SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  2
Télécharger pour lire hors ligne
โดยนางสาวพิมพ์ผกา อินทะรส

                                        ดนตรีกบวิชาชี พครู
                                              ั

          1. ดนตรีกับวิชาชีพครู มีความเหมือนกันอย่างไร
               ดนตรีกับวิชาชีพครูมีความเหมือนกันอย่างยิ่งในแง่ที่เป็นอาชีพที่ต้องใช้จิตวิญญาณในการ
ปฏิบัติงาน กล่าวคือ ผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็นครู หากสอนโดยปราศจากจิตวิญญาณของความเป็นครู จะถือว่า
เป็นเพียงผู้ที่มีอาชีพครู แต่ไม่ใช่ครูมืออาชีพ หากว่าสอนด้วยจิตวิญญาณของความเป็นครูอย่างแท้จริง
ครูจะต้องฝึกฝนตนเองในด้านทักษะการสอน ตลอดจนพยายามแสวงหาความรู้ใหม่ๆ เพื่อพัฒนาการ
สอนของตนเองอยู่เสมอ รวมถึงการเอาใจใส่นักเรียนอย่างสม่่าเสมอด้วย ในท่านองเดียวกัน นักดนตรี
ที่ดีต้องอาศัยจิตวิญญาณที่จะใส่ลงไปในระหว่างที่เล่นดนตรีหรือร้องเพลง จึงจะสามารถเข้าถึงจังหวะ
และอารมณ์ของดนตรีในท่วงท่านองนั้นๆ ได้ ทั้งนี้นักดนตรีก็เช่นเดียวกับครูที่จะต้องฝึกฝนตนเองอยู่
เสมอ โดยการหมั่นฝึกซ้อมอย่างสม่่าเสมอ พร้อมกับเรียนรู้เทคนิคใหม่ๆ ในการพัฒนาทักษะทางด้าน
ดนตรีของตนเอง เพื่อสร้างทางเลือกใหม่ให้กับคนฟังให้มีทางเลือกด้านดนตรีที่หลากหลาย ซึ่งสิ่ง
เหล่านี้ล้วนเป็นการแสดงออกถึงความเอาใจใส่ต่อคนฟังด้วย
               อนึ่ง ในขณะที่ครูสอนหน้าห้อง กับ ขณะที่นักดนตรีแสดงอยู่บนเวที ก็มีลักษณะที่
คล้ายกัน โดยครูจะต้องตั้งใจสอนและดูว่านักเรียนเข้าใจที่ตนเองสอนหรือไม่ หากนักเรียนไม่เข้าใจ
ครูจะต้องหาวิธีอธิบายให้นักเรียนเข้าใจในที่สุด เช่นเดียวกับนักดนตรีที่จะต้องตั้งใจเล่นและแสดง
อย่างสุดความสามารถ และคอยดูว่าผู้ฟังสนุกกับเสียงดนตรีของตนเองหรือไม่ หากผู้ฟังไม่มีอารมณ์
ร่วมกับเสียงดนตรี นักดนตรีก็ต้องหาวิธีการที่จะท่าให้ผู้ฟังมีความรู้สนุกกับเสียงดนตรีให้ได้ในที่สุด
จึงจะกล่าวได้ว่าเป็นนักดนตรีมืออาชีพและครูมืออาชีพ

          2. ดนตรีกับวิชาชีพครู มีความต่างกันอย่างไร
               ดนตรีกับวิชาชีพครู โดยทั่วไปแล้วมีความต่างกันตรงที่ลักษณะการท่างาน ที่ครูจะท่างาน
ในโรงเรียน ห้องเรียน ในขณะที่นักดนตรีจะท่างานในสตูดิโอ เวทีคอนเสิร์ต หรืออาจกล่าวได้ว่า
เครื่องไม้เครื่องมือที่ใช้ในการท่างานก็แตกต่างกันด้วย โดยเครื่องมือที่ครูใช้ในการสอน เช่น แผนการ
จัดการเรียนรู้ สื่อการสอน เป็นต้น ในขณะที่นักดนตรีจะใช้อุปกรณ์เครื่องดนตรีเป็นหลัก เช่น กีตารื
เปียโน โน้ตเพลง เป็นต้น
               ในเรื่องของศาสตร์ที่ใช้ในการท่างาน ก็ถือว่ามีความแตกต่างระหว่างครูกับนักดนตรี ซึ่ง
ครูจะใช้ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการสอน แต่นักดนตรีจะใช้ศาสตร์ที่เกี่ยวกับดนตรี การแสดง
(performance) และความบันเทิง (entertainment) นอกจากนี้ พฤติกรรมการแสดงออกของนักดนตรีกับ
ครูนั้นค่อนข้างแตกต่างกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งนักดนตรีที่จะแตกต่างกันไปตามลักษณะแนวดนตรีนั้นๆ
เช่น ร็อค แจ๊ส ป๊อบ เป็นต้น โดยอาจแสดงออกด้วยการแต่งกายและการแสดงอารมณ์ในระหว่างที่
แสดงดนตรี เช่น นักดนตรีร็อคอาจแสดงอารมณ์ที่รุนแรงกว่านักดนตรีแจ๊ส เป็นต้น ซึ่งต่างกับครูที่

                                                                                                 1
โดยนางสาวพิมพ์ผกา อินทะรส

จะมีรูปแบบการแสดงออกที่เป็นไปแบบเรียบๆ อาจมีบ้างที่ครูบางท่านใช้เทคนิคการสอนที่หลากหลาย
เช่น การให้นักเรียนท่ากิจกรรมด้วยตนเอง การสาธิตโดยใช้สถานการณ์จ่าลอง เป็นต้น แต่ในด้านของ
การแสดงอารมณ์ยังถือว่าน้อยกว่านักดนตรี

         3. สุนทรียภาพทางดนตรีจะสอดประสานกับการจัดการเรียนการสอนอย่างไร
              ในการจัดการเรียนการสอนหากสามารถน่ากิจกรรมเข้ามาสอดแทรกในระหว่างการสอน
ได้ จะท่าให้บรรยากาศของการเรียนการสอนเป็นไปอย่างสนุกสนาน ทางหนึ่งก็โดยการน่าดนตรีหรือ
เสียงเพลงเข้ามาเป็นตัวน่าให้ครูและนักเรียนเกิดความรู้สึกอยากเรียนรู้ร่วมกันมากขึ้น เช่น การสอน
ภาษาอังกฤษ ก็อาจให้นักเรียนฟังเพลง แล้วเติมค่าในช่องว่างที่เว้นไว้ของเนื้อเพลง ซึ่งนอกจากนักเรียน
จะได้เรียนรู้ศัพท์ใหม่ๆ รูปประโยคจากเนื้อเพลงแล้ว นักเรียนยังได้สัมผัสกับความไพเราะของ
เสียงดนตรี แทนที่จะสอนโครงสร้างประโยคโดยตรง ครูสามารถหยิบประโยคในเนื้อเพลงมาขยายต่อ
ได้ เป็นต้น นอกจากนี้ ในทุกๆ วิชา ระหว่างที่ให้นักเรียนท่างานอย่างอื่น ที่ไม่ใช่ขณะที่ครูอธิบายอยู่
นั้น ครูอาจเปิดเพลงเบาๆ เป็นการกล่อมให้นักเรียนรู้สึกเพลิดเพลินและท่างานชิ้นนั้นด้วยอารมณ์
สุนทรี
               อนึ่ง ดนตรีสามารถสอดประสานเข้าไปทุกๆ ช่วงของการจัดการเรียนการสอน เพียง
แค่นักเรียนและครูมีดนตรีในหัวใจ เพราะเมื่อใดก็ตามที่ไม่ว่าจะเป็นครูหรือนักเรียนต้องการให้
เสียงดนตรีเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการสอน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยามที่เกิดความเครียดใน
ระหว่างการเรียนการสอน ก็เพียงแค่ ‘นึกถึง ’เสียงดนตรีที่ชอบหรือหยุดพักเพียงนิดแล้วฮัมเพลง ก็ท่า
ให้บรรยากาศในห้องเรียนที่เครียด ดูผ่อนคลายมากขึ้น



                      




                                                                                                  2

Contenu connexe

Tendances

รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
Panomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
Panomporn Chinchana
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
peerapong715
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
peerapong715
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
อำนาจ ศรีทิม
 
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
Panomporn Chinchana
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
Panomporn Chinchana
 
บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ
บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ
บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ
Sasithon AnnAnn
 

Tendances (17)

รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
 
ประวัติส่วนตัวส่ง อ.ฤดี
ประวัติส่วนตัวส่ง อ.ฤดีประวัติส่วนตัวส่ง อ.ฤดี
ประวัติส่วนตัวส่ง อ.ฤดี
 
แฟ้มสะสมผลงาน
แฟ้มสะสมผลงานแฟ้มสะสมผลงาน
แฟ้มสะสมผลงาน
 
Learning style 260658
Learning style 260658Learning style 260658
Learning style 260658
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
 
Poem
PoemPoem
Poem
 
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน นันทิชา
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน นันทิชาแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน นันทิชา
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน นันทิชา
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
 
Fame999
Fame999Fame999
Fame999
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
 
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
 
บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ
บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ
บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ
 
Speaking Lesson Plan by ETM
Speaking Lesson Plan by ETMSpeaking Lesson Plan by ETM
Speaking Lesson Plan by ETM
 

Similaire à ดนตรีกับวิชาชีพครู

สาระที่ 2 หน่วยที่ 7
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7  สาระที่ 2 หน่วยที่ 7
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7
khomkrit2511
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8  สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
khomkrit2511
 
การสื่ออารมณ์
การสื่ออารมณ์การสื่ออารมณ์
การสื่ออารมณ์
patnid
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
tyehh
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
Piyatida Prayoonprom
 
แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1
krumildsarakam25
 
รายงานการดำเนินงานของชมรม ฯ ปี 2553 2554
รายงานการดำเนินงานของชมรม ฯ ปี 2553   2554รายงานการดำเนินงานของชมรม ฯ ปี 2553   2554
รายงานการดำเนินงานของชมรม ฯ ปี 2553 2554
Pochchara Tiamwong
 

Similaire à ดนตรีกับวิชาชีพครู (20)

แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7  สาระที่ 2 หน่วยที่ 7
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7
 
หรรษากับเพลงภาษาไทย
หรรษากับเพลงภาษาไทยหรรษากับเพลงภาษาไทย
หรรษากับเพลงภาษาไทย
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8  สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
 
Reading lesson plan
Reading lesson planReading lesson plan
Reading lesson plan
 
แผนอ่าน ส่งครั้งที่ 5
แผนอ่าน ส่งครั้งที่ 5แผนอ่าน ส่งครั้งที่ 5
แผนอ่าน ส่งครั้งที่ 5
 
อังกฤษเพื่อการสื่อสาร
อังกฤษเพื่อการสื่อสารอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
อังกฤษเพื่อการสื่อสาร
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วงแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
 
การสื่ออารมณ์
การสื่ออารมณ์การสื่ออารมณ์
การสื่ออารมณ์
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู3
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู3บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู3
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู3
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
2 exam-plan
2 exam-plan2 exam-plan
2 exam-plan
 
แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1
 
แผนเป็นวิทยากรวิจัย
แผนเป็นวิทยากรวิจัยแผนเป็นวิทยากรวิจัย
แผนเป็นวิทยากรวิจัย
 
ปฐมวัย
ปฐมวัยปฐมวัย
ปฐมวัย
 
รายงานการดำเนินงานของชมรม ฯ ปี 2553 2554
รายงานการดำเนินงานของชมรม ฯ ปี 2553   2554รายงานการดำเนินงานของชมรม ฯ ปี 2553   2554
รายงานการดำเนินงานของชมรม ฯ ปี 2553 2554
 

Plus de Jiraprapa Suwannajak

พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
Jiraprapa Suwannajak
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึม
Jiraprapa Suwannajak
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
Jiraprapa Suwannajak
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
Jiraprapa Suwannajak
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
Jiraprapa Suwannajak
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
Jiraprapa Suwannajak
 

Plus de Jiraprapa Suwannajak (20)

พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
ภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวย
 
เมทริกซ์...
เมทริกซ์...เมทริกซ์...
เมทริกซ์...
 
รากที่สอง..
รากที่สอง..รากที่สอง..
รากที่สอง..
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
เศษส่วน
เศษส่วนเศษส่วน
เศษส่วน
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึม
 
ลอการิทึม
ลอการิทึมลอการิทึม
ลอการิทึม
 
ลอการิทึม..[1]
ลอการิทึม..[1]ลอการิทึม..[1]
ลอการิทึม..[1]
 
ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
 
วงกลมวงรี
วงกลมวงรีวงกลมวงรี
วงกลมวงรี
 
กลุ่ม4
กลุ่ม4กลุ่ม4
กลุ่ม4
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
 
ปรัชญาเศร..
ปรัชญาเศร..ปรัชญาเศร..
ปรัชญาเศร..
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจ..[1]
 เศรษฐกิจ..[1] เศรษฐกิจ..[1]
เศรษฐกิจ..[1]
 
สมการตรีโกณ
สมการตรีโกณสมการตรีโกณ
สมการตรีโกณ
 

ดนตรีกับวิชาชีพครู

  • 1. โดยนางสาวพิมพ์ผกา อินทะรส ดนตรีกบวิชาชี พครู ั 1. ดนตรีกับวิชาชีพครู มีความเหมือนกันอย่างไร ดนตรีกับวิชาชีพครูมีความเหมือนกันอย่างยิ่งในแง่ที่เป็นอาชีพที่ต้องใช้จิตวิญญาณในการ ปฏิบัติงาน กล่าวคือ ผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็นครู หากสอนโดยปราศจากจิตวิญญาณของความเป็นครู จะถือว่า เป็นเพียงผู้ที่มีอาชีพครู แต่ไม่ใช่ครูมืออาชีพ หากว่าสอนด้วยจิตวิญญาณของความเป็นครูอย่างแท้จริง ครูจะต้องฝึกฝนตนเองในด้านทักษะการสอน ตลอดจนพยายามแสวงหาความรู้ใหม่ๆ เพื่อพัฒนาการ สอนของตนเองอยู่เสมอ รวมถึงการเอาใจใส่นักเรียนอย่างสม่่าเสมอด้วย ในท่านองเดียวกัน นักดนตรี ที่ดีต้องอาศัยจิตวิญญาณที่จะใส่ลงไปในระหว่างที่เล่นดนตรีหรือร้องเพลง จึงจะสามารถเข้าถึงจังหวะ และอารมณ์ของดนตรีในท่วงท่านองนั้นๆ ได้ ทั้งนี้นักดนตรีก็เช่นเดียวกับครูที่จะต้องฝึกฝนตนเองอยู่ เสมอ โดยการหมั่นฝึกซ้อมอย่างสม่่าเสมอ พร้อมกับเรียนรู้เทคนิคใหม่ๆ ในการพัฒนาทักษะทางด้าน ดนตรีของตนเอง เพื่อสร้างทางเลือกใหม่ให้กับคนฟังให้มีทางเลือกด้านดนตรีที่หลากหลาย ซึ่งสิ่ง เหล่านี้ล้วนเป็นการแสดงออกถึงความเอาใจใส่ต่อคนฟังด้วย อนึ่ง ในขณะที่ครูสอนหน้าห้อง กับ ขณะที่นักดนตรีแสดงอยู่บนเวที ก็มีลักษณะที่ คล้ายกัน โดยครูจะต้องตั้งใจสอนและดูว่านักเรียนเข้าใจที่ตนเองสอนหรือไม่ หากนักเรียนไม่เข้าใจ ครูจะต้องหาวิธีอธิบายให้นักเรียนเข้าใจในที่สุด เช่นเดียวกับนักดนตรีที่จะต้องตั้งใจเล่นและแสดง อย่างสุดความสามารถ และคอยดูว่าผู้ฟังสนุกกับเสียงดนตรีของตนเองหรือไม่ หากผู้ฟังไม่มีอารมณ์ ร่วมกับเสียงดนตรี นักดนตรีก็ต้องหาวิธีการที่จะท่าให้ผู้ฟังมีความรู้สนุกกับเสียงดนตรีให้ได้ในที่สุด จึงจะกล่าวได้ว่าเป็นนักดนตรีมืออาชีพและครูมืออาชีพ 2. ดนตรีกับวิชาชีพครู มีความต่างกันอย่างไร ดนตรีกับวิชาชีพครู โดยทั่วไปแล้วมีความต่างกันตรงที่ลักษณะการท่างาน ที่ครูจะท่างาน ในโรงเรียน ห้องเรียน ในขณะที่นักดนตรีจะท่างานในสตูดิโอ เวทีคอนเสิร์ต หรืออาจกล่าวได้ว่า เครื่องไม้เครื่องมือที่ใช้ในการท่างานก็แตกต่างกันด้วย โดยเครื่องมือที่ครูใช้ในการสอน เช่น แผนการ จัดการเรียนรู้ สื่อการสอน เป็นต้น ในขณะที่นักดนตรีจะใช้อุปกรณ์เครื่องดนตรีเป็นหลัก เช่น กีตารื เปียโน โน้ตเพลง เป็นต้น ในเรื่องของศาสตร์ที่ใช้ในการท่างาน ก็ถือว่ามีความแตกต่างระหว่างครูกับนักดนตรี ซึ่ง ครูจะใช้ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการสอน แต่นักดนตรีจะใช้ศาสตร์ที่เกี่ยวกับดนตรี การแสดง (performance) และความบันเทิง (entertainment) นอกจากนี้ พฤติกรรมการแสดงออกของนักดนตรีกับ ครูนั้นค่อนข้างแตกต่างกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งนักดนตรีที่จะแตกต่างกันไปตามลักษณะแนวดนตรีนั้นๆ เช่น ร็อค แจ๊ส ป๊อบ เป็นต้น โดยอาจแสดงออกด้วยการแต่งกายและการแสดงอารมณ์ในระหว่างที่ แสดงดนตรี เช่น นักดนตรีร็อคอาจแสดงอารมณ์ที่รุนแรงกว่านักดนตรีแจ๊ส เป็นต้น ซึ่งต่างกับครูที่ 1
  • 2. โดยนางสาวพิมพ์ผกา อินทะรส จะมีรูปแบบการแสดงออกที่เป็นไปแบบเรียบๆ อาจมีบ้างที่ครูบางท่านใช้เทคนิคการสอนที่หลากหลาย เช่น การให้นักเรียนท่ากิจกรรมด้วยตนเอง การสาธิตโดยใช้สถานการณ์จ่าลอง เป็นต้น แต่ในด้านของ การแสดงอารมณ์ยังถือว่าน้อยกว่านักดนตรี 3. สุนทรียภาพทางดนตรีจะสอดประสานกับการจัดการเรียนการสอนอย่างไร ในการจัดการเรียนการสอนหากสามารถน่ากิจกรรมเข้ามาสอดแทรกในระหว่างการสอน ได้ จะท่าให้บรรยากาศของการเรียนการสอนเป็นไปอย่างสนุกสนาน ทางหนึ่งก็โดยการน่าดนตรีหรือ เสียงเพลงเข้ามาเป็นตัวน่าให้ครูและนักเรียนเกิดความรู้สึกอยากเรียนรู้ร่วมกันมากขึ้น เช่น การสอน ภาษาอังกฤษ ก็อาจให้นักเรียนฟังเพลง แล้วเติมค่าในช่องว่างที่เว้นไว้ของเนื้อเพลง ซึ่งนอกจากนักเรียน จะได้เรียนรู้ศัพท์ใหม่ๆ รูปประโยคจากเนื้อเพลงแล้ว นักเรียนยังได้สัมผัสกับความไพเราะของ เสียงดนตรี แทนที่จะสอนโครงสร้างประโยคโดยตรง ครูสามารถหยิบประโยคในเนื้อเพลงมาขยายต่อ ได้ เป็นต้น นอกจากนี้ ในทุกๆ วิชา ระหว่างที่ให้นักเรียนท่างานอย่างอื่น ที่ไม่ใช่ขณะที่ครูอธิบายอยู่ นั้น ครูอาจเปิดเพลงเบาๆ เป็นการกล่อมให้นักเรียนรู้สึกเพลิดเพลินและท่างานชิ้นนั้นด้วยอารมณ์ สุนทรี อนึ่ง ดนตรีสามารถสอดประสานเข้าไปทุกๆ ช่วงของการจัดการเรียนการสอน เพียง แค่นักเรียนและครูมีดนตรีในหัวใจ เพราะเมื่อใดก็ตามที่ไม่ว่าจะเป็นครูหรือนักเรียนต้องการให้ เสียงดนตรีเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการสอน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยามที่เกิดความเครียดใน ระหว่างการเรียนการสอน ก็เพียงแค่ ‘นึกถึง ’เสียงดนตรีที่ชอบหรือหยุดพักเพียงนิดแล้วฮัมเพลง ก็ท่า ให้บรรยากาศในห้องเรียนที่เครียด ดูผ่อนคลายมากขึ้น  2