SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
100202 : Curriculum & Instruction



การเรียนรู
                           ที่มา : http://www.nectec.or.th/courseware/cai/0042.html 6/8/2005 8:51 AM

          การเรียนรู คือ กระบวนการที่ทําใหคนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ความคิด คนสามารถเรียนไดจากการ
ไดยิน การสัมผัส การอาน การใชเทคโนโลยี การเรียนรูของเด็กและผูใหญจะตางกัน เด็กจะเรียนรูดวยการเรียน
ในหอง การซักถาม ผูใหญมักเรียนรูดวยประสบการณที่มีอยู แตการเรียนรูจะเกิดขึ้นจากประสบการณที่ผูสอน
นําเสนอ โดยการปฏิสัมพันธระหวางผูสอนและผูเรียน ผูสอนจะเปนผูที่สรางบรรยากาศทางจิตวิทยาที่เอื้ออํานวย
ตอการเรียนรู ที่จะใหเกิดขึ้นเปนรูปแบบใดก็ไดเชน ความเปนกันเอง ความเขมงวดกวดขัน หรือความไมมี
ระเบียบวินัย สิ่งเหลานี้ผูสอนจะเปนผูสรางเงื่อนไข และสถานการณเรียนรูใหกับผูเรียน ดังนั้น ผูสอนจะตอง
พิจารณาเลือกรูปแบบการสอน รวมทั้งการสรางปฏิสัมพันธกับผูเรียน

ลักษณะการเรียนรูของผูใหญ

    •    ผูใหญจะใชประสบการณมาผสมผสานในการเรียน
    •    ผูใหญจะคาดหวังในสิ่งที่เรียนที่จะเปนประโยชนในชีวิตและการทํางาน
    •    ผูใหญจะนําประสบการณที่สะสมมาแกปญหาและประยุกต
    •    ผูใหญจะสามารถอธิบายสิ่งตางๆไดตางกัน

การเรียนรูตามทฤษฎีของ Bloom ( Bloom's Taxonomy) Bloom ไดแบงการเรียนรูเปน 6 ระดับ
          

    •    ความรูที่เกิดจากความจํา (knowledge) ซึ่งเปนระดับลางสุด
    •    ความเขาใจ (Comprehend)
    •    การประยุกต (Application)
    •    การวิเคราะห ( Analysis) สามารถแกปญหา ตรวจสอบได
    •    การสังเคราะห ( Synthesis) สามารถนําสวนตางๆ มาประกอบเปนรูปแบบใหมไดใหแตกตางจาก
         รูปเดิม เนนโครงสรางใหม
    •    การประเมินคา ( Evaluation) วัดได และตัดสินไดวาอะไรถูกหรือผิด ประกอบการตัดสินใจบนพื้นฐาน
         ของเหตุผลและเกณฑที่แนชัด

การเรียนรูตามทฤษฎีของเมเยอร ( Mayor)
          

    ในการออกแบบสื่อการเรียนการสอน การวิเคราะหความจําเปนเปนสิ่งสําคัญ และตามดวยจุดประสงคของ
การเรียน โดยแบงออกเปนยอยๆ 3 สวนดวยกัน

    •    พฤติกรรม ควรชี้ชัดและสังเกตได
    •    เงื่อนไข พฤติกรรมสําเร็จไดควรมีเงื่อนไขในการชวยเหลือ
    •    มาตรฐาน พฤติกรรมที่ไดนั้นสามารถอยูในเกณฑที่กําหนด


                                                                                                            1
100202 : Curriculum & Instruction


การเรียนรูตามทฤษฎีของบรูเนอร (Bruner)
          

    •   ความรูถูกสรางหรือหลอหลอมโดยประสบการณ
    •   ผูเรียนมีบทบาทรับผิดชอบในการเรียน
    •   ผูเรียนเปนผูสรางความหมายขึ้นมาจากแงมุมตางๆ
    •   ผูเรียนอยูในสภาพแวดลอมที่เปนจริง
    •   ผูเรียนเลือกเนื้อหาและกิจกรรมเอง
    •   เนื้อหาควรถูกสรางในภาพรวม

การเรียนรูตามทฤษฎีของไทเลอร (Tylor)
          

    •   ความตอเนื่อง (continuity) หมายถึง ในวิชาทักษะ ตองเปดโอกาสใหมีการฝกทักษะในกิจกรรมและ
        ประสบการณบอยๆ และตอเนื่องกัน
    •   การจัดชวงลําดับ (sequence) หมายถึง หรือการจัดสิ่งที่มีความงาย ไปสูสิ่งที่มีความยาก ดังนั้นการจัด
        กิจกรรมและประสบการณ ใหมีการเรียงลําดับกอนหลัง เพื่อใหไดเรียนเนื้อหาที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้น
    •   บูรณาการ (integration) หมายถึง การจัดประสบการณจึงควรเปนในลักษณะที่ชวยใหผูเรียน ได
        เพิ่มพูนความคิดเห็นและไดแสดงพฤติกรรมที่สอดคลองกัน เนื้อหาที่เรียนเปนการเพิ่มความสามารถ
        ทั้งหมด ของผูเรียนที่จะไดใชประสบการณไดในสถานการณตางๆ กัน ประสบการณการเรียนรู จึงเปน
        แบบแผนของปฏิสัมพันธ (interaction) ระหวางผูเรียนกับสถานการณที่แวดลอม

ทฤษฎีการเรียนรู 8 ขั้น ของกาเย ( Gagne )

    •   การจูงใจ ( Motivation Phase) การคาดหวังของผูเรียนเปนแรงจูงใจในการเรียนรู
    •   การรับรูตามเปาหมายที่ตั้งไว (Apprehending Phase) ผูเรียนจะรับรูสิ่งที่สอดคลองกับความตั้งใจ
    •   การปรุงแตงสิ่งที่รับรูไวเปนความจํา ( Acquisition Phase) เพื่อใหเกิดความจําระยะสั้นและระยะยาว
    •   ความสามารถในการจํา (Retention Phase)
    •   ความสามารถในการระลึกถึงสิ่งที่ไดเรียนรูไปแลว (Recall Phase )
    •   การนําไปประยุกตใชกับสิ่งที่เรียนรูไปแลว (Generalization Phase)
    •   การแสดงออกพฤติกรรมที่เรียนรู ( Performance Phase)
    •   การแสดงผลการเรียนรูกลับไปยังผูเรียน ( Feedback Phase) ผูเรียนไดรับทราบผลเร็วจะทําใหมีผลดี
        และประสิทธิภาพสูง

องคประกอบที่สําคัญที่กอใหเกิดการเรียนรู จากแนวคิดนักการศึกษา กาเย ( Gagne) คือ

    •   ผูเรียน ( Learner) มีระบบสัมผัสและ ระบบประสาทในการรับรู
    •   สิ่งเรา ( Stimulus) คือ สถานการณตางๆ ที่เปนสิ่งเราใหผูเรียนเกิดการเรียนรู
    •   การตอบสนอง (Response) คือ พฤติกรรมที่เกิดขึ้นจากการเรียนรู


                                                                                                                 2
100202 : Curriculum & Instruction


การสอนดวยสื่อตามแนวคิดของกาเย (Gagne)

     •    เราความสนใจ มีโปรแกรมที่กระตุนความสนใจของผูเรียน เชน ใช การตูน หรือ กราฟกที่ดึงดูดสายตา
          ความอยากรูอยากเห็นจะเปนแรงจูงใจใหผูเรียนสนใจในบทเรียน การตั้งคําถามก็เปนอีกสิ่งหนึ่ง
     •    บอกวัตถุประสงค ผูเรียนควรทราบถึงวัตถุประสงค ใหผูเรียนสนใจในบทเรียนเพื่อใหทราบวาบทเรียน
          เกี่ยวกับอะไร
     •    กระตุนความจําผูเรียน สรางความสัมพันธในการโยงขอมูลกับความรูที่มีอยูกอน เพราะสิ่งนี้สามารถทํา
          ใหเกิดความทรงจําในระยะยาวไดเมื่อไดโยงถึงประสบการณผูเรียน โดยการตั้งคําถาม เกี่ยวกับแนวคิด
          หรือเนื้อหานั้นๆ
     •    เสนอเนื้อหา ขั้นตอนนี้จะเปนการอธิบายเนื้อหาใหกับผูเรียน โดยใชสื่อชนิดตางๆ ในรูป กราฟฟก หรือ
          เสียง วิดีโอ
     •    การยกตัวอยาง การยกตัวอยางสามารถทําไดโดยยกกรณีศึกษา การเปรียบเทียบ เพื่อใหเขาใจได
          ซาบซึ้ง
     •    การฝกปฎิบัติ เพื่อใหเกิดทักษะหรือพฤติกรรม เปนการวัดความเขาใจวาผูเรียนไดเรียนถูกตอง เพื่อให
          เกิดการอธิบายซ้ําเมื่อรับสิ่งที่ผิด
     •    การใหคําแนะนําเพิ่มเติม เชน การทําแบบฝกหัด โดยมีคําแนะนํา
     •    การสอบ เพื่อวัดระดับความเขาใจ
     •    การนําไปใชกับงานที่ทํา ในการทําสื่อควรมี เนื้อหาเพิ่มเติม หรือหัวขอตางๆ ที่ควรจะรูเพิ่มเติม

ทฤษฎีแหงการสรางสรรคดวยปญญา (Constructionism)

          ทฤษฎีแหงการสรางสรรคดวยปญญา (Constructionism ) ของ ศาสตราจารย Seymour Papert แหง
Media Lab, Massachusetts Institute of Technology, สหรัฐอเมริกา ผูเรียนสามารถสรางความรู ความเขาใจ
เกี่ยวกับสิ่งตางๆ ในสภาพแวดลอมการดํารงชีวิตไดดวยตนเอง ดวยการนําเสนอเพื่อสรางประสบการณ
คอมพิวเตอรเปนเครื่องมือ ที่สามารถนํามาใชประกอบการเรียนการสอนได ทําใหผูเรียนเรียนไดเขาใจมากยิ่งขึ้น
และเปลี่ยนกรอบความคิดของครูจากเดิม ซึ่งเนนการสอนไปเปนการใหอิสระแกผูเรียน ไดรวมเรียนรูเปนอิสระใน
การเรียนโดยพึ่งพาตนเอง

สาระสําคัญของทฤษฎีแหงการสรางสรรดวยปญญา (Constructionism )

            ผูเรียนเปนฝายสรางความรูขึ้นดวยตนเอง มิใชไดมาจากครูและในการสรางความรูนั้น ผูเรียนจะตองลง
มือสรางสิ่งใดสิ่งหนึ่งขึ้นมา เชน การสรางสิ่งจําลอง การสรางสิ่งที่จับตองสัมผัสได ทําใหผูอื่นมองเห็นได จะมีผล
ทําใหผูเรียนตองใชความคิด มีความกระตือรือรน มีความรับผิดชอบตอการเรียนรูของตนเอง อยางเพื่อเกิดการ
สรางสรรคความคิด




                                                                                                                   3
100202 : Curriculum & Instruction


หลักการสําคัญ

      •    การเชื่อมโยงสิ่งที่รูแลวกับสิ่งที่กําลังเรียน
      •    การใหโอกาสผูเรียนเปนผูริเริ่มทําโครงการที่ตนเองสนใจ การสนับสนุนอยางพอเพียงและเหมาะสม
           จากครูซึ่งไดรับการฝกฝนใหมีความเขาใจกระบวนการเรียนรูอยางลึกซึ้ง
      •    เปดโอกาสใหมีการแลกเปลี่ยนความคิด นําเสนอผลการวิเคราะหกระบวนการเรียนรูของตนเอง
      •    ใหเวลาทําโครงการอยางตอเนื่อง

     การแสดงความคิดและผลงานของตนเองใหคนอื่นๆ รับทราบและรวมพิจารณาใหขอเสนอแนะนั้น เปนการ
สงเสริมใหเกิดการเรียนรูรวมกัน และการยอมรับในความแตกตางทางความคิด และผลงานปรากฎอยู และไดรับ
การสนับสนุนใหทําอยางตอเนื่อง ดังนั้นผูเรียนแตละคนก็จะมีโอกาสพัฒนาความสามารถในผลสําเร็จของตนเอง
การเรียนรูตามทฤษฎีสรางสรรดวยปญญาเริ่มใชในประเทศไทยอยางจริงจังนั้นเริ่มแตป พ.ศ. 2539 โดยมูลนิธิ
ศึกษาพัฒนไดพัฒนาโครงการนํารองคือ Lighthouse Project เพื่อแสดงใหเห็นวาการจัดการศึกษาที่เปน
ทางเลือกใหมสําหรับพัฒนาคนไทยใหเปนนักคิด นักสํารวจทดลอง และใชเทคโนโลยีเพื่อแสดงความคิดและ
สรางสรรคสิ่งตางๆ ไดอยางคลองแคลว

บุคลากรที่เกี่ยวของกับกระบวนการเรียนรู

ผูเรียน

ผูเรียนสามารถสรางความรู ความเขาใจสิ่งตางๆ ดวยตนเอง ดังนั้น ผูเรียนจะตองเปนฝายริเริ่มลงมือทําโครงการ
ซึ่งตนเองสนใจ พรอมกับคิดและพูดอธิบายเกี่ยวกับสิ่งที่ไดกระทําไปแลวใหคนอื่นๆ รับรูและนําไปสูการ
แลกเปลี่ยนความคิดซึ่งกันและกัน โดยใชเครื่องมือที่เหมาะสมในการสรางความคิด

ครู

ครูควรรูความตองการของผูเรียนแตละคน และใหคําแนะนําไดอยางเหมาะสม และไมนอยเกินไปจนผูเรียนหมด
กําลังใจที่จะทํางานตอยอมรับในความคิดแปลกใหมของผูเรียนและรวมสํารวจ ทดลองกับผูเรียน เปดโอกาสให
ผูเรียนไดทําสิ่งที่ตนเองสนใจและในระยะเวลาที่ตองการ สงเสริมใหมีการนําเสนอผลงานและแลกเปลี่ยน
ความคิดกันอยางจริงจังและตอ

ผูปกครอง

ปจจุบันจํานวนบานเรือนที่มีคอมพิวเตอรและ Internet เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว ผูปกครองจึงมีบทบาทสําคัญในการ
สรางวัฒนธรรมการเรียนรูภายในครอบครัว โดยแสดงใหเห็นวาการเรียนรูสิ่งใหมๆ เชน พยายามเรียนรูการใช
คอมพิวเตอรอยูเสมอ ใหความสนใจที่จะเรียนรูรวมกับเด็กๆ หรือเรียนรูจากเด็กๆ ในครอบครัว ใชคอมพิวเตอร
เปนเครื่องมือสําหรับเรียนที่กอใหเกิดคุณคาและความสุขแกตนเอง และยอมรับวาสมาชิกแตละคนในครอบครัวมี
วิธีการเรียนรูที่แตกตางกัน แตสามารถแลกเปลี่ยนความคิดกันได


                                                                                                             4
100202 : Curriculum & Instruction


การเลือกประสบการณการเรียนรู

   •   ควรสอดคลองกับจุดประสงคการสอน
   •   ควรสนองความตองหรือความสนใจของผูเรียน
   •   ควรเหมาะกับวุฒิภาวะ ความสามารถของผูเรียนที่จะปฏิบัติได
   •   ควรสอดคลองกับความแตกตางระหวางบุคคล
   •   ควรมีความตอเนื่องกับประสบการณเดิมของผูเรียนที่มีอยู
   •   ควรเรียงลําดับที่เหมาะสมจากงายไปยาก




                                                                                                  5

More Related Content

What's hot

การออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานการออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานAnucha Somabut
 
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางKunwater Tianmongkon
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการProud N. Boonrak
 
รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์ (Synectics Instructional Model)
รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์ (Synectics Instructional Model)รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์ (Synectics Instructional Model)
รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์ (Synectics Instructional Model)นพพร ตนสารี
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่Kobwit Piriyawat
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนwannaphakdee
 
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอดวิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอดKiingz Phanumas
 
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนNongruk Srisukha
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรAlbert Sigum
 
บทความการสอนแบบเป็นทีม
บทความการสอนแบบเป็นทีมบทความการสอนแบบเป็นทีม
บทความการสอนแบบเป็นทีมPom Pom Insri
 
วิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณีวิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณีOrapan Jantong
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีParichart Ampon
 
ทฤษฎีการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการออกแบบการสอนทฤษฎีการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการออกแบบการสอนdeathnote04011
 
การจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอนการจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอนananphar
 
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบSunisa Khaisaeng
 

What's hot (15)

การออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานการออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 
รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์ (Synectics Instructional Model)
รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์ (Synectics Instructional Model)รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์ (Synectics Instructional Model)
รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์ (Synectics Instructional Model)
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
 
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอดวิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
 
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
 
บทความการสอนแบบเป็นทีม
บทความการสอนแบบเป็นทีมบทความการสอนแบบเป็นทีม
บทความการสอนแบบเป็นทีม
 
วิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณีวิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณี
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
ทฤษฎีการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการออกแบบการสอนทฤษฎีการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการออกแบบการสอน
 
การจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอนการจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอน
 
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
 

Viewers also liked

ตัวแปรผลการเรียนรู้เพื่อการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษา
ตัวแปรผลการเรียนรู้เพื่อการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษาตัวแปรผลการเรียนรู้เพื่อการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษา
ตัวแปรผลการเรียนรู้เพื่อการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษาNU
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้yuapawan
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555yuapawan
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1yuapawan
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)Mamoss CM
 

Viewers also liked (6)

ตัวแปรผลการเรียนรู้เพื่อการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษา
ตัวแปรผลการเรียนรู้เพื่อการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษาตัวแปรผลการเรียนรู้เพื่อการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษา
ตัวแปรผลการเรียนรู้เพื่อการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษา
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้555
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
 

Similar to การเรียนรู้

ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Pitsiri Lumphaopun
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยKorakob Noi
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2Jiramet Ponyiam
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่Vachii Ra
 
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการArpaporn Mapun
 
ฟ้า
ฟ้าฟ้า
ฟ้าfa_o
 
เบญ
เบญเบญ
เบญben_za
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยนภสร ยั่งยืน
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรthana1989
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยPitsiri Lumphaopun
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333Chirinee Deeraksa
 
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการArpaporn Mapun
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจShe's Kukkik Kanokporn
 

Similar to การเรียนรู้ (20)

Teacher1
Teacher1Teacher1
Teacher1
 
ครุผู้ช่วยช่วยTtg
ครุผู้ช่วยช่วยTtgครุผู้ช่วยช่วยTtg
ครุผู้ช่วยช่วยTtg
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
ฟ้า
ฟ้าฟ้า
ฟ้า
 
เบญ
เบญเบญ
เบญ
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตร
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
อาม
อามอาม
อาม
 
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
 
Learning by project
Learning by projectLearning by project
Learning by project
 

More from Jiraprapa Suwannajak

พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรJiraprapa Suwannajak
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมJiraprapa Suwannajak
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันJiraprapa Suwannajak
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงJiraprapa Suwannajak
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยJiraprapa Suwannajak
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงJiraprapa Suwannajak
 

More from Jiraprapa Suwannajak (20)

พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
ภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวย
 
เมทริกซ์...
เมทริกซ์...เมทริกซ์...
เมทริกซ์...
 
รากที่สอง..
รากที่สอง..รากที่สอง..
รากที่สอง..
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
เศษส่วน
เศษส่วนเศษส่วน
เศษส่วน
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึม
 
ลอการิทึม
ลอการิทึมลอการิทึม
ลอการิทึม
 
ลอการิทึม..[1]
ลอการิทึม..[1]ลอการิทึม..[1]
ลอการิทึม..[1]
 
ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
 
วงกลมวงรี
วงกลมวงรีวงกลมวงรี
วงกลมวงรี
 
กลุ่ม4
กลุ่ม4กลุ่ม4
กลุ่ม4
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
 
ปรัชญาเศร..
ปรัชญาเศร..ปรัชญาเศร..
ปรัชญาเศร..
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจ..[1]
 เศรษฐกิจ..[1] เศรษฐกิจ..[1]
เศรษฐกิจ..[1]
 
สมการตรีโกณ
สมการตรีโกณสมการตรีโกณ
สมการตรีโกณ
 

การเรียนรู้

  • 1. 100202 : Curriculum & Instruction การเรียนรู ที่มา : http://www.nectec.or.th/courseware/cai/0042.html 6/8/2005 8:51 AM การเรียนรู คือ กระบวนการที่ทําใหคนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ความคิด คนสามารถเรียนไดจากการ ไดยิน การสัมผัส การอาน การใชเทคโนโลยี การเรียนรูของเด็กและผูใหญจะตางกัน เด็กจะเรียนรูดวยการเรียน ในหอง การซักถาม ผูใหญมักเรียนรูดวยประสบการณที่มีอยู แตการเรียนรูจะเกิดขึ้นจากประสบการณที่ผูสอน นําเสนอ โดยการปฏิสัมพันธระหวางผูสอนและผูเรียน ผูสอนจะเปนผูที่สรางบรรยากาศทางจิตวิทยาที่เอื้ออํานวย ตอการเรียนรู ที่จะใหเกิดขึ้นเปนรูปแบบใดก็ไดเชน ความเปนกันเอง ความเขมงวดกวดขัน หรือความไมมี ระเบียบวินัย สิ่งเหลานี้ผูสอนจะเปนผูสรางเงื่อนไข และสถานการณเรียนรูใหกับผูเรียน ดังนั้น ผูสอนจะตอง พิจารณาเลือกรูปแบบการสอน รวมทั้งการสรางปฏิสัมพันธกับผูเรียน ลักษณะการเรียนรูของผูใหญ • ผูใหญจะใชประสบการณมาผสมผสานในการเรียน • ผูใหญจะคาดหวังในสิ่งที่เรียนที่จะเปนประโยชนในชีวิตและการทํางาน • ผูใหญจะนําประสบการณที่สะสมมาแกปญหาและประยุกต • ผูใหญจะสามารถอธิบายสิ่งตางๆไดตางกัน การเรียนรูตามทฤษฎีของ Bloom ( Bloom's Taxonomy) Bloom ไดแบงการเรียนรูเปน 6 ระดับ  • ความรูที่เกิดจากความจํา (knowledge) ซึ่งเปนระดับลางสุด • ความเขาใจ (Comprehend) • การประยุกต (Application) • การวิเคราะห ( Analysis) สามารถแกปญหา ตรวจสอบได • การสังเคราะห ( Synthesis) สามารถนําสวนตางๆ มาประกอบเปนรูปแบบใหมไดใหแตกตางจาก รูปเดิม เนนโครงสรางใหม • การประเมินคา ( Evaluation) วัดได และตัดสินไดวาอะไรถูกหรือผิด ประกอบการตัดสินใจบนพื้นฐาน ของเหตุผลและเกณฑที่แนชัด การเรียนรูตามทฤษฎีของเมเยอร ( Mayor)  ในการออกแบบสื่อการเรียนการสอน การวิเคราะหความจําเปนเปนสิ่งสําคัญ และตามดวยจุดประสงคของ การเรียน โดยแบงออกเปนยอยๆ 3 สวนดวยกัน • พฤติกรรม ควรชี้ชัดและสังเกตได • เงื่อนไข พฤติกรรมสําเร็จไดควรมีเงื่อนไขในการชวยเหลือ • มาตรฐาน พฤติกรรมที่ไดนั้นสามารถอยูในเกณฑที่กําหนด 1
  • 2. 100202 : Curriculum & Instruction การเรียนรูตามทฤษฎีของบรูเนอร (Bruner)  • ความรูถูกสรางหรือหลอหลอมโดยประสบการณ • ผูเรียนมีบทบาทรับผิดชอบในการเรียน • ผูเรียนเปนผูสรางความหมายขึ้นมาจากแงมุมตางๆ • ผูเรียนอยูในสภาพแวดลอมที่เปนจริง • ผูเรียนเลือกเนื้อหาและกิจกรรมเอง • เนื้อหาควรถูกสรางในภาพรวม การเรียนรูตามทฤษฎีของไทเลอร (Tylor)  • ความตอเนื่อง (continuity) หมายถึง ในวิชาทักษะ ตองเปดโอกาสใหมีการฝกทักษะในกิจกรรมและ ประสบการณบอยๆ และตอเนื่องกัน • การจัดชวงลําดับ (sequence) หมายถึง หรือการจัดสิ่งที่มีความงาย ไปสูสิ่งที่มีความยาก ดังนั้นการจัด กิจกรรมและประสบการณ ใหมีการเรียงลําดับกอนหลัง เพื่อใหไดเรียนเนื้อหาที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้น • บูรณาการ (integration) หมายถึง การจัดประสบการณจึงควรเปนในลักษณะที่ชวยใหผูเรียน ได เพิ่มพูนความคิดเห็นและไดแสดงพฤติกรรมที่สอดคลองกัน เนื้อหาที่เรียนเปนการเพิ่มความสามารถ ทั้งหมด ของผูเรียนที่จะไดใชประสบการณไดในสถานการณตางๆ กัน ประสบการณการเรียนรู จึงเปน แบบแผนของปฏิสัมพันธ (interaction) ระหวางผูเรียนกับสถานการณที่แวดลอม ทฤษฎีการเรียนรู 8 ขั้น ของกาเย ( Gagne ) • การจูงใจ ( Motivation Phase) การคาดหวังของผูเรียนเปนแรงจูงใจในการเรียนรู • การรับรูตามเปาหมายที่ตั้งไว (Apprehending Phase) ผูเรียนจะรับรูสิ่งที่สอดคลองกับความตั้งใจ • การปรุงแตงสิ่งที่รับรูไวเปนความจํา ( Acquisition Phase) เพื่อใหเกิดความจําระยะสั้นและระยะยาว • ความสามารถในการจํา (Retention Phase) • ความสามารถในการระลึกถึงสิ่งที่ไดเรียนรูไปแลว (Recall Phase ) • การนําไปประยุกตใชกับสิ่งที่เรียนรูไปแลว (Generalization Phase) • การแสดงออกพฤติกรรมที่เรียนรู ( Performance Phase) • การแสดงผลการเรียนรูกลับไปยังผูเรียน ( Feedback Phase) ผูเรียนไดรับทราบผลเร็วจะทําใหมีผลดี และประสิทธิภาพสูง องคประกอบที่สําคัญที่กอใหเกิดการเรียนรู จากแนวคิดนักการศึกษา กาเย ( Gagne) คือ • ผูเรียน ( Learner) มีระบบสัมผัสและ ระบบประสาทในการรับรู • สิ่งเรา ( Stimulus) คือ สถานการณตางๆ ที่เปนสิ่งเราใหผูเรียนเกิดการเรียนรู • การตอบสนอง (Response) คือ พฤติกรรมที่เกิดขึ้นจากการเรียนรู 2
  • 3. 100202 : Curriculum & Instruction การสอนดวยสื่อตามแนวคิดของกาเย (Gagne) • เราความสนใจ มีโปรแกรมที่กระตุนความสนใจของผูเรียน เชน ใช การตูน หรือ กราฟกที่ดึงดูดสายตา ความอยากรูอยากเห็นจะเปนแรงจูงใจใหผูเรียนสนใจในบทเรียน การตั้งคําถามก็เปนอีกสิ่งหนึ่ง • บอกวัตถุประสงค ผูเรียนควรทราบถึงวัตถุประสงค ใหผูเรียนสนใจในบทเรียนเพื่อใหทราบวาบทเรียน เกี่ยวกับอะไร • กระตุนความจําผูเรียน สรางความสัมพันธในการโยงขอมูลกับความรูที่มีอยูกอน เพราะสิ่งนี้สามารถทํา ใหเกิดความทรงจําในระยะยาวไดเมื่อไดโยงถึงประสบการณผูเรียน โดยการตั้งคําถาม เกี่ยวกับแนวคิด หรือเนื้อหานั้นๆ • เสนอเนื้อหา ขั้นตอนนี้จะเปนการอธิบายเนื้อหาใหกับผูเรียน โดยใชสื่อชนิดตางๆ ในรูป กราฟฟก หรือ เสียง วิดีโอ • การยกตัวอยาง การยกตัวอยางสามารถทําไดโดยยกกรณีศึกษา การเปรียบเทียบ เพื่อใหเขาใจได ซาบซึ้ง • การฝกปฎิบัติ เพื่อใหเกิดทักษะหรือพฤติกรรม เปนการวัดความเขาใจวาผูเรียนไดเรียนถูกตอง เพื่อให เกิดการอธิบายซ้ําเมื่อรับสิ่งที่ผิด • การใหคําแนะนําเพิ่มเติม เชน การทําแบบฝกหัด โดยมีคําแนะนํา • การสอบ เพื่อวัดระดับความเขาใจ • การนําไปใชกับงานที่ทํา ในการทําสื่อควรมี เนื้อหาเพิ่มเติม หรือหัวขอตางๆ ที่ควรจะรูเพิ่มเติม ทฤษฎีแหงการสรางสรรคดวยปญญา (Constructionism) ทฤษฎีแหงการสรางสรรคดวยปญญา (Constructionism ) ของ ศาสตราจารย Seymour Papert แหง Media Lab, Massachusetts Institute of Technology, สหรัฐอเมริกา ผูเรียนสามารถสรางความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับสิ่งตางๆ ในสภาพแวดลอมการดํารงชีวิตไดดวยตนเอง ดวยการนําเสนอเพื่อสรางประสบการณ คอมพิวเตอรเปนเครื่องมือ ที่สามารถนํามาใชประกอบการเรียนการสอนได ทําใหผูเรียนเรียนไดเขาใจมากยิ่งขึ้น และเปลี่ยนกรอบความคิดของครูจากเดิม ซึ่งเนนการสอนไปเปนการใหอิสระแกผูเรียน ไดรวมเรียนรูเปนอิสระใน การเรียนโดยพึ่งพาตนเอง สาระสําคัญของทฤษฎีแหงการสรางสรรดวยปญญา (Constructionism ) ผูเรียนเปนฝายสรางความรูขึ้นดวยตนเอง มิใชไดมาจากครูและในการสรางความรูนั้น ผูเรียนจะตองลง มือสรางสิ่งใดสิ่งหนึ่งขึ้นมา เชน การสรางสิ่งจําลอง การสรางสิ่งที่จับตองสัมผัสได ทําใหผูอื่นมองเห็นได จะมีผล ทําใหผูเรียนตองใชความคิด มีความกระตือรือรน มีความรับผิดชอบตอการเรียนรูของตนเอง อยางเพื่อเกิดการ สรางสรรคความคิด 3
  • 4. 100202 : Curriculum & Instruction หลักการสําคัญ • การเชื่อมโยงสิ่งที่รูแลวกับสิ่งที่กําลังเรียน • การใหโอกาสผูเรียนเปนผูริเริ่มทําโครงการที่ตนเองสนใจ การสนับสนุนอยางพอเพียงและเหมาะสม จากครูซึ่งไดรับการฝกฝนใหมีความเขาใจกระบวนการเรียนรูอยางลึกซึ้ง • เปดโอกาสใหมีการแลกเปลี่ยนความคิด นําเสนอผลการวิเคราะหกระบวนการเรียนรูของตนเอง • ใหเวลาทําโครงการอยางตอเนื่อง การแสดงความคิดและผลงานของตนเองใหคนอื่นๆ รับทราบและรวมพิจารณาใหขอเสนอแนะนั้น เปนการ สงเสริมใหเกิดการเรียนรูรวมกัน และการยอมรับในความแตกตางทางความคิด และผลงานปรากฎอยู และไดรับ การสนับสนุนใหทําอยางตอเนื่อง ดังนั้นผูเรียนแตละคนก็จะมีโอกาสพัฒนาความสามารถในผลสําเร็จของตนเอง การเรียนรูตามทฤษฎีสรางสรรดวยปญญาเริ่มใชในประเทศไทยอยางจริงจังนั้นเริ่มแตป พ.ศ. 2539 โดยมูลนิธิ ศึกษาพัฒนไดพัฒนาโครงการนํารองคือ Lighthouse Project เพื่อแสดงใหเห็นวาการจัดการศึกษาที่เปน ทางเลือกใหมสําหรับพัฒนาคนไทยใหเปนนักคิด นักสํารวจทดลอง และใชเทคโนโลยีเพื่อแสดงความคิดและ สรางสรรคสิ่งตางๆ ไดอยางคลองแคลว บุคลากรที่เกี่ยวของกับกระบวนการเรียนรู ผูเรียน ผูเรียนสามารถสรางความรู ความเขาใจสิ่งตางๆ ดวยตนเอง ดังนั้น ผูเรียนจะตองเปนฝายริเริ่มลงมือทําโครงการ ซึ่งตนเองสนใจ พรอมกับคิดและพูดอธิบายเกี่ยวกับสิ่งที่ไดกระทําไปแลวใหคนอื่นๆ รับรูและนําไปสูการ แลกเปลี่ยนความคิดซึ่งกันและกัน โดยใชเครื่องมือที่เหมาะสมในการสรางความคิด ครู ครูควรรูความตองการของผูเรียนแตละคน และใหคําแนะนําไดอยางเหมาะสม และไมนอยเกินไปจนผูเรียนหมด กําลังใจที่จะทํางานตอยอมรับในความคิดแปลกใหมของผูเรียนและรวมสํารวจ ทดลองกับผูเรียน เปดโอกาสให ผูเรียนไดทําสิ่งที่ตนเองสนใจและในระยะเวลาที่ตองการ สงเสริมใหมีการนําเสนอผลงานและแลกเปลี่ยน ความคิดกันอยางจริงจังและตอ ผูปกครอง ปจจุบันจํานวนบานเรือนที่มีคอมพิวเตอรและ Internet เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว ผูปกครองจึงมีบทบาทสําคัญในการ สรางวัฒนธรรมการเรียนรูภายในครอบครัว โดยแสดงใหเห็นวาการเรียนรูสิ่งใหมๆ เชน พยายามเรียนรูการใช คอมพิวเตอรอยูเสมอ ใหความสนใจที่จะเรียนรูรวมกับเด็กๆ หรือเรียนรูจากเด็กๆ ในครอบครัว ใชคอมพิวเตอร เปนเครื่องมือสําหรับเรียนที่กอใหเกิดคุณคาและความสุขแกตนเอง และยอมรับวาสมาชิกแตละคนในครอบครัวมี วิธีการเรียนรูที่แตกตางกัน แตสามารถแลกเปลี่ยนความคิดกันได 4
  • 5. 100202 : Curriculum & Instruction การเลือกประสบการณการเรียนรู • ควรสอดคลองกับจุดประสงคการสอน • ควรสนองความตองหรือความสนใจของผูเรียน • ควรเหมาะกับวุฒิภาวะ ความสามารถของผูเรียนที่จะปฏิบัติได • ควรสอดคลองกับความแตกตางระหวางบุคคล • ควรมีความตอเนื่องกับประสบการณเดิมของผูเรียนที่มีอยู • ควรเรียงลําดับที่เหมาะสมจากงายไปยาก 5