับ ป.6
จำนวนนับ ป.6จำนวนนับ ป.6
จำนวนนับ ป.631052529pp
 
แบบทดสอบการอ่านเอาเรื่อง
แบบทดสอบการอ่านเอาเรื่องแบบทดสอบการอ่านเอาเรื่อง
แบบทดสอบการอ่านเอาเรื่องkhruphuthons
 

Tendances (13)

แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
k kuep 3
k kuep 3k kuep 3
k kuep 3
 
แข่งเรือ
แข่งเรือแข่งเรือ
แข่งเรือ
 
เฉลยแบบฝึก
เฉลยแบบฝึกเฉลยแบบฝึก
เฉลยแบบฝึก
 
1
11
1
 
k kuep 2
k kuep 2k kuep 2
k kuep 2
 
สรรพนาม
สรรพนามสรรพนาม
สรรพนาม
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
 
ใบงานที่ 1 เรื่องคำนาม
ใบงานที่ 1  เรื่องคำนามใบงานที่ 1  เรื่องคำนาม
ใบงานที่ 1 เรื่องคำนาม
 
กิจกรรมฐาน
กิจกรรมฐานกิจกรรมฐาน
กิจกรรมฐาน
 
จำนวนนับ ป.6
จำนวนนับ ป.6จำนวนนับ ป.6
จำนวนนับ ป.6
 
แบบทดสอบการอ่านเอาเรื่อง
แบบทดสอบการอ่านเอาเรื่องแบบทดสอบการอ่านเอาเรื่อง
แบบทดสอบการอ่านเอาเรื่อง
 

En vedette (6)

แบบฝึกพหุนาม
แบบฝึกพหุนามแบบฝึกพหุนาม
แบบฝึกพหุนาม
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนามแบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
 
การบวกลบพหุนาม
การบวกลบพหุนามการบวกลบพหุนาม
การบวกลบพหุนาม
 
ข้อสอบเมทริกชฺ
ข้อสอบเมทริกชฺ ข้อสอบเมทริกชฺ
ข้อสอบเมทริกชฺ
 
เกมซูดุคุ
เกมซูดุคุเกมซูดุคุ
เกมซูดุคุ
 

Similaire à บทเพลงบรรเลงคณิตศาสตร์

สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วย
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วยสรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วย
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วยkrunakhonch
 
9789740329497
97897403294979789740329497
9789740329497CUPress
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดคุณครูพี่อั๋น
 
สื่อประกอบการสอน_เรื่อง_พระรัตนตรัย-12301452.pdf
สื่อประกอบการสอน_เรื่อง_พระรัตนตรัย-12301452.pdfสื่อประกอบการสอน_เรื่อง_พระรัตนตรัย-12301452.pdf
สื่อประกอบการสอน_เรื่อง_พระรัตนตรัย-12301452.pdfSUPARKICKWin
 
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
สื่อที่ใช้  ชุดการสอนสื่อที่ใช้  ชุดการสอน
สื่อที่ใช้ ชุดการสอนLampang Rajabhat University
 
แผนเป็นวิทยากรวิจัย
แผนเป็นวิทยากรวิจัยแผนเป็นวิทยากรวิจัย
แผนเป็นวิทยากรวิจัยppisoot07
 
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู5
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู5บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู5
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู5niralai
 
2. โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร (บัญญัติไตรยางศ์)
2. โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร (บัญญัติไตรยางศ์)2. โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร (บัญญัติไตรยางศ์)
2. โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร (บัญญัติไตรยางศ์)Apirak Potpipit
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตรNoir Black
 
สื่อสิ่งพิมพ์ เรื่อง สมการ ม.1
สื่อสิ่งพิมพ์ เรื่อง สมการ ม.1สื่อสิ่งพิมพ์ เรื่อง สมการ ม.1
สื่อสิ่งพิมพ์ เรื่อง สมการ ม.1Natchya Pengtham
 
เล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshareเล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshareNumuk
 
จัดหมู่หนังสือ
จัดหมู่หนังสือจัดหมู่หนังสือ
จัดหมู่หนังสือkrujee
 

Similaire à บทเพลงบรรเลงคณิตศาสตร์ (20)

สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วย
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วยสรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วย
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วย
 
9789740329497
97897403294979789740329497
9789740329497
 
01 เซต บทนำ
01 เซต บทนำ01 เซต บทนำ
01 เซต บทนำ
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
 กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3 กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
 
สื่อประกอบการสอน_เรื่อง_พระรัตนตรัย-12301452.pdf
สื่อประกอบการสอน_เรื่อง_พระรัตนตรัย-12301452.pdfสื่อประกอบการสอน_เรื่อง_พระรัตนตรัย-12301452.pdf
สื่อประกอบการสอน_เรื่อง_พระรัตนตรัย-12301452.pdf
 
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
สื่อที่ใช้  ชุดการสอนสื่อที่ใช้  ชุดการสอน
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
 
Work1 pjcom
Work1 pjcomWork1 pjcom
Work1 pjcom
 
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น272 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
 
แผนเป็นวิทยากรวิจัย
แผนเป็นวิทยากรวิจัยแผนเป็นวิทยากรวิจัย
แผนเป็นวิทยากรวิจัย
 
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู5
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู5บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู5
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู5
 
2. โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร (บัญญัติไตรยางศ์)
2. โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร (บัญญัติไตรยางศ์)2. โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร (บัญญัติไตรยางศ์)
2. โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร (บัญญัติไตรยางศ์)
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
 
สื่อสิ่งพิมพ์ เรื่อง สมการ ม.1
สื่อสิ่งพิมพ์ เรื่อง สมการ ม.1สื่อสิ่งพิมพ์ เรื่อง สมการ ม.1
สื่อสิ่งพิมพ์ เรื่อง สมการ ม.1
 
เล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshareเล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshare
 
ชุดที่ 1 เรื่อง ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 เรื่อง  ตัวประกอบชุดที่ 1 เรื่อง  ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 เรื่อง ตัวประกอบ
 
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
 
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
 
จัดหมู่หนังสือ
จัดหมู่หนังสือจัดหมู่หนังสือ
จัดหมู่หนังสือ
 

Plus de Jiraprapa Suwannajak

พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรJiraprapa Suwannajak
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมJiraprapa Suwannajak
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันJiraprapa Suwannajak
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงJiraprapa Suwannajak
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยJiraprapa Suwannajak
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงJiraprapa Suwannajak
 

Plus de Jiraprapa Suwannajak (20)

พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
ภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวย
 
เมทริกซ์...
เมทริกซ์...เมทริกซ์...
เมทริกซ์...
 
รากที่สอง..
รากที่สอง..รากที่สอง..
รากที่สอง..
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
เศษส่วน
เศษส่วนเศษส่วน
เศษส่วน
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึม
 
ลอการิทึม
ลอการิทึมลอการิทึม
ลอการิทึม
 
ลอการิทึม..[1]
ลอการิทึม..[1]ลอการิทึม..[1]
ลอการิทึม..[1]
 
ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
 
วงกลมวงรี
วงกลมวงรีวงกลมวงรี
วงกลมวงรี
 
กลุ่ม4
กลุ่ม4กลุ่ม4
กลุ่ม4
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
 
ปรัชญาเศร..
ปรัชญาเศร..ปรัชญาเศร..
ปรัชญาเศร..
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจ..[1]
 เศรษฐกิจ..[1] เศรษฐกิจ..[1]
เศรษฐกิจ..[1]
 
สมการตรีโกณ
สมการตรีโกณสมการตรีโกณ
สมการตรีโกณ
 

บทเพลงบรรเลงคณิตศาสตร์

  • 1. บทเพลงบรรเลงคณิตศาสตร์ โดยนางสาวสุประภาดา ภัคเนียรนาท เมื่อกล่าวถึงวิชาคณิตศาสตร์ ทุกคนก็คงจะพูดเหมือนกันว่า เป็นวิชาที่ยาก มี สูตรเยอะ ซับซ้อน มีเนื้อหาที่เป็นบทนิยามหรือทฤษฎีบทที่เข้าใจยาก เรียนไปตั้งมากมายแต่ นามาใช้ในชีวิตประจาวันได้เพียงไม่กี่เรื่อง ทาให้ไม่อยากเรียน มีความรู้สึกไม่ชอบวิชา คณิตศาสตร์ โดยแท้จริงแล้ววิชาคณิตศาสตร์มีจุดประสงค์เพื่อมุ่งให้ผู้เรียนฝึกกระบวนการ คิด การแก้ปัญหา เพื่อนามาใช้ในชีวิตประจาวัน ซึ่งมีนักเรียนส่วนน้อยมากที่ชอบเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ซึ่งก็มาจากหลายสาเหตุ เช่น เนื้อหาในบทเรียนยาก ไม่มีสื่อการสอนที่น่าสนใจ เทคนิควิธีการสอนของครูไม่น่าสนใจ ไม่สนุก ครูผู้สอนดุ เข้มงวดเกินไป ทาให้นักเรียนเบื่อ หน่าย ไม่ตั้งใจเรียน ไม่สนใจที่จะเรียน ซึ่งเป็นปัญหากับครูผู้สอนทุกคน ตั้งแต่อดีตจนถึง ปัจจุบัน ดังนั้น ครูผู้สอนจึงต้องหาวิธีการต่างๆ ที่จะช่วยแก้ไขปัญหาดังกล่าว ในที่นี้จะขอ กล่าวถึงการแก้ปัญหาการเรียนคณิตศาสตร์ด้วยเพลง เพื่อใช้นาเข้าสู่บทเรียน และสรุป บทเรียน ใช้ทานองเพลงที่นักเรียนรู้จัก โดยแทรกความคิดรวบยอด สูตรคณิตศาสตร์ หลักการคานวณทางคณิตศาสตร์ ไว้ในบทเพลงด้วย ตัวอย่างบทเพลงที่มีผู้เขียนเนื้อร้อง และเรียบเรียงไว้ ดังนี้ เพลงร้อยละ (ทานอง เพลงช้าง) คาร้อง วีรยุทธ ด้วงใย (คบ. คณิตศาสตร์ ศศ.ม. การสอน คณิตศาสตร์หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร) ร้อย ร้อย ร้อย ร้อยละรู้จักหรือเปล่า ร้อยละหนูจงรีบเอา เศษส่วนเข้ามาส่วนเป็น 100 หรือไม่อย่างนั้นไม่ต้องถอย เปลี่ยนร้อยละเป็นเปอร์เซ็นต์เอย เพลงสูตรการหาพื้นที่ ( ทานองคุณลาใย) คาร้อง รัชนี โสพันธ์ (ครู คศ.1 กศ.ม. การบริหารการศึกษา โรงเรียนบ้านวังรางสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4)
  • 2. จะจาไม่เคยลืมเลือน จะเตือนตัวเองเอาไว้ พื้นที่สี่เหลี่ยมพื้นผ้าไง จะจาเอาไว้ว่า กว้าง คูณ ยาว พื้นที่จัตุรัสทาไง เอ่อพึงนึกได้ว่า ด้าน คูณ ด้าน ความยาวของฐานและก็คูณสูงเข้าไป อันนี้ไม่ใช่ของใครสี่เหลี่ยมด้านขนานไงหนูลืมหรือยัง พื้นที่สี่เหลี่ยมคางหมู คุณน้องหนู ๆ จงฟังดังนี้ เศษ1 ส่วน 2 คูณซิ ก็คูณผลบวกของด้านคู่ขนาน อีกอย่างอย่าลืมอันนี้ คูณสูงด้วยซี จะโชคดี โชคดี เพลงรักคณิตแล้วค่ะ (ทานอง เพลงเลิกแล้วค่ะ) คาร้อง วีรยุทธ ด้วงใย (คบ. คณิตศาสตร์ ศศ.ม. การสอน คณิตศาสตร์หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร) (สร้อย) เลิกแล้วค่ะ หนูเลิกซ่อมเลขแล้วค่ะ เลิกแล้วค่ะ การบ้าน เลิกลอกแล้วค่ะ อ๋อไม่หรอกค่ะ ไม่คิดหนีเรียนหรอกค่ะ โอ้แก้วตามาเรียนคณิตกัน ทุกคนต่างสุขสรรค์ยินดีปรีดา ได้รู้จักการคานวณนานา พวกเรานั้นหนาฟิตกันทุกคน (สร้อย) เรียนคณิตต้องคิดต้องจาต้องท่อง (ซ้า) โอ้เพื่อนจ๋าเราต้องมาช่วยเหลือกัน คณิตศาสตร์สร้างสรรค์ปัญญา ให้ล้าเลิศ คิดเข้าไปคิดให้หัวระเบิด คิดไปให้เตลิดอย่ามัวรอรา (สร้อย) เรียนคณิตต้องคิดต้องจาต้องท่อง (ซ้า) การสอนวิชาคณิตศาสตร์ด้วยเพลงถือว่าเป็นการแก้ปัญหาวิธีหนึ่งที่สามารถ ดึงดูดให้นักเรียนเกิดความสนใจในการเรียน ตั้งใจเรียนมากขึ้น สนุกสนานและมีเจตคติที่ดี ต่อวิชาคณิตศาสตร์และเป็นวิชาที่ไม่น่าเบื่ออีกต่อไป… ขอขอบคุณผู้ที่เรียบเรียงตัวอย่างบทเพลงเกี่ยวกับคณิตศาสตร์เหล่านี้ เอกสารอ้างอิง www.bloggang.com/viewdiary.php?id=free4u&month (17 ธันวาคม 2553 ) isc.ru.ac.th/data/ED0004420.doc (17 ธันวาคม 2553 ) gotoknow.org/blog/km-bkk2/111958 (17 ธันวาคม 2553 )