SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  21
Télécharger pour lire hors ligne
ใบความรู้ที่ 1.1
                                  เรื่อง คู่อันดับและกราฟ

        ในชีวิตประจาวัน เรามักพบสถานการณ์ที่กล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณสอง
ปริมาณอยู่เสมอ เช่น      ระยะทางที่โดยสารรถประจาทางกับค่าโดยสาร       ระยะทางที่ใช้ในการ
เดินทางกับเวลา ปริมาณของน้าประปาที่ใช้กับค่าน้า เราสามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์เหล่านี้
ในรูปตาราง แผนภาพ คู่อันดับ รวมทั้งการแสดงในรูปอื่น ๆ เช่น กราฟ

    กราฟ (graph) คือ ภาพของจุดที่ใช้แสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณของสองสิ่งโดยใช้ระบบ
แทนปริมาณด้วยระยะห่างจากเส้นตรงสองเส้น
        เส้นตรงแต่ละเส้น เรียกว่า แกน (axis)
        ถ้าเส้นตรงทั้งสองตัดกันเป็นมุมฉาก เรียกระบบนั้นว่า ระบบแกนพิกัดฉาก
(rectangular coordinate system)
ระบบแกนพิกัดฉาก
        ระบบแกนพิกัดฉาก คือ ระบบที่บอกพิกัดของจุดด้วยระยะห่างจากแกนที่ตัดกันเป็นมุมฉาก
โดยปกติจะวางแกนทั้งสองในแนวระดับ และแนวดิ่ง                       Y
        อักษรที่ใช้เป็นชื่อแกน นิยมใช้ X และ Y


                                                                              X
                                                              0
        1. แกน X อยู่ในแนวระดับ เรียกว่า แกนนอน ( horizontal axis )
        2. แกน Y อยู่ในแนวดิ่ง เรียกว่า แกนตั้ง ( vertical axis )
        3. จุดกาเนิด (origin)     คือ จุดที่แกนทั้งสองตัดกันแทนด้วย อักษร O (โอ) O เป็น
        จุดเริ่มต้นของการนับระยะบนแกนทั้งสองใช้แทน ศูนย์ ( 0 ) ถ้านับมาทางขวาหรือขึ้น
        ข้างบนเป็นจานวนบวก ( positive) ถ้านับมาทางซ้ายหรือลงข้างล่าง เป็นจานวนลบ
        ( negative)
4. พิกัดร่วม (coordinate) คือตาแหน่งของจุดใดๆ บนระนาบของระบบซึ่งกาหนดด้วย
ระยะทางที่จุดนั้นอยู่ห่างจากแกนทั้งสอง โดยทั่วไปเราเขียนคู่อันดับใด ๆ ในรูป (x, y)
เมื่อ x แทนจานวนที่อยู่บนแกน X และ y แทนจานวนที่อยู่บนแกน Y
        x หมายถึง ระยะที่นับบนแกน X เรียกว่า ระยะระดับ (abscissa)
        y หมายถึง ระยะที่นับบนแกน           Y เรียกว่า ระยะดิ่ง ( ordinate)เพื่อแสดง
ตาแหน่งของคู่อันดับในระบบพิกัดฉาก ถ้าจุด P เป็นจุดบนระนาบที่มีคู่อันดับเป็น (x, y)
จะกล่าวว่า P มีพิกัดเป็น (x, y) โดยที่ x เป็นสมาชิกตัวที่หนึ่ง และ y เป็นสมาชิกตัวที่สอง
และอาจเขียนแทนพิกัดของ P ด้วย P (x, y) เพื่อความสะดวกเรานิยมใช้กระดาษกราฟ
ในการเขียนกราฟซึ่งจะช่วยในการอ่านกราฟได้ง่ายและถูกต้องยิ่งขึ้น
        5. หน่วยบนแกนทั้งสอง บนแกนเดียวกันต้องใช้หน่วยเดียวกัน (ทั้งบวกและลบ)
แต่หน่วยบนแกน X อาจใช้หน่วยต่างจากหน่วยบนแกน Y ได้ โดยปกติเราจึงอาจ
เลือกใช้หน่วยใน แต่ละแกนให้เหมาะสมได้
        6. จุดที่แกนตัดกันเป็นจุด ( 0, 0) คือ x = 0, y = 0 ดังนั้นจุดกาเนิดหรือจุด
O (โอ) จึงตรงกับจุดศูนย์ของแกนทั้งสอง จะเรียกว่าเป็นจุด O (โอ) หรือจุด 0 (ศูนย์) ก็ได้
พิจารณาจุดต่างๆ ในระบบพิกัดฉากดังรูป

           C(…., ....)                                                       A(…., ....)
                                                                   B
           D(…., ....)                                                       B(…., ....)
                                                   C
                                D                              A


                                                                       H
                               E

         E(…., ....)                    F                  G                 G(…., ....)
         F(…., ....)
                                                                             H(…., ....)



                                     สิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับแกน X และ แกน Y

แกน X และแกน Y จะแบ่งระนาบออกเป็น 4 ส่วน
แต่ละส่วนเรียกว่าจตุภาค (Quadrant)

จุด ...... และ ...... มีพิกัดอยู่ในจตุภาคที่ 1

จุด ...... และ ...... มีพิกัดอยู่ในจตุภาคที่ 2

จุด ...... และ ...... มีพิกัดอยู่ในจตุภาคที่ 3

จุด ...... และ ...... มีพิกัดอยู่ในจตุภาคที่ 4
แบบฝึกทักษะที่ 1.1
                                เรื่อง คู่อันดับและกราฟ

คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนคู่อันดับและกราฟที่กาหนดให้
       1. จงลงจุดต่อไปนี้ในระบบแกนพิกัดฉากที่กาหนดให้




       1) พิกัดของจุด A(…,…) , B(…,…) และ C(…,…)
       2) พิกัดของจุด P(…,…) , Q(…,…), R(…,…) และ S(…,…)
       3) พิกัดของจุดที่อยู่บนแกน X คือ จุด Q และ……………
       4) พิกัดของจุดที่อยู่บนแกน Y คือ จุด A และ……………
รูปอะไรเอ่ย


2. จากคู่อันดับที่กาหนดให้ต่อไปนี้ เมื่อนาพิกัดจุดแต่ละจุดไปเขียนบนระนาบพิกัดฉาก
แล้ว ลากเส้นเชื่อมจุดแต่ละจุด นักเรียนทราบหรือไม่ว่า รูปที่ได้จากการลากเส้นเป็นรูป
อะไร(1, 9), (2, 9), (4, 10), (5, 12), (6, 13), (8, 13), (10, 11), (8, 8), (8, 6), (10, 4),
(14, 1), (14, 8), (18, 8), (17, 9), (18, 10), (17, 11), (18, 12), (17, 13), (18, 14), (17, 15),
(18, 16), (18, 17), (12, 11), (9, 14), (6, 14), (4, 13), (2, 11), (2,10)




                         รูปที่ได้คือ รูป...............................
ใบความรู้ที่ 1.2
                                        เรื่อง คู่อันดับและกราฟ

      นักเรียนเคยพบการเขียนแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณสองชุดโดยใช้กราฟ บนระนาบ
ในระบบพิกัดฉากมาแล้ว กราฟที่นักเรียนรู้จักมีทั้งกราฟที่เป็นเส้นตรงและไม่เป็นเส้นตรงในหัวข้อ
นี้นักเรียนจะได้ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับกราฟที่มีลักษณะเป็นเส้นตรง ส่วนหนึ่งของเส้นตรงหรือเป็น
จุดที่เรียงอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกันให้นักเรียนพิจารณาสถานการณ์ต่อไปนี้
        “ จอยและฟ้าต้องการหารายได้พิเศษเพื่อช่วยเหลือครอบครัวในช่วงปิดเทอม จึงไปรับ
สาหร่าย (ไก)ทรงเครื่องจากกลุ่มแม่บ้านบ้านหาดไคร้มาช่วยกันขาย วันหนึ่งทั้งจอยและฟ้าต่างก็
ขายสาหร่าย(ไก)ทรงเครื่องได้จานวนหนึ่ง แต่รวมกันแล้วเป็นจานวนสาหร่าย(ไก)ทรงเครื่อง
ทั้งหมด 8 แผ่น ”
        เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจานวนสาหร่าย (ไก ) ทรงเครื่องที่เป็นไปได้
        ถ้าให้ x แทนจานวนสาหร่าย(ไก)ทรงเครื่องที่จอยขายได้เป็นแผ่น
               y แทนจานวนสาหร่าย(ไก)ทรงเครื่องที่ฟ้าขายได้เป็นแผ่น
        จานวนสาหร่ายที่แต่ละคนขายได้จะต้องเป็นจานวนนับที่รวมกันได้ 8 ดังตาราง

        x            1            2            3            4     5   6         7
        y            7            6            5            4     3   2         1


        จากตารางเขียนคู่อันดับ (x, y) แสดงความสัมพันธ์ได้ดังนี้
        (1, 7), (2, 6), (3, 5), (4, 4), (5, 3), (6, 2), (7, 1)


เมื่อกาหนดให้แกน               x แทนจานวนสาหร่าย(ไก)ทรงเครื่องที่จอยขายได้เป็นแผ่น
                               y แทนจานวนสาหร่าย(ไก)ทรงเครื่องที่ฟ้าขายได้เป็นแผ่น
เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจานวนสาหร่าย (ไก)ทรงเครื่อง ที่จอยและฟ้าขาย
รวมกันได้ดังนี้




        จากกราฟจะเห็นว่าทุกจุดของคู่อันดับที่เป็นไปได้ตามเงื่อนไขในโจทย์ข้างต้น      จะอยู่ใน
แนวเส้นตรงเดียวกันกับเส้นประดังรูป นั่นคือ จุดทุกจุดของคู่อันดับที่เป็นไปตามเงื่อนไขที่กาหนด
จะเรียงอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน สถานการณ์ข้างต้นเป็นตัวอย่างของความสัมพันธ์ของปริมาณ
สองชุดทีมีกราฟอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน เราเรียกความสัมพันธ์ลักษณะเช่นนี้ว่า
ความสัมพันธ์เชิงเส้น



การเขียนแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณสองชุด โดยใช้กราฟบนระนาบในระบบพิกัดฉากที่มี
ทั้งกราฟที่เป็นเส้นตรง ส่วนหนึ่งของเส้นตรงหรือเป็นจุดที่เรียงกันอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน
เรียกว่า ความสัมพันธ์เชิง (Linear relation)
ตัวอย่าง น้องแป้งขายส้มห้วยเม็งราคากิโลกรัมละ 15 บาท
        เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ได้ ดังนี้
                ถ้าให้ x แทนจานวนส้มเป็นกิโลกรัม
                       y แทนราคาขายเป็นบาท
        เขียนความสัมพันธ์ลงในตารางได้ดังนี้

      จานวนส้ม (ก.ก.)          1          2         3          4        5       6
       ราคาขาย (บาท)          15         30         45        60        75      90

          จากตารางเขียนคู่อันดับ (x, y) แสดงความสัมพันธ์ได้ดังนี้คู่อันดับคือ
        (1, 15), (….. ,…..), (3, 45), (….. ,…..), (5, 75), (….. ,…..)
         เมื่อกาหนดให้แกน          x แทนจานวนส้มเป็นกิโลกรัม
                                   y แทนราคาขายเป็นบาท

เขียนกราฟได้ดังนี้




        จากกราฟจะเห็นว่า แต่ละจุดในกราฟซึ่งแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจานวนส้มมีหน่วย
เป็นกิโลกรัม กับราคาขายมีหน่วยเป็นบาท อยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน

              จากกราฟเป็นความสัมพันธ์เชิงเส้นหรือไม่ …………………………...
แบบฝึกทักษะที่ 1.2
                                 เรื่อง         คู่อันดับและกราฟ

คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนคู่อันดับและกราฟแสดงความสัมพันธ์จากข้อมูลที่นักเรียนไปสารวจ
1. ในช่วงปิดเทอมเบนซ์และอาร์มช่วยกันหากุ้งในแม่น้าโขงแล้วนามาขายที่ตลาดเพื่อนาเงินมาเป็น
ค่าอาหารกลางวัน จานวนกุ้งที่เบนซ์และอาร์มช่วยกันหารวมกันได้ 6 กิโลกรัม
ถ้าให้           x แทน ……………………………………………
                 y แทน ……………………………………………

          เขียนความสัมพันธ์ลงในตารางได้ดังนี้

     จานวนกุ้งที่เบนซ์หาได้ (ก.ก.)          1          2           3      4         5
         จานวนกุ้งที่อาร์มหาได้ (ก.ก.)      5        …….         …….     …….      …….
          จากตารางเขียนคู่อันดับได้ดังนี้
          (1, 5), ……………………………………………………………………………

          เขียนกราฟได้ดังนี้




                       จากกราฟเป็นความสัมพันธ์เชิงเส้นหรือไม่ ……………
2. แนนไปสารวจราคากล้วยฉาบในหมู่บ้านศรีลานนา เพื่อหารายได้ระหว่างเรียน จึง
     นาไปขายให้กับแม่ค้าในโรงเรียน ข้อมูลที่สารวจได้ดังแผนภาพ

                              1                        20
                              2                        40
                              3                        60
                              4                        80
                              5                        100

                      จานวนกล้วยฉาบ (ถุง) ราคา (บาท)

      ถ้าให้ x แทน ……………………………………………
              y แทน ……………………………………………
     เขียนความสัมพันธ์ลงในตารางได้ดังนี้


จานวนกล้วยฉาบ (ถุง)                 1        2               3   4         5
จานวนราคากล้วยฉาบ (บาท)           ……         ……         ……       ……       ……


     จากตารางเขียนคู่อันดับ (x, y) ได้เป็น
………………………………………………………………………………………………………
เขียนกราฟได้ดังนี้




            จากกราฟเป็นความสัมพันธ์เชิงเส้นหรือไม่ ……………
ใบความรู้ที่ 2.1
                                 เรื่อง ความสัมพันธ์เชิงเส้น


ความสัมพันธ์เชิงเส้น (Linear relation)
         ความสัมพันธ์เชิงเส้น คือ ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณของสองสิ่ง ซึ่งมีสิ่งหนึ่งเพิ่มขึ้น
หรือลดลง อีกสิ่งหนึ่งก็จะเพิ่มขึ้นหรือลดลงในอัตราส่วนอย่างเดียวกัน ( หรือเรียกว่า เปลี่ยนแปลง
เป็นสัดส่วนเดียวกัน ) เช่น ความสัมพันธ์ระหว่าง

1. จานวนสินค้ากับราคารวมของสินค้า ( ซึ่งแต่ละหน่วยของสินค้าเท่ากัน )

2. ระยะทางกับเวลา ( ซึ่งอัตราเร็วคงที่ )

3. อุณหภูมิของเทอร์โมมิเตอร์มาตราต่างๆ ( ณ สถานที่หนึ่งในเวลาเดียวกัน )




ตัวอย่างที่ 1    กลุ่มแม่บ้านในตาบลสถานร่วมกันผลิตน้าเสาวรสเพื่อบรรจุขวดขายในราคาขวด
ละ 20 บาท จากการบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับการลงทุน เขียนแสดงได้ด้วยกราฟดังรูป
จงเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจานวนเสาวรสที่ขายได้กับรายได้ที่ได้รับโดยใช้
แกนคู่เดียวกันกับกราฟแสดงเงินลงทุน
        วิธีทา         ให้ x แทนจานวนน้าเสาวรสที่ขายได้เป็นขวด
                              y แทนรายได้เป็นบาท
       เขียนแสดงรายได้จากการขายน้าเสาวรสเป็นขวดตามจานวนที่กาหนดให้ได้ดังตาราง
       ต่อไปนี้ ซื้อ              0   ขวด           ชาระเงิน 0       บาท
                     แต่ถ้าซื้อ   100 ขวด           ชาระเงิน 2000 บาท
                                  200 ขวด           ชาระเงิน 4000 บาท
                                  300 ขวด           ชาระเงิน 6000 บาท

                 X                0         100        200       300
                 Y                0         2,000     4,000      6,000

จากตารางเขียนกราฟได้ดังนี้
จากกราฟที่ได้จงตอบคาถามต่อไปนี้

1. เงินลงทุนขั้นต่าที่ต้องจ่ายก่อนผลิตน้าเสาวรสเป็นเงิน 2,000 บาท
2. ถ้าขายน้าเสาวรสได้ 150 ขวด จะขาดทุน เป็นเงิน 500 บาท
3. กลุ่มแม่บ้านต้องขายน้าเสาวรสได้อย่างน้อยที่สุด 200 ขวด จึงจะถึงจุดคุ้มทุนเพราะ จากกราฟ
แสดงเงินลงทุนและรายได้ เส้นกราฟจะตัดกันที่คู่อันดับ (200, 4,000) นั่นคือ เมื่อจานวนน้า
เสาวรสเป็น 200 ขวด จะต้องใช้เงินลงทุนเท่ากับ 4,000 บาท ซึ่งเป็นจุดคุ้มทุนที่รายได้เท่ากับเงิน
ลงทุน 4. จากจุดคุ้มทุน ถ้าขายน้าเสาวรสได้มากขึ้นเรื่อยๆ นักเรียนคิดว่า ส่วนต่างของเงินลงทุน
กับรายได้จะเป็นอย่างไร และมีความหมายว่าอย่างไร จากจุดคุ้มทุนถ้าขายน้าเสาวรสได้ เส้นกราฟ
แสดงรายได้จะอยู่สูงกว่าเส้นกราฟแสดงเงินลงทุนมากขึ้น นั่นคือ ส่วนต่างของรายได้กับเงินลงทุน
มากขึ้น หมายความว่า ถ้ายิ่งขายได้ มากขึ้น ก็จะได้กาไรมากขึ้นด้วย



            ในระยะเริ่มต้นเส้นกราฟแสดงเงินลงทุนอยู่ .............. เส้นกราฟแสดงรายได้ และเมื่อ
    ผลิตน้าเสาวรส…….....…..ขวด เงินลงทุนและรายได้จะเท่ากับ 4,000 บาท เท่ากันซึ่งเป็น
    ………....…. จากลักษณะของเส้นกราฟทั้งสองข้างต้นจะสรุปได้ว่า ถ้าผลิตน้าเสาวรสน้อย
    กว่า 200 ขวด ก็จะ …....…… และเมื่อผลิตมากกว่า 200 ขวด ก็จะได้………..




        บางครั้งความสัมพันธ์เชิงเส้นระหว่างปริมาณสองชุดที่กาหนด อาจมีกราฟอยู่ในแนว
เส้นตรงเดียวกันเป็นช่วงๆ โดยที่แนวเส้นตรงเหล่านี้ไม่จาเป็นต้องเป็นแนวเส้นตรงเดียวกันทั้งหมด
ก็ได้
ตัวอย่าง เมื่อเวลา 8.00 น. เจเจปั่นจักรยานจากบ้านพักไปยังโรงเรียนบุญเรืองวิทยาคม ซึ่งห่างกัน
40 กิโลเมตร ด้วยอัตราเร็ว 6 กม. /ชม. หลังจากปั่นไปได้ 12 กิโลเมตร เขาหยุดพัก 1 ชั่วโมง
แล้วจึงปั่นต่อไปด้วยอัตราเร็วเท่าเดิม ไอซ์ปั่นจักรยานจากบ้านพักของเจเจตามไปเมื่อเวลา 11.00
น. ด้วยอัตราเร็ว 10 กม. /ชม. จงเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างระยะเวลาทางที่จักรยาน
ของ แต่ละคนปั่นได้ตั้งแต่เวลา 8.00 น. ถึง 15.00 น. โดยใช้แกนคู่เดียวกัน
        วิธีทา ให้   x แทนเวลาเป็นนาฬิกา
                     y แทนระยะทางที่ปั่นจักรยานได้เป็นกิโลเมตร
        เขียนแสดงเวลาและระยะทางที่จักรยานแต่ละคันปั่นได้ดังตารางต่อไปนี้
        รถจักรยานของเจเจ

      x      8.00   9.00         10.00     11.00     12.00     13.00    14.00     15.00
      y       0      6            12        12        18        24       30        36
       รถจักรยานของไอซ์

      x     8.00      9.00 10.00           11.00     12.00     13.00    14.00     15.00
      y      0         0        0            0        10        20       30        40
       จากตาราง เขียนกราฟได้ดังนี้
จากกราฟที่ได้จงตอบคาถามต่อไปนี้
1) ในขณะที่ของจักรยานของไอซ์เริ่มออกเดินทาง จักรยานของเจเจแล่นนาหน้าเป็นระยะทางเท่าใด
ตอบ จักรยานของเจเจนาหน้าจักรยานของไอซ์อยู่ 12 กิโลเมตร
2) จักรยานทั้งสองคันแล่นทันกันเมื่อใด
ตอบ เวลา 14.00 น.
3) หลังจากจักรยานทั้งสองคันแล่นทันกันแล้ว จักรยานคันใดจะแล่นนาหน้า
ตอบ รถจักรยานของไอซ์จะแล่นนาหน้าจักรยานของเจเจ
4) จากกราฟใครถึงจุดหมายก่อน และเมื่อเวลาเท่าใด
ตอบ ไอซ์ถึงจุดหมายก่อน เมื่อเวลา 15.00 น.
5) เมื่อเวลา 15.00 น. จักรยานของเจเจอยู่ห่างจากจุดหมายกี่กิโลเมตร
ตอบ 4 กิโลเมตร




    กราฟรถจักรยานของ............ อยู่เหนือกราฟจักรยานของ............. แสดงว่าจักรยานของ
    ................ นาหน้าจักรยาน ................
แบบฝึกทักษะที่ 2.1
                                    เรื่อง ความสัมพันธ์เชิงเส้น

1. จงเขียนตารางและกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณในแต่ละข้อต่อไปนี้ความสัมพันธ์
ที่กาหนดให้เป็นความสัมพันธ์เชิงเส้นหรือไม่
       1.1 การเปรียบเทียบหน่วยความยาวระหว่างเมตรกับ เซนติเมตร
       วิธีทา 1 เมตร = 100 เซนติเมตร
                 ให้ x แทน ความยาวเป็น เมตร
                      y แทน ความยาวเป็น ……………….
       เขียนแสดงการเปรียบเทียบหน่วยความยาวระหว่าง เมตร กับ เซนติเมตรดังตารางต่อไปนี้

                 x              1             2             3       4      5

                 y            100          ……..         ……….       ……….   ……….
       จากตารางเขียนกราฟได้ดังนี้




       เป็นความสัมพันธ์เชิงเส้นหรือไม่..........................
1.2 ความยาวของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าเป็น 3 เท่าของความกว้าง
วิธีทา ให้ x แทน …………………………………..
           y แทน ……………………………………
แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ความยาวและความกว้างของสี่เหลี่ยมผืนผ้าได้ดังนี้
    x       0             1           2         3        4          5

   y              0             3             6         ………..   ……….   ……….

จากตารางเขียนกราฟได้ดังนี้




เป็นความสัมพันธ์เชิงเส้นหรือไม่..........................



ถ้าความสัมพันธ์ใดเป็นความสัมพันธ์เชิงเส้นเราสามารถเขียนกราฟเส้นตรง
ในระบบแกนพิกัดฉากแทนความสัมพันธ์นั้นได้
2. นายเปรมขี่จักรยาน 1 นาที ได้ระยะ 1.5 กิโลเมตร และใช้อัตราเร็วคงที่
จงเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเวลาที่ใช้เป็นนาที กับระยะทางเป็นกิโลเมตร
วิธีทา   ให้ x แทน……………………..
             y แทน …………………….
ตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง เวลา กับ ระยะทาง คือ

         x          0          1           2          3           4

         y          0         1.5       ……….       ……….        ……….


จากตารางเขียนกราฟได้ดังนี้
3. อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประเภทฝากประจาระยะเวลา 1 ปี ของธนาคารแห่งหนึ่งเท่ากับ
ร้อยละ 2 จงเขียนตารางแสดงจานวนเงินฝาก และดอกเบี้ยที่ได้รับ เมื่อฝากเงินจานวน
100, 300, 500, 700, 900 บาท เป็นเวลา 1 ปี
วิธีทา ให้       x แทน……………………..
                 y แทน …………………….
เขียนตารางแสดงความสัมพันธ์ได้ดังนี้

             x      100          300    500       700        900

             y     ……..           6    ……….        14      ……….

    จากตารางเขียนกราฟได้ดังนี้




ถ้าฝากเงิน 1,000 บาท จะได้ดอกเบี้ย …………………………บาท
4. กราฟข้างล่างนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่างเวลาที่ใช้โทรศัพท์กับค่าโทรศัพท์ต่อเดือน
ของครูเทียมจันทร์




จากกราฟจงตอบคาถามต่อไปนี้
       1) เดือนที่ไม่ได้โทรศัพท์เลยจะเสียเงินเท่าไร
       ตอบ............................................................
       2) ถ้าใน 1 เดือนใช้โทรศัพท์นาน 10 นาที จะต้องจ่ายค่าโทรศัพท์กี่บาท
       ตอบ............................................................
       3) ครูเทียมจันทร์ใช้โทรศัพท์ใน 1 เดือนนาน 100 นาทีจะต้องจ่ายค่าโทรศัพท์กี่บาท
       ตอบ............................................................
       4) ถ้าในเดือนหนึ่งใช้โทรศัพท์นาน 25 นาที จะต้องจ่ายค่าโทรศัพท์กี่บาท
       ตอบ............................................................
       5) ในการคิดค่าโทรศัพท์ครั้งนี้ คิดนาทีละกี่บาท
       ตอบ............................................................
       6) ถ้า ให้ x แทน จานวนเวลาที่ใช้โทรศัพท์เป็นนาที
                      y แทน ค่าโทรศัพท์ต่อเดือนเป็นบาท
       จงเขียนสมการแสดงความสัมพันธ์ของ x และ y
       ตอบ............................................................

Contenu connexe

Tendances

เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
นายเค ครูกาย
 
ม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผล
ม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผลม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผล
ม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผล
reaxe j
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
kroojaja
 
ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์
ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์
ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์
Kam Nimpunyagampong
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลมเอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
kroojaja
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
kroojaja
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
คุณครูพี่อั๋น
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
Inmylove Nupad
 

Tendances (20)

การประยุกต์2
การประยุกต์2การประยุกต์2
การประยุกต์2
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
 
ม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผล
ม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผลม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผล
ม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผล
 
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
 
ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์
ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์
ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์
 
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบแบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
 
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวนชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลมเอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
 
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
 
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองแบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้งชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
 
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.นบทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
 

Similaire à ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ

แผนที่
แผนที่แผนที่
แผนที่
Cha Rat
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
Aon Narinchoti
 
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdfบทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
ssusera0c3361
 
คู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียน
คู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียนคู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียน
คู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียน
kroojaja
 
กราฟ ม.3
กราฟ ม.3กราฟ ม.3
กราฟ ม.3
krookay2012
 

Similaire à ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ (20)

คู่อันดับ
คู่อันดับคู่อันดับ
คู่อันดับ
 
แผนที่
แผนที่แผนที่
แผนที่
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
กราฟ
กราฟกราฟ
กราฟ
 
Set
SetSet
Set
 
Relafuncadd1
Relafuncadd1Relafuncadd1
Relafuncadd1
 
ข้อสอบ
ข้อสอบข้อสอบ
ข้อสอบ
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
เอกสารประกอบการเรียนการสอนเอกสารประกอบการเรียนการสอน
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
 
ฟังก์ชัน
ฟังก์ชันฟังก์ชัน
ฟังก์ชัน
 
คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5คณิตศาสตร์ป.5
คณิตศาสตร์ป.5
 
Math (ศิลป์)
Math (ศิลป์)Math (ศิลป์)
Math (ศิลป์)
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdfบทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
 
คู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียน
คู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียนคู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียน
คู่อันดับและผลคูณคาร์ทีเซียน
 
Graph
GraphGraph
Graph
 
กราฟ ม.3
กราฟ ม.3กราฟ ม.3
กราฟ ม.3
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9
ข้อสอบคณิตศาสตร์TEDET 2554 9
 
Add m5-1-chapter2
Add m5-1-chapter2Add m5-1-chapter2
Add m5-1-chapter2
 
รวมแบบฝึกหัด(การบ้าน)
รวมแบบฝึกหัด(การบ้าน)รวมแบบฝึกหัด(การบ้าน)
รวมแบบฝึกหัด(การบ้าน)
 
Calculus
CalculusCalculus
Calculus
 

Plus de Jiraprapa Suwannajak

พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
Jiraprapa Suwannajak
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึม
Jiraprapa Suwannajak
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
Jiraprapa Suwannajak
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
Jiraprapa Suwannajak
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
Jiraprapa Suwannajak
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
Jiraprapa Suwannajak
 

Plus de Jiraprapa Suwannajak (20)

พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
ภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวย
 
เมทริกซ์...
เมทริกซ์...เมทริกซ์...
เมทริกซ์...
 
รากที่สอง..
รากที่สอง..รากที่สอง..
รากที่สอง..
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
เศษส่วน
เศษส่วนเศษส่วน
เศษส่วน
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึม
 
ลอการิทึม
ลอการิทึมลอการิทึม
ลอการิทึม
 
ลอการิทึม..[1]
ลอการิทึม..[1]ลอการิทึม..[1]
ลอการิทึม..[1]
 
ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
 
วงกลมวงรี
วงกลมวงรีวงกลมวงรี
วงกลมวงรี
 
กลุ่ม4
กลุ่ม4กลุ่ม4
กลุ่ม4
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
 
ปรัชญาเศร..
ปรัชญาเศร..ปรัชญาเศร..
ปรัชญาเศร..
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจ..[1]
 เศรษฐกิจ..[1] เศรษฐกิจ..[1]
เศรษฐกิจ..[1]
 
สมการตรีโกณ
สมการตรีโกณสมการตรีโกณ
สมการตรีโกณ
 

ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ

  • 1. ใบความรู้ที่ 1.1 เรื่อง คู่อันดับและกราฟ ในชีวิตประจาวัน เรามักพบสถานการณ์ที่กล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณสอง ปริมาณอยู่เสมอ เช่น ระยะทางที่โดยสารรถประจาทางกับค่าโดยสาร ระยะทางที่ใช้ในการ เดินทางกับเวลา ปริมาณของน้าประปาที่ใช้กับค่าน้า เราสามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์เหล่านี้ ในรูปตาราง แผนภาพ คู่อันดับ รวมทั้งการแสดงในรูปอื่น ๆ เช่น กราฟ กราฟ (graph) คือ ภาพของจุดที่ใช้แสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณของสองสิ่งโดยใช้ระบบ แทนปริมาณด้วยระยะห่างจากเส้นตรงสองเส้น เส้นตรงแต่ละเส้น เรียกว่า แกน (axis) ถ้าเส้นตรงทั้งสองตัดกันเป็นมุมฉาก เรียกระบบนั้นว่า ระบบแกนพิกัดฉาก (rectangular coordinate system) ระบบแกนพิกัดฉาก ระบบแกนพิกัดฉาก คือ ระบบที่บอกพิกัดของจุดด้วยระยะห่างจากแกนที่ตัดกันเป็นมุมฉาก โดยปกติจะวางแกนทั้งสองในแนวระดับ และแนวดิ่ง Y อักษรที่ใช้เป็นชื่อแกน นิยมใช้ X และ Y X 0 1. แกน X อยู่ในแนวระดับ เรียกว่า แกนนอน ( horizontal axis ) 2. แกน Y อยู่ในแนวดิ่ง เรียกว่า แกนตั้ง ( vertical axis ) 3. จุดกาเนิด (origin) คือ จุดที่แกนทั้งสองตัดกันแทนด้วย อักษร O (โอ) O เป็น จุดเริ่มต้นของการนับระยะบนแกนทั้งสองใช้แทน ศูนย์ ( 0 ) ถ้านับมาทางขวาหรือขึ้น ข้างบนเป็นจานวนบวก ( positive) ถ้านับมาทางซ้ายหรือลงข้างล่าง เป็นจานวนลบ ( negative)
  • 2. 4. พิกัดร่วม (coordinate) คือตาแหน่งของจุดใดๆ บนระนาบของระบบซึ่งกาหนดด้วย ระยะทางที่จุดนั้นอยู่ห่างจากแกนทั้งสอง โดยทั่วไปเราเขียนคู่อันดับใด ๆ ในรูป (x, y) เมื่อ x แทนจานวนที่อยู่บนแกน X และ y แทนจานวนที่อยู่บนแกน Y x หมายถึง ระยะที่นับบนแกน X เรียกว่า ระยะระดับ (abscissa) y หมายถึง ระยะที่นับบนแกน Y เรียกว่า ระยะดิ่ง ( ordinate)เพื่อแสดง ตาแหน่งของคู่อันดับในระบบพิกัดฉาก ถ้าจุด P เป็นจุดบนระนาบที่มีคู่อันดับเป็น (x, y) จะกล่าวว่า P มีพิกัดเป็น (x, y) โดยที่ x เป็นสมาชิกตัวที่หนึ่ง และ y เป็นสมาชิกตัวที่สอง และอาจเขียนแทนพิกัดของ P ด้วย P (x, y) เพื่อความสะดวกเรานิยมใช้กระดาษกราฟ ในการเขียนกราฟซึ่งจะช่วยในการอ่านกราฟได้ง่ายและถูกต้องยิ่งขึ้น 5. หน่วยบนแกนทั้งสอง บนแกนเดียวกันต้องใช้หน่วยเดียวกัน (ทั้งบวกและลบ) แต่หน่วยบนแกน X อาจใช้หน่วยต่างจากหน่วยบนแกน Y ได้ โดยปกติเราจึงอาจ เลือกใช้หน่วยใน แต่ละแกนให้เหมาะสมได้ 6. จุดที่แกนตัดกันเป็นจุด ( 0, 0) คือ x = 0, y = 0 ดังนั้นจุดกาเนิดหรือจุด O (โอ) จึงตรงกับจุดศูนย์ของแกนทั้งสอง จะเรียกว่าเป็นจุด O (โอ) หรือจุด 0 (ศูนย์) ก็ได้
  • 3. พิจารณาจุดต่างๆ ในระบบพิกัดฉากดังรูป C(…., ....) A(…., ....) B D(…., ....) B(…., ....) C D A H E E(…., ....) F G G(…., ....) F(…., ....) H(…., ....) สิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับแกน X และ แกน Y แกน X และแกน Y จะแบ่งระนาบออกเป็น 4 ส่วน แต่ละส่วนเรียกว่าจตุภาค (Quadrant) จุด ...... และ ...... มีพิกัดอยู่ในจตุภาคที่ 1 จุด ...... และ ...... มีพิกัดอยู่ในจตุภาคที่ 2 จุด ...... และ ...... มีพิกัดอยู่ในจตุภาคที่ 3 จุด ...... และ ...... มีพิกัดอยู่ในจตุภาคที่ 4
  • 4. แบบฝึกทักษะที่ 1.1 เรื่อง คู่อันดับและกราฟ คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนคู่อันดับและกราฟที่กาหนดให้ 1. จงลงจุดต่อไปนี้ในระบบแกนพิกัดฉากที่กาหนดให้ 1) พิกัดของจุด A(…,…) , B(…,…) และ C(…,…) 2) พิกัดของจุด P(…,…) , Q(…,…), R(…,…) และ S(…,…) 3) พิกัดของจุดที่อยู่บนแกน X คือ จุด Q และ…………… 4) พิกัดของจุดที่อยู่บนแกน Y คือ จุด A และ……………
  • 5. รูปอะไรเอ่ย 2. จากคู่อันดับที่กาหนดให้ต่อไปนี้ เมื่อนาพิกัดจุดแต่ละจุดไปเขียนบนระนาบพิกัดฉาก แล้ว ลากเส้นเชื่อมจุดแต่ละจุด นักเรียนทราบหรือไม่ว่า รูปที่ได้จากการลากเส้นเป็นรูป อะไร(1, 9), (2, 9), (4, 10), (5, 12), (6, 13), (8, 13), (10, 11), (8, 8), (8, 6), (10, 4), (14, 1), (14, 8), (18, 8), (17, 9), (18, 10), (17, 11), (18, 12), (17, 13), (18, 14), (17, 15), (18, 16), (18, 17), (12, 11), (9, 14), (6, 14), (4, 13), (2, 11), (2,10) รูปที่ได้คือ รูป...............................
  • 6. ใบความรู้ที่ 1.2 เรื่อง คู่อันดับและกราฟ นักเรียนเคยพบการเขียนแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณสองชุดโดยใช้กราฟ บนระนาบ ในระบบพิกัดฉากมาแล้ว กราฟที่นักเรียนรู้จักมีทั้งกราฟที่เป็นเส้นตรงและไม่เป็นเส้นตรงในหัวข้อ นี้นักเรียนจะได้ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับกราฟที่มีลักษณะเป็นเส้นตรง ส่วนหนึ่งของเส้นตรงหรือเป็น จุดที่เรียงอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกันให้นักเรียนพิจารณาสถานการณ์ต่อไปนี้ “ จอยและฟ้าต้องการหารายได้พิเศษเพื่อช่วยเหลือครอบครัวในช่วงปิดเทอม จึงไปรับ สาหร่าย (ไก)ทรงเครื่องจากกลุ่มแม่บ้านบ้านหาดไคร้มาช่วยกันขาย วันหนึ่งทั้งจอยและฟ้าต่างก็ ขายสาหร่าย(ไก)ทรงเครื่องได้จานวนหนึ่ง แต่รวมกันแล้วเป็นจานวนสาหร่าย(ไก)ทรงเครื่อง ทั้งหมด 8 แผ่น ” เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจานวนสาหร่าย (ไก ) ทรงเครื่องที่เป็นไปได้ ถ้าให้ x แทนจานวนสาหร่าย(ไก)ทรงเครื่องที่จอยขายได้เป็นแผ่น y แทนจานวนสาหร่าย(ไก)ทรงเครื่องที่ฟ้าขายได้เป็นแผ่น จานวนสาหร่ายที่แต่ละคนขายได้จะต้องเป็นจานวนนับที่รวมกันได้ 8 ดังตาราง x 1 2 3 4 5 6 7 y 7 6 5 4 3 2 1 จากตารางเขียนคู่อันดับ (x, y) แสดงความสัมพันธ์ได้ดังนี้ (1, 7), (2, 6), (3, 5), (4, 4), (5, 3), (6, 2), (7, 1) เมื่อกาหนดให้แกน x แทนจานวนสาหร่าย(ไก)ทรงเครื่องที่จอยขายได้เป็นแผ่น y แทนจานวนสาหร่าย(ไก)ทรงเครื่องที่ฟ้าขายได้เป็นแผ่น
  • 7. เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจานวนสาหร่าย (ไก)ทรงเครื่อง ที่จอยและฟ้าขาย รวมกันได้ดังนี้ จากกราฟจะเห็นว่าทุกจุดของคู่อันดับที่เป็นไปได้ตามเงื่อนไขในโจทย์ข้างต้น จะอยู่ใน แนวเส้นตรงเดียวกันกับเส้นประดังรูป นั่นคือ จุดทุกจุดของคู่อันดับที่เป็นไปตามเงื่อนไขที่กาหนด จะเรียงอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน สถานการณ์ข้างต้นเป็นตัวอย่างของความสัมพันธ์ของปริมาณ สองชุดทีมีกราฟอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน เราเรียกความสัมพันธ์ลักษณะเช่นนี้ว่า ความสัมพันธ์เชิงเส้น การเขียนแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณสองชุด โดยใช้กราฟบนระนาบในระบบพิกัดฉากที่มี ทั้งกราฟที่เป็นเส้นตรง ส่วนหนึ่งของเส้นตรงหรือเป็นจุดที่เรียงกันอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน เรียกว่า ความสัมพันธ์เชิง (Linear relation)
  • 8. ตัวอย่าง น้องแป้งขายส้มห้วยเม็งราคากิโลกรัมละ 15 บาท เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ได้ ดังนี้ ถ้าให้ x แทนจานวนส้มเป็นกิโลกรัม y แทนราคาขายเป็นบาท เขียนความสัมพันธ์ลงในตารางได้ดังนี้ จานวนส้ม (ก.ก.) 1 2 3 4 5 6 ราคาขาย (บาท) 15 30 45 60 75 90 จากตารางเขียนคู่อันดับ (x, y) แสดงความสัมพันธ์ได้ดังนี้คู่อันดับคือ (1, 15), (….. ,…..), (3, 45), (….. ,…..), (5, 75), (….. ,…..) เมื่อกาหนดให้แกน x แทนจานวนส้มเป็นกิโลกรัม y แทนราคาขายเป็นบาท เขียนกราฟได้ดังนี้ จากกราฟจะเห็นว่า แต่ละจุดในกราฟซึ่งแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจานวนส้มมีหน่วย เป็นกิโลกรัม กับราคาขายมีหน่วยเป็นบาท อยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน จากกราฟเป็นความสัมพันธ์เชิงเส้นหรือไม่ …………………………...
  • 9. แบบฝึกทักษะที่ 1.2 เรื่อง คู่อันดับและกราฟ คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนคู่อันดับและกราฟแสดงความสัมพันธ์จากข้อมูลที่นักเรียนไปสารวจ 1. ในช่วงปิดเทอมเบนซ์และอาร์มช่วยกันหากุ้งในแม่น้าโขงแล้วนามาขายที่ตลาดเพื่อนาเงินมาเป็น ค่าอาหารกลางวัน จานวนกุ้งที่เบนซ์และอาร์มช่วยกันหารวมกันได้ 6 กิโลกรัม ถ้าให้ x แทน …………………………………………… y แทน …………………………………………… เขียนความสัมพันธ์ลงในตารางได้ดังนี้ จานวนกุ้งที่เบนซ์หาได้ (ก.ก.) 1 2 3 4 5 จานวนกุ้งที่อาร์มหาได้ (ก.ก.) 5 ……. ……. ……. ……. จากตารางเขียนคู่อันดับได้ดังนี้ (1, 5), …………………………………………………………………………… เขียนกราฟได้ดังนี้ จากกราฟเป็นความสัมพันธ์เชิงเส้นหรือไม่ ……………
  • 10. 2. แนนไปสารวจราคากล้วยฉาบในหมู่บ้านศรีลานนา เพื่อหารายได้ระหว่างเรียน จึง นาไปขายให้กับแม่ค้าในโรงเรียน ข้อมูลที่สารวจได้ดังแผนภาพ 1 20 2 40 3 60 4 80 5 100 จานวนกล้วยฉาบ (ถุง) ราคา (บาท) ถ้าให้ x แทน …………………………………………… y แทน …………………………………………… เขียนความสัมพันธ์ลงในตารางได้ดังนี้ จานวนกล้วยฉาบ (ถุง) 1 2 3 4 5 จานวนราคากล้วยฉาบ (บาท) …… …… …… …… …… จากตารางเขียนคู่อันดับ (x, y) ได้เป็น ………………………………………………………………………………………………………
  • 11. เขียนกราฟได้ดังนี้ จากกราฟเป็นความสัมพันธ์เชิงเส้นหรือไม่ ……………
  • 12. ใบความรู้ที่ 2.1 เรื่อง ความสัมพันธ์เชิงเส้น ความสัมพันธ์เชิงเส้น (Linear relation) ความสัมพันธ์เชิงเส้น คือ ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณของสองสิ่ง ซึ่งมีสิ่งหนึ่งเพิ่มขึ้น หรือลดลง อีกสิ่งหนึ่งก็จะเพิ่มขึ้นหรือลดลงในอัตราส่วนอย่างเดียวกัน ( หรือเรียกว่า เปลี่ยนแปลง เป็นสัดส่วนเดียวกัน ) เช่น ความสัมพันธ์ระหว่าง 1. จานวนสินค้ากับราคารวมของสินค้า ( ซึ่งแต่ละหน่วยของสินค้าเท่ากัน ) 2. ระยะทางกับเวลา ( ซึ่งอัตราเร็วคงที่ ) 3. อุณหภูมิของเทอร์โมมิเตอร์มาตราต่างๆ ( ณ สถานที่หนึ่งในเวลาเดียวกัน ) ตัวอย่างที่ 1 กลุ่มแม่บ้านในตาบลสถานร่วมกันผลิตน้าเสาวรสเพื่อบรรจุขวดขายในราคาขวด ละ 20 บาท จากการบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับการลงทุน เขียนแสดงได้ด้วยกราฟดังรูป
  • 13. จงเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจานวนเสาวรสที่ขายได้กับรายได้ที่ได้รับโดยใช้ แกนคู่เดียวกันกับกราฟแสดงเงินลงทุน วิธีทา ให้ x แทนจานวนน้าเสาวรสที่ขายได้เป็นขวด y แทนรายได้เป็นบาท เขียนแสดงรายได้จากการขายน้าเสาวรสเป็นขวดตามจานวนที่กาหนดให้ได้ดังตาราง ต่อไปนี้ ซื้อ 0 ขวด ชาระเงิน 0 บาท แต่ถ้าซื้อ 100 ขวด ชาระเงิน 2000 บาท 200 ขวด ชาระเงิน 4000 บาท 300 ขวด ชาระเงิน 6000 บาท X 0 100 200 300 Y 0 2,000 4,000 6,000 จากตารางเขียนกราฟได้ดังนี้
  • 14. จากกราฟที่ได้จงตอบคาถามต่อไปนี้ 1. เงินลงทุนขั้นต่าที่ต้องจ่ายก่อนผลิตน้าเสาวรสเป็นเงิน 2,000 บาท 2. ถ้าขายน้าเสาวรสได้ 150 ขวด จะขาดทุน เป็นเงิน 500 บาท 3. กลุ่มแม่บ้านต้องขายน้าเสาวรสได้อย่างน้อยที่สุด 200 ขวด จึงจะถึงจุดคุ้มทุนเพราะ จากกราฟ แสดงเงินลงทุนและรายได้ เส้นกราฟจะตัดกันที่คู่อันดับ (200, 4,000) นั่นคือ เมื่อจานวนน้า เสาวรสเป็น 200 ขวด จะต้องใช้เงินลงทุนเท่ากับ 4,000 บาท ซึ่งเป็นจุดคุ้มทุนที่รายได้เท่ากับเงิน ลงทุน 4. จากจุดคุ้มทุน ถ้าขายน้าเสาวรสได้มากขึ้นเรื่อยๆ นักเรียนคิดว่า ส่วนต่างของเงินลงทุน กับรายได้จะเป็นอย่างไร และมีความหมายว่าอย่างไร จากจุดคุ้มทุนถ้าขายน้าเสาวรสได้ เส้นกราฟ แสดงรายได้จะอยู่สูงกว่าเส้นกราฟแสดงเงินลงทุนมากขึ้น นั่นคือ ส่วนต่างของรายได้กับเงินลงทุน มากขึ้น หมายความว่า ถ้ายิ่งขายได้ มากขึ้น ก็จะได้กาไรมากขึ้นด้วย ในระยะเริ่มต้นเส้นกราฟแสดงเงินลงทุนอยู่ .............. เส้นกราฟแสดงรายได้ และเมื่อ ผลิตน้าเสาวรส…….....…..ขวด เงินลงทุนและรายได้จะเท่ากับ 4,000 บาท เท่ากันซึ่งเป็น ………....…. จากลักษณะของเส้นกราฟทั้งสองข้างต้นจะสรุปได้ว่า ถ้าผลิตน้าเสาวรสน้อย กว่า 200 ขวด ก็จะ …....…… และเมื่อผลิตมากกว่า 200 ขวด ก็จะได้……….. บางครั้งความสัมพันธ์เชิงเส้นระหว่างปริมาณสองชุดที่กาหนด อาจมีกราฟอยู่ในแนว เส้นตรงเดียวกันเป็นช่วงๆ โดยที่แนวเส้นตรงเหล่านี้ไม่จาเป็นต้องเป็นแนวเส้นตรงเดียวกันทั้งหมด ก็ได้
  • 15. ตัวอย่าง เมื่อเวลา 8.00 น. เจเจปั่นจักรยานจากบ้านพักไปยังโรงเรียนบุญเรืองวิทยาคม ซึ่งห่างกัน 40 กิโลเมตร ด้วยอัตราเร็ว 6 กม. /ชม. หลังจากปั่นไปได้ 12 กิโลเมตร เขาหยุดพัก 1 ชั่วโมง แล้วจึงปั่นต่อไปด้วยอัตราเร็วเท่าเดิม ไอซ์ปั่นจักรยานจากบ้านพักของเจเจตามไปเมื่อเวลา 11.00 น. ด้วยอัตราเร็ว 10 กม. /ชม. จงเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างระยะเวลาทางที่จักรยาน ของ แต่ละคนปั่นได้ตั้งแต่เวลา 8.00 น. ถึง 15.00 น. โดยใช้แกนคู่เดียวกัน วิธีทา ให้ x แทนเวลาเป็นนาฬิกา y แทนระยะทางที่ปั่นจักรยานได้เป็นกิโลเมตร เขียนแสดงเวลาและระยะทางที่จักรยานแต่ละคันปั่นได้ดังตารางต่อไปนี้ รถจักรยานของเจเจ x 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.00 15.00 y 0 6 12 12 18 24 30 36 รถจักรยานของไอซ์ x 8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.00 15.00 y 0 0 0 0 10 20 30 40 จากตาราง เขียนกราฟได้ดังนี้
  • 16. จากกราฟที่ได้จงตอบคาถามต่อไปนี้ 1) ในขณะที่ของจักรยานของไอซ์เริ่มออกเดินทาง จักรยานของเจเจแล่นนาหน้าเป็นระยะทางเท่าใด ตอบ จักรยานของเจเจนาหน้าจักรยานของไอซ์อยู่ 12 กิโลเมตร 2) จักรยานทั้งสองคันแล่นทันกันเมื่อใด ตอบ เวลา 14.00 น. 3) หลังจากจักรยานทั้งสองคันแล่นทันกันแล้ว จักรยานคันใดจะแล่นนาหน้า ตอบ รถจักรยานของไอซ์จะแล่นนาหน้าจักรยานของเจเจ 4) จากกราฟใครถึงจุดหมายก่อน และเมื่อเวลาเท่าใด ตอบ ไอซ์ถึงจุดหมายก่อน เมื่อเวลา 15.00 น. 5) เมื่อเวลา 15.00 น. จักรยานของเจเจอยู่ห่างจากจุดหมายกี่กิโลเมตร ตอบ 4 กิโลเมตร กราฟรถจักรยานของ............ อยู่เหนือกราฟจักรยานของ............. แสดงว่าจักรยานของ ................ นาหน้าจักรยาน ................
  • 17. แบบฝึกทักษะที่ 2.1 เรื่อง ความสัมพันธ์เชิงเส้น 1. จงเขียนตารางและกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณในแต่ละข้อต่อไปนี้ความสัมพันธ์ ที่กาหนดให้เป็นความสัมพันธ์เชิงเส้นหรือไม่ 1.1 การเปรียบเทียบหน่วยความยาวระหว่างเมตรกับ เซนติเมตร วิธีทา 1 เมตร = 100 เซนติเมตร ให้ x แทน ความยาวเป็น เมตร y แทน ความยาวเป็น ………………. เขียนแสดงการเปรียบเทียบหน่วยความยาวระหว่าง เมตร กับ เซนติเมตรดังตารางต่อไปนี้ x 1 2 3 4 5 y 100 …….. ………. ………. ………. จากตารางเขียนกราฟได้ดังนี้ เป็นความสัมพันธ์เชิงเส้นหรือไม่..........................
  • 18. 1.2 ความยาวของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าเป็น 3 เท่าของความกว้าง วิธีทา ให้ x แทน ………………………………….. y แทน …………………………………… แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ความยาวและความกว้างของสี่เหลี่ยมผืนผ้าได้ดังนี้ x 0 1 2 3 4 5 y 0 3 6 ……….. ………. ………. จากตารางเขียนกราฟได้ดังนี้ เป็นความสัมพันธ์เชิงเส้นหรือไม่.......................... ถ้าความสัมพันธ์ใดเป็นความสัมพันธ์เชิงเส้นเราสามารถเขียนกราฟเส้นตรง ในระบบแกนพิกัดฉากแทนความสัมพันธ์นั้นได้
  • 19. 2. นายเปรมขี่จักรยาน 1 นาที ได้ระยะ 1.5 กิโลเมตร และใช้อัตราเร็วคงที่ จงเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเวลาที่ใช้เป็นนาที กับระยะทางเป็นกิโลเมตร วิธีทา ให้ x แทน…………………….. y แทน ……………………. ตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง เวลา กับ ระยะทาง คือ x 0 1 2 3 4 y 0 1.5 ………. ………. ………. จากตารางเขียนกราฟได้ดังนี้
  • 20. 3. อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประเภทฝากประจาระยะเวลา 1 ปี ของธนาคารแห่งหนึ่งเท่ากับ ร้อยละ 2 จงเขียนตารางแสดงจานวนเงินฝาก และดอกเบี้ยที่ได้รับ เมื่อฝากเงินจานวน 100, 300, 500, 700, 900 บาท เป็นเวลา 1 ปี วิธีทา ให้ x แทน…………………….. y แทน ……………………. เขียนตารางแสดงความสัมพันธ์ได้ดังนี้ x 100 300 500 700 900 y …….. 6 ………. 14 ………. จากตารางเขียนกราฟได้ดังนี้ ถ้าฝากเงิน 1,000 บาท จะได้ดอกเบี้ย …………………………บาท
  • 21. 4. กราฟข้างล่างนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่างเวลาที่ใช้โทรศัพท์กับค่าโทรศัพท์ต่อเดือน ของครูเทียมจันทร์ จากกราฟจงตอบคาถามต่อไปนี้ 1) เดือนที่ไม่ได้โทรศัพท์เลยจะเสียเงินเท่าไร ตอบ............................................................ 2) ถ้าใน 1 เดือนใช้โทรศัพท์นาน 10 นาที จะต้องจ่ายค่าโทรศัพท์กี่บาท ตอบ............................................................ 3) ครูเทียมจันทร์ใช้โทรศัพท์ใน 1 เดือนนาน 100 นาทีจะต้องจ่ายค่าโทรศัพท์กี่บาท ตอบ............................................................ 4) ถ้าในเดือนหนึ่งใช้โทรศัพท์นาน 25 นาที จะต้องจ่ายค่าโทรศัพท์กี่บาท ตอบ............................................................ 5) ในการคิดค่าโทรศัพท์ครั้งนี้ คิดนาทีละกี่บาท ตอบ............................................................ 6) ถ้า ให้ x แทน จานวนเวลาที่ใช้โทรศัพท์เป็นนาที y แทน ค่าโทรศัพท์ต่อเดือนเป็นบาท จงเขียนสมการแสดงความสัมพันธ์ของ x และ y ตอบ............................................................