SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  3
Télécharger pour lire hors ligne
เดินหมาก
        คุุ เคยสังเกตหรือเปล่าว่าเกมอะไรที่คุณพบเห็นผู้คนเล่นกันอยู่บ่อย เป็นเกมที่เล่นกัน ได้โดยไม่จากัด
          ุณ
สถานที่ คุณอาจจะเห็นนักเรียนนิสิตนักศึกษาเล่นกันในโรงเรียนหรือสถาน ศึกษาต่างๆ คนงานตามโรงงาน
เล่นกันในระหว่างหยุดพัก บางครั้งอาจจะเห็นผู้เล่นเกมนี้ตาม ริมถนนหนทางเสียด้วยซ้าไป หรือแม้แต่สมาชิก
ในครอบครัวของคุณเองก็อาจจะสนุกและ คลั่งไคล้กับเกมนี้ด้วย.......เกมอะไรเอ่ย......

          คงจะพอนึกกันออกนะครับว่าเกมอะไร ใช่ครับ ... เกมนั้นคือ "หมากฮอส" นั่นเอง เนื่องจากอุปกรณ์ที่
ใช้เล่นเกมนี้หาได้ง่ายและ เล่นกันได้สะดวก โดยอาจจะขีดตารางบนโต๊ะ ที่นั่งหรือไม่ก็ขีดตารางลงบนพื้นก็มี
ตัวหมากที่ใช้ฝาขวดน้าอัดลม ในที่บางแห่งก็จะมีโต๊ะหรือ ม้าหินที่ทาลวดลายเป็นตารางหมากฮอสไว้เลยที่
เดียวเพื่อใช้เล่นหมากฮอสในเวลานั่งพักผ่อน

          เมื่ออ่านมาถึงตรงนี้อย่าเข้าใจผิดว่าผู้เขียนกาลังจะแนะนาเกมหมากฮอสนะครับ แต่ เพราะเมื่อผู้เขียน
เห็นตารางหมากฮอสบนพื้นถนนหรือบนโต๊ะม้าหินให้นึกถึงเกมๆ หนึ่งขึ้นมา เลยอดไม่ได้ที่จะนามาเล่าสู่กัน
ฟัง เกมนี้เป็นเกมที่นิยมเล่นกันติดอันดับไม่แพ้เกมหมากฮอส เหมือนกันมาตั้งแต่โบราณทีเดียว จนแม้กระทั้งใน
ปัจจุบันนี้ก็ยังนิยมเล่นกันอยู่ ตามประวัติ กล่าวว่าเด็กเลี้ยงแกะชอบเล่นเกมนี้กันขณะนาแกะไปเลี้ยง โดยใช้ไม้
ขีดตารางบนพื้นดินและ ใช้ก้อนหินกับเมล็ดถั่วเป็นตัวหมาก ตัวอย่างหลักฐานที่แสดงว่ามีการเล่นเกมนี้กันมา
ตั้งแต่ สมัยโบราณก็คือ มีการค้นพบตารางหมากที่ใช้เล่นเกมนี้แกะสลักอยู่ที่หลังคาโบสต์ของชาว อิยิปต์ทีุ่
Kurna ที่สร้างขึ้นเมื่อประมาณุ 1,400 ปี ก่อนคริสตศักราชุแต่ถึงแม้เกมนี้จะเกมที เล่นกันมาตั้งแต่สมัย
โบราณแต่ก็เป็นเกมที่สนุกสนาน และน่าสนใจไม่น้อยที่เดียว เกมนี้มีชื่อุว่า Nine Men Moris ซึ่งผู้เขียนขอ
เรียกชื่อเป็นภาษาไทยว่าเกม "สามทหารเสือ " เกมนี้นิยม เล่นกันทั่วไปในยุโรปโดยมีชื่อเรียกต่าง ๆุกันุเช่น
ในประเทศเยอรมันแฃะออสเตรียุเรียกเกมุนี้ว่า "Marellers" ในุIceland เรียกว่าุMylla ในอังกฤษ
เรียกว่า "Mill" เป็นต้น

        กระดานหมากที่ใช้เล่นเกมสามทหารเสือเป็นตารางซึ่งประกอบด้วยสี่เหลี่ยมจัตุรัส 3 รูป ที่มีจุดยอด
ของแต่ละรูปอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน และมีเส้นตัดขวางด้านทั้งสี่ที่ทาให้ เกิดจุดตัดทั้งหมดุ24 จุดุ(ดังรูปทีุ่
1) แต่ในการเล่มเกมนี้ในปัจจุบันได้มีการดัดแปลงกระดาน หมาก โดยตัดเส้นในแนวเส้นที่เชื่อมมุมทั้งสี่ของแต่
ละรูปออก นอกจากนี้ยังมีการเปลี่ยน ลักษณะตารางและจานวนตัวหมากที่ใช้ในการเล่นตามความเหมาะสม
เกมสามทหารเสือที่จะแนะนาต่อไปนี้เป็นเกมสามทหารเสือชนิด 9 ตัวซึ่งมีลักษณะกระ ดานหมากและ
วิธีเล่นดังนี้

อุปกรณ์     1. กระกานหมากขนาดพอเหมาะเขียนเป็นตารางที่ประกอบด้วยรูป
               สี่เหลี่ยมจัตุรัส ที่ต่างขนาดกันุ2 รูปุ(ดังรูปที่ 2)และมีเส้นตัดขวาง
               ทาให้เกิดจุดต่าง ๆุ24 จุด(ขยายขนาด- ตามความเหมาะสม)

            2. ตัวหมากุใช้หมากต่างกันุ2 ชุดๆละ9 ตัว (อาจจะใช้เหรียญหรือ
               ฝาขวดน้า- อัดลมก็ได้)



กติกา     1. ใช้ผู้เล่นุ2 คน แต่ละคนเลือกสีหมากของตนและเลือกหมากตามสีที่เลือกไว้ ฝ่ายละุ9 ตัว

          2. ผู้เล่นุ2 คนผลัดกันวางหมากของตนลงบนจุดตัดทั้ง 24 จุดนั้นที่ละอันสลับ กันโดยพยายาม
             วางให้หมากของตนลงบนจุดตัดทั้ง 24 จุดนั้นที่ละอันสลับกันุโดยพยายามุวาง หมากของ
             ฝ่ายตนุ3 ตัวเรียงกันอยูในแนวส่วนของเส้นตรงเดียวกัน ถ้าวางหมากเรียงกันุ3 ตัวใน
             ลักษณะดังกล่าวไดุ้เรียกหมากนั้นว่า "สามทหารเสือ"

          3. ถ้าผู้เล่นคนใดวางหมากให้เกิด "สามทหารเสือ" ได้ ให้ผู้เล่นคนนั่นหยิบหมาก ของคู่แข่งขัน
             ออกจากกระดานไดุ้1 อันซึ่งหมากที่หยิบออกไปนี้จะนามาใช้อีกไม่ได้ แต่หมาก ที่หยิบนั้น
             จะต้องไม่ใช่หมากที่อยู่ในลักษณะของ "สามทหารเสือ"

          4. หลังจากที่หยับหมากของคู่แข่งขันออกแล้วฝ่ายที่ถูกหยิบหมากออกเป็นผู้วาง หมากต่อไป และ
             ผลัดกันวาง(และหยิบ)หมากต่อไปตามวิธีที่กล่าวในข้อ 2, และุ3

          5. ถ้าผ้เล่นคนใดวางหมากของตนลงหมดแล้ว เมื่อถึงคราวเล่นต่อไปุให้เล่นต่อไป โดยเลื่อน
             หมากของตนไปยังจุดข้างเคียงที่ว่างและเป็นจุดที่ต่อกัน เพื่อทาให้เกิดุ"สามทหาร เสือ" ดังวิธี
             ข้างต้นการเลื่อนหมากผู้เล่นอาจจะเลือนหมากของตนอันใดอันหนึงที่อยู่ในรูป "สามทหารเสือ"
             ออกไปจากแนวเส้นตรงเดิมได้ และเมื่อถึงคราวเดินอีกครั้งหนึ่งก็สามารถเลื่อน กลับเข้ามาเพื่อ
             ทาให้เกิด "สามทหารเสือ"ใหม่ได้

          6. ผู้เล่นที่สามารถยกหมากของคู่แข่งขันออกไปได้จนเหลือ 2 ตัวหรือสามารถกั้น ไม่ให้คู่ต่อสู้
             สามารถเลื่อนหมากไปได้เป็นผู้ชนะ
หมายเหตุ การเลื่อนหมากในกรณีที่มีหมากเหลือเกิน 3 ตัวุการเลื่อนหมากจะเลื่อนได้จากจุด หนึ่ง
 ไปยังจุดที่ติดกัน(ที่ว่าง)ในแนวเส้นตรงเท่านั้น แต่ถ้าผู้เล่นเหลือหมากเพียงุ3 ตัวเท่านั้น ผู้เล่นอาจจะ
 ตกลงกันว่าให้สามารถเลื่อนจากจุดที่อยู่ไปยังจุดใดก็ได้ที่อยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน

            เป็นอย่างไรบ้างครับ วิธีการเล่นเกมสามทหารเสือคงไม่ยากเกินไปนะครับ ลองเล่นดู สักหน่อย
แล้วจะรู้สึกว่าน่าสนุกไม่น้อยเลยทีเดียว ผู้ที่เล่นเกมนี้นอกจากจะได้ความสนุกสนานเพลิดเพลินแล้ว ยังจะ
ช่วยให้ได้ฝึกใช้ความ คิดใช้เหตใช้ผลุมีหลักการในการสังเกต การวางแผนและกาหนดยุทธวิธีที่จะต้อง
ใช้เมื่อประสบ กับสถานการณ์ในลักษณะต่างุๆุกัน หลังจากที่ท่านได้เล่นเกมนี้หลายครั้งแล้วลองสารวจ
ตัว ท่านเองซิว่าได้ฝึกการวางแผนและกลยุทธให้กับตัวอย่างไรและเพียงใด


                                                        ที่มาุ: พงษ์เทพุบุญศรีโรจน์, วารสารุสสวท.

Contenu connexe

En vedette

วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยJiraprapa Suwannajak
 
ข้อสอบ O net คณิต ม.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.3 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ม.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.3 ชุด 1Manas Panjai
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรJiraprapa Suwannajak
 
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1ทับทิม เจริญตา
 

En vedette (7)

สมการตรีโกณ
สมการตรีโกณสมการตรีโกณ
สมการตรีโกณ
 
ภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวย
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
 
ข้อสอบ O net คณิต ม.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.3 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ม.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.3 ชุด 1
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
ลอการิทึม
ลอการิทึมลอการิทึม
ลอการิทึม
 
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
 

Plus de Jiraprapa Suwannajak

เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมJiraprapa Suwannajak
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันJiraprapa Suwannajak
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงJiraprapa Suwannajak
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงJiraprapa Suwannajak
 
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันแบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันJiraprapa Suwannajak
 
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIct
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIctสื่อชั้นสูงและการบูรณาการIct
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIctJiraprapa Suwannajak
 
กราฟิกเพื่อการศึกษา
กราฟิกเพื่อการศึกษากราฟิกเพื่อการศึกษา
กราฟิกเพื่อการศึกษาJiraprapa Suwannajak
 
วิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน
วิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืนวิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน
วิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืนJiraprapa Suwannajak
 
ศิลปะการคำนวณ
ศิลปะการคำนวณศิลปะการคำนวณ
ศิลปะการคำนวณJiraprapa Suwannajak
 
คณิตกับดาราศาสตร์
คณิตกับดาราศาสตร์คณิตกับดาราศาสตร์
คณิตกับดาราศาสตร์Jiraprapa Suwannajak
 

Plus de Jiraprapa Suwannajak (20)

รากที่สอง..
รากที่สอง..รากที่สอง..
รากที่สอง..
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
เศษส่วน
เศษส่วนเศษส่วน
เศษส่วน
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึม
 
ลอการิทึม..[1]
ลอการิทึม..[1]ลอการิทึม..[1]
ลอการิทึม..[1]
 
ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
 
วงกลมวงรี
วงกลมวงรีวงกลมวงรี
วงกลมวงรี
 
กลุ่ม4
กลุ่ม4กลุ่ม4
กลุ่ม4
 
ปรัชญาเศร..
ปรัชญาเศร..ปรัชญาเศร..
ปรัชญาเศร..
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจ..[1]
 เศรษฐกิจ..[1] เศรษฐกิจ..[1]
เศรษฐกิจ..[1]
 
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันแบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
 
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIct
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIctสื่อชั้นสูงและการบูรณาการIct
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIct
 
กราฟิกเพื่อการศึกษา
กราฟิกเพื่อการศึกษากราฟิกเพื่อการศึกษา
กราฟิกเพื่อการศึกษา
 
วิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน
วิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืนวิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน
วิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน
 
ศิลปะการคำนวณ
ศิลปะการคำนวณศิลปะการคำนวณ
ศิลปะการคำนวณ
 
คณิตกับดาราศาสตร์
คณิตกับดาราศาสตร์คณิตกับดาราศาสตร์
คณิตกับดาราศาสตร์
 

เดินหมาก

  • 1. เดินหมาก คุุ เคยสังเกตหรือเปล่าว่าเกมอะไรที่คุณพบเห็นผู้คนเล่นกันอยู่บ่อย เป็นเกมที่เล่นกัน ได้โดยไม่จากัด ุณ สถานที่ คุณอาจจะเห็นนักเรียนนิสิตนักศึกษาเล่นกันในโรงเรียนหรือสถาน ศึกษาต่างๆ คนงานตามโรงงาน เล่นกันในระหว่างหยุดพัก บางครั้งอาจจะเห็นผู้เล่นเกมนี้ตาม ริมถนนหนทางเสียด้วยซ้าไป หรือแม้แต่สมาชิก ในครอบครัวของคุณเองก็อาจจะสนุกและ คลั่งไคล้กับเกมนี้ด้วย.......เกมอะไรเอ่ย...... คงจะพอนึกกันออกนะครับว่าเกมอะไร ใช่ครับ ... เกมนั้นคือ "หมากฮอส" นั่นเอง เนื่องจากอุปกรณ์ที่ ใช้เล่นเกมนี้หาได้ง่ายและ เล่นกันได้สะดวก โดยอาจจะขีดตารางบนโต๊ะ ที่นั่งหรือไม่ก็ขีดตารางลงบนพื้นก็มี ตัวหมากที่ใช้ฝาขวดน้าอัดลม ในที่บางแห่งก็จะมีโต๊ะหรือ ม้าหินที่ทาลวดลายเป็นตารางหมากฮอสไว้เลยที่ เดียวเพื่อใช้เล่นหมากฮอสในเวลานั่งพักผ่อน เมื่ออ่านมาถึงตรงนี้อย่าเข้าใจผิดว่าผู้เขียนกาลังจะแนะนาเกมหมากฮอสนะครับ แต่ เพราะเมื่อผู้เขียน เห็นตารางหมากฮอสบนพื้นถนนหรือบนโต๊ะม้าหินให้นึกถึงเกมๆ หนึ่งขึ้นมา เลยอดไม่ได้ที่จะนามาเล่าสู่กัน ฟัง เกมนี้เป็นเกมที่นิยมเล่นกันติดอันดับไม่แพ้เกมหมากฮอส เหมือนกันมาตั้งแต่โบราณทีเดียว จนแม้กระทั้งใน ปัจจุบันนี้ก็ยังนิยมเล่นกันอยู่ ตามประวัติ กล่าวว่าเด็กเลี้ยงแกะชอบเล่นเกมนี้กันขณะนาแกะไปเลี้ยง โดยใช้ไม้ ขีดตารางบนพื้นดินและ ใช้ก้อนหินกับเมล็ดถั่วเป็นตัวหมาก ตัวอย่างหลักฐานที่แสดงว่ามีการเล่นเกมนี้กันมา ตั้งแต่ สมัยโบราณก็คือ มีการค้นพบตารางหมากที่ใช้เล่นเกมนี้แกะสลักอยู่ที่หลังคาโบสต์ของชาว อิยิปต์ทีุ่ Kurna ที่สร้างขึ้นเมื่อประมาณุ 1,400 ปี ก่อนคริสตศักราชุแต่ถึงแม้เกมนี้จะเกมที เล่นกันมาตั้งแต่สมัย โบราณแต่ก็เป็นเกมที่สนุกสนาน และน่าสนใจไม่น้อยที่เดียว เกมนี้มีชื่อุว่า Nine Men Moris ซึ่งผู้เขียนขอ เรียกชื่อเป็นภาษาไทยว่าเกม "สามทหารเสือ " เกมนี้นิยม เล่นกันทั่วไปในยุโรปโดยมีชื่อเรียกต่าง ๆุกันุเช่น ในประเทศเยอรมันแฃะออสเตรียุเรียกเกมุนี้ว่า "Marellers" ในุIceland เรียกว่าุMylla ในอังกฤษ เรียกว่า "Mill" เป็นต้น กระดานหมากที่ใช้เล่นเกมสามทหารเสือเป็นตารางซึ่งประกอบด้วยสี่เหลี่ยมจัตุรัส 3 รูป ที่มีจุดยอด ของแต่ละรูปอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน และมีเส้นตัดขวางด้านทั้งสี่ที่ทาให้ เกิดจุดตัดทั้งหมดุ24 จุดุ(ดังรูปทีุ่ 1) แต่ในการเล่มเกมนี้ในปัจจุบันได้มีการดัดแปลงกระดาน หมาก โดยตัดเส้นในแนวเส้นที่เชื่อมมุมทั้งสี่ของแต่ ละรูปออก นอกจากนี้ยังมีการเปลี่ยน ลักษณะตารางและจานวนตัวหมากที่ใช้ในการเล่นตามความเหมาะสม
  • 2. เกมสามทหารเสือที่จะแนะนาต่อไปนี้เป็นเกมสามทหารเสือชนิด 9 ตัวซึ่งมีลักษณะกระ ดานหมากและ วิธีเล่นดังนี้ อุปกรณ์ 1. กระกานหมากขนาดพอเหมาะเขียนเป็นตารางที่ประกอบด้วยรูป สี่เหลี่ยมจัตุรัส ที่ต่างขนาดกันุ2 รูปุ(ดังรูปที่ 2)และมีเส้นตัดขวาง ทาให้เกิดจุดต่าง ๆุ24 จุด(ขยายขนาด- ตามความเหมาะสม) 2. ตัวหมากุใช้หมากต่างกันุ2 ชุดๆละ9 ตัว (อาจจะใช้เหรียญหรือ ฝาขวดน้า- อัดลมก็ได้) กติกา 1. ใช้ผู้เล่นุ2 คน แต่ละคนเลือกสีหมากของตนและเลือกหมากตามสีที่เลือกไว้ ฝ่ายละุ9 ตัว 2. ผู้เล่นุ2 คนผลัดกันวางหมากของตนลงบนจุดตัดทั้ง 24 จุดนั้นที่ละอันสลับ กันโดยพยายาม วางให้หมากของตนลงบนจุดตัดทั้ง 24 จุดนั้นที่ละอันสลับกันุโดยพยายามุวาง หมากของ ฝ่ายตนุ3 ตัวเรียงกันอยูในแนวส่วนของเส้นตรงเดียวกัน ถ้าวางหมากเรียงกันุ3 ตัวใน ลักษณะดังกล่าวไดุ้เรียกหมากนั้นว่า "สามทหารเสือ" 3. ถ้าผู้เล่นคนใดวางหมากให้เกิด "สามทหารเสือ" ได้ ให้ผู้เล่นคนนั่นหยิบหมาก ของคู่แข่งขัน ออกจากกระดานไดุ้1 อันซึ่งหมากที่หยิบออกไปนี้จะนามาใช้อีกไม่ได้ แต่หมาก ที่หยิบนั้น จะต้องไม่ใช่หมากที่อยู่ในลักษณะของ "สามทหารเสือ" 4. หลังจากที่หยับหมากของคู่แข่งขันออกแล้วฝ่ายที่ถูกหยิบหมากออกเป็นผู้วาง หมากต่อไป และ ผลัดกันวาง(และหยิบ)หมากต่อไปตามวิธีที่กล่าวในข้อ 2, และุ3 5. ถ้าผ้เล่นคนใดวางหมากของตนลงหมดแล้ว เมื่อถึงคราวเล่นต่อไปุให้เล่นต่อไป โดยเลื่อน หมากของตนไปยังจุดข้างเคียงที่ว่างและเป็นจุดที่ต่อกัน เพื่อทาให้เกิดุ"สามทหาร เสือ" ดังวิธี ข้างต้นการเลื่อนหมากผู้เล่นอาจจะเลือนหมากของตนอันใดอันหนึงที่อยู่ในรูป "สามทหารเสือ" ออกไปจากแนวเส้นตรงเดิมได้ และเมื่อถึงคราวเดินอีกครั้งหนึ่งก็สามารถเลื่อน กลับเข้ามาเพื่อ ทาให้เกิด "สามทหารเสือ"ใหม่ได้ 6. ผู้เล่นที่สามารถยกหมากของคู่แข่งขันออกไปได้จนเหลือ 2 ตัวหรือสามารถกั้น ไม่ให้คู่ต่อสู้ สามารถเลื่อนหมากไปได้เป็นผู้ชนะ
  • 3. หมายเหตุ การเลื่อนหมากในกรณีที่มีหมากเหลือเกิน 3 ตัวุการเลื่อนหมากจะเลื่อนได้จากจุด หนึ่ง ไปยังจุดที่ติดกัน(ที่ว่าง)ในแนวเส้นตรงเท่านั้น แต่ถ้าผู้เล่นเหลือหมากเพียงุ3 ตัวเท่านั้น ผู้เล่นอาจจะ ตกลงกันว่าให้สามารถเลื่อนจากจุดที่อยู่ไปยังจุดใดก็ได้ที่อยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน เป็นอย่างไรบ้างครับ วิธีการเล่นเกมสามทหารเสือคงไม่ยากเกินไปนะครับ ลองเล่นดู สักหน่อย แล้วจะรู้สึกว่าน่าสนุกไม่น้อยเลยทีเดียว ผู้ที่เล่นเกมนี้นอกจากจะได้ความสนุกสนานเพลิดเพลินแล้ว ยังจะ ช่วยให้ได้ฝึกใช้ความ คิดใช้เหตใช้ผลุมีหลักการในการสังเกต การวางแผนและกาหนดยุทธวิธีที่จะต้อง ใช้เมื่อประสบ กับสถานการณ์ในลักษณะต่างุๆุกัน หลังจากที่ท่านได้เล่นเกมนี้หลายครั้งแล้วลองสารวจ ตัว ท่านเองซิว่าได้ฝึกการวางแผนและกลยุทธให้กับตัวอย่างไรและเพียงใด ที่มาุ: พงษ์เทพุบุญศรีโรจน์, วารสารุสสวท.