SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  10
Télécharger pour lire hors ligne
ฟังก์ชันไซน์และโคไซน์
                                      วงกลมหนึ่งหน่วย (Unit circle)

      บทนิยาม วงกลมหนึ่งหน่วย หมายถึง กราฟของความสัมพันธ์
             U = {(x,y)  RR | x2+ y2 = 1}

      คือ วงกลม ที่มีจุดศูนย์กลางที่จุดกาเนิด และรัศมียาว 1 หน่วย นั่นเอง ดังรูป

                                                 Y
                                         
                                                 (0,1)
                                         2



                                                                  2
                             -1,0)       O                         (1,0) X

                                        3
                                                 (0,-1)
                                         2




             เนื่องจากวงกลมหนึ่งหน่วยมีรัศมียาว 1 หน่วย
             จากสูตร ความยาวเส้นรอบวง = 2r
                                        = 2  (1) = 2  หน่วย
                             หรือ  2(3.1416)  6.2832 หน่วย
                                             2           
ดังนั้น เสี้ยววงกลมหนึ่งหน่วยยาว  = 4 = 2 หรือประมาณ 1.5708 หน่วย
                                    2
           ครึ่งวงกลมหนึงหน่วยยาว = 2 =  หรือประมาณ 3.1416 หน่วย
                        ่
                                             3                3
    3 ใน 4 ของวงกลมหนึ่งหน่วยยาว = 4  2  = 2 หรือประมาณ 4.7124 หน่วย
การวัดความยาวส่วนโค้งของวงกลมหนึ่งหน่วย
 กาหนด   R จุด P(  ) เป็นจุดปลายส่วนโค้งที่ยาว  โดยวัดจากจุด (1,0) ไปตามส่วนโค้งของวงกลม
        ถ้า   0 หมายถึงการวัดไปในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา
        ถ้า  < 0 หมายถึงการวัดไปในทิศทางตามเข็มนาฬิกา
        ให้ความยาวส่วนโค้งวงกลมหนึ่งหน่วยยาว  หน่วย มี โคออร์ดิเนทจุดปลายส่วนโค้งเป็น (x,y)
        นั่นคือ P(  ) = (x,y)
        จากรูปวงกลมหนึ่งหน่วย จะเห็นว่า (พิจารณารูปหน้าที่ 1 ประกอบ)

                                                             3
         P(0) = (1,0) , P( 2 ) = (0,1) , P() = (-1,0) , P( 2 ) = (0,-1) , P(2) = (1,0)


                                                       3
                  P(- 2 ) = (0,-1) , P(-) = (-1,0) , P(- 2 ) = (0,1) , P(-2) = (1,0)



   ทฤษฎีบท 1 ถ้า  เป็นจานวนใดๆ แล้ว P(  ) = P( + 2n) เมื่อ n เป็นจานวนเต็ม

                                                                            
จุดปลายส่วนโค้งที่ยาว P() เมื่อ  เป็นจานวนจริงที่สาคัญที่ควรทราบ ( 3 , 4 , 6 )
                      
ตัวอย่างที่ 1 จงหา P( 4 )
                                                                                  
วิธีทา จากรูป เนื่องจาก P( 4 ) เป็นจุดกึ่งกลางส่วนโค้ง AB และส่วนโค้ง AB ยาว 2
                                                          
               B(0,1)                 ดังนั้น AP = PB = 4
                                                                                   
                                P(x,y)       ให้ P(x,y) เป็นจุดปลายส่วนโค้งที่ยาว 4
                                   เพราะฉะนั้น AP2 = PB2
                    O             A(1,0)         (x-1)2 + (y-0)2 = (x-0)2 + (y-1)2
                                                x2- 2x + 1 + y2 = x2 + y2-2y + 1
                                                                x = y
                                   แต่เนื่องจาก (x,y) เป็นจุดบนวงกลม x2+ y2 = 1
                                   x2 + x2 = 1  2x2 = 1
         1                1                     1
   x2 = 2  x =                และ y = 
                  2                              2
แต่ P(x,y) อยู่ในควอดรันต์รันที่ 1 ดังนั้น x และ y มีค่าเป็นบวก
                             1                                       1
 เพราะฉะนั้น x =                     และ y =                                        0.701
                                 2                                       2
                                1       1                                   2        2
ดังนั้น P ( 4 ) = (   , ) = ( 2 , 2 )
                    2   2



                                                                               
ตารางต่อไปนี้ สรุป จุด P( ) เมื่อ  = 6 , ,
                                          4 3

                                            P( )
                                                  3 1
                         6               (           , )
                                                 2 2
                                                  2     2
                                         (           ,               )
                         4                       2     2
                                            1               3
                                         (       ,               )
                         3                   2           2


โดยอาศัยความรู้เรื่องการสมมาตรต่อแกน X ต่อแกน Y หรือต่อจุดกาเนิด สามารถที่จะหาพิกัดของจุด P(  )
เมื่อ  เป็นความยาวส่วนโค้งที่อยู่ในควอดรันต์อื่นๆ ดังรูป


      2                            1               3
 P(        )           P( 3 ) = (        ,               )
       3                             2           2
                                                         3                                               2            2             
                                                 P( 4 )                                   P( )=(               ,            )       P( 6 )
                                                                                              4        2            2


                   O                                                             O                                              O
                                                                                                                        7            11
                                                                                                                   P( 6 )           P( 6 )
      4                     5                              5                                   7
 P(        )            P( 3 )                           P( 4 )                              P( 4 )
      3
การหาค่าของ sin (-  ) และ cos (-  ) เมื่อ  > 0
                                             Y
                                                  P( ) = (x,y)



                                            O               A(1,0) X



                                                           P(- ) = (x,-y)

   ให้ P( ) เป็นจุดปลายส่วนโค้งที่วัดจากจุด (1,0) ไปในทิศทางทวนเข็มนาฬิกายาว | | หน่วย P(- ) เป็นจุด
ปลายส่วนโค้งที่วัดจากจุด (1,0) ไปในทิศทางตามเข็มนาฬิกายาว | | หน่วย เช่นกัน P( ) และ P(- ) สมมาตรกัน
โดยมีแกน X เป็นแกนสมมาตร
   จากนิยาม sin  = y             และ sin (- ) = -y
               cos  = x              cos (- ) = x

   ดังนั้น               sin (- ) = - sin (  )
                         cos (- ) = cos (  )
                                    2                          3
ตัวอย่างที่ 2 จงหาค่าของ sin (  3 ) , cos (  6 ) , sin (  4 )
                    2              2                 3
วิธีทา       sin (  3 ) = - sin 3       =  2
                                             3
             cos (  6 ) = cos 6         = 2
                  3            3                 2
         sin (  4 ) = - sin 4           = - 2             
                                                            

การหาค่าของ sin  และ cos  เมื่อ  > 2
   การหา sin  และ cos  ให้นา 2 ไปหาร  สมมติให้ผลหารเท่ากับ n เหลือเศษ  (alpha)
   โดยที่ 0    2   = 2n +  , nI+ เมื่อ

              ดังนั้น               sin  = sin (2n + ) = sin 
                                    cos  = cos (2n + ) = cos 
32                    35 
 ตัวอย่างที่ 3 จงหาค่าของ sin 3                    , cos (  4 )
                 32                                   2              2              3
วิธีทา       sin 3           = sin ( 5  2   3 ) = sin 3                       = 2
                     35                 35                            3                 3         2
             cos (  4 ) = cos ( 4 ) = cos ( 4  2   4 ) = cos ( 4 ) =  2                               
                                                                                                           

การหาค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ของจานวนจริงตั้งแต่ 0 ถึง 2 โดยอาศัยค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ของ
                            
จานวนจริงตั้งแต่ 0 ถึง 2
                                                                
   1. เมื่อจุดปลายส่วนโค้งที่ยาว  หน่วย อยู่ในควอดรันต์ที่ 2 ( 2     )
                                Y
                      P’(x’,y’)         P(x,y)              ให้ P’(x’,y’) เป็นจุดปลายส่วนโค้งที่ยาว 
                                                                 ส่วนโค้ง AB ยาว       = 
                                                                 ส่วนโค้ง P’B ยาว      = -
                B                 O              A(1,0) X และ ส่วนโค้ง AP ยาว =  - 

                                                                                 ดังนั้น เมื่อ  ตกอยู่ใน Q2
                                                                                    sin  = sin (  -  )


                                                                                              11        11
ตัวอย่างที่ 4 กาหนดให้ sin 12  0 . 26 และ cos 12 = 0.96 จงหาค่าของ sin 12 และ cos 12
                          11
  วิธีทา เนื่องจากจุดปลาย 12 อยู่ในควอดรันต์ที่ 2
                   11                    11               
         ดังนั้น sin 12 = sin (   12 ) = sin 12 = 0.26

                   11                      11                  
               cos 12 = - cos (   12 ) = - cos 12 = - 0.96                               
                                                                                           

                                                20 
    ตัวอย่างที่ 5 จงหาค่าของ sin (  3 )
                     20           20                  2
    วิธีทา sin (  3 ) = - sin 3 = - sin [( 3  2  )  3 ]
                                    2                      2                            3
                            = - sin 3 = - sin (   3 ) = - sin 3 =  2                          
                                                                                                  
3
2. เมื่อจุดปลายส่วนโค้ง  หน่วยอยู่ในควอดรันต์ที่ 3 (     2 )
                             Y
                    M (-x,y)          P(x,y)          ให้ P(x’,y’) เป็นจุดปลายส่วนโค้งที่ยาว  หน่วย

                                                               จุด P’(x’,y’) สมมาตรกับจุด M(-x,y)
        B(-1,0)                  O            A(1,0)     X          จุด M(-x,y) สมมาตรกับจุด P(x,y)

                                                                     ดังนั้น เมื่อ  อยู่ใน Q3
             P’(x’,y’)                                            sin    sin(    )
                                                                  cos    cos(    )


  ตัวอย่างที่ 6 จงหาค่าของ cos 5 และ sin(  16  )
                                     4                     3
  วิธีทา เนื่องจาก cos 5 อยู่ใน Q 3 จะได้
                             4
                 5
            cos
                  4
                         =  cos( 5    ) =  cos  =                    2
                                                                                      
                                                                                      
                                     4                     4        2
              16 
       sin( 
                3
                    ) =  sin( 16  )         =  sin( 4   4  )
                                    3                            3
                               4                    4
                      =  sin 3              =  sin( 3   )
                                                            3
                      =  [  sin( 3 )] = sin 3       = 2            
                                                                      
                                                              3
  3. เมื่อจุดปลายส่วนโค้งที่ยาว  หน่วยอยู่ในควอดรันต์ที่ 4 ( 2    2  )

                             Y                              ให้ P(x,y) เป็นจุดปลายส่วนโค้งที่ยาว  หน่วย
                                                          จุด P(x,y) สมมาตรกับจุด P’(x’,y’)
                                         P(x,y)
                                                                      ดังนั้น เมื่อ  อยู่ใน Q4
                             O                A(1,0) X                  sin    sin( 2   )
                                                                        cos   cos( 2   )

                                          P’(x’,y’) = (x,-y)
11                      5            47 
  ตัวอย่างที่ 7 จงหาค่าของ sin 6 , cos 3 , sin 4
                        11     5      47 
วิธีทา เนื่องจาก sin 6 , cos 3 , sin 4 อยู่ใน Q4 จะได้
             11                                 11                                              1
           sin
                6
                     =  sin( 2   6 ) =  sin 6 =  2 ***
            5                    5               1
        cos
              3
                    = cos( 2   3 ) = cos 3 = 2 ***
           47                              7                           7                                    7                  2
       sin
            4
                    =     sin( 10                     )   = sin 4                   =  sin( 2   4 ) =  sin 4 =  2 ***
                                                4


ฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่นๆ

                               sin 
            1. tan  =                                  เมื่อ cos   0
                               cos 
                               cos 
            2. cot  =                                  เมื่อ sin   0
                               sin 

            3. sec  =                                  เมื่อ cos   0
                                 1
                               cos 

            4. cosec  =                            เมื่อ sin   0
                                1
                               sin 




                        tan  =                             เมื่อ cot   0
                                            1
หมายเหตุ
                                       cot 

                        cot  =                             เมื่อ tan   0
                                         1
                                       tan 


ตัวอย่างที่ 8 จงหาค่าของ tan  , cot  , sec  , cosec  เมื่อกาหนด  ดังนี้
                                                                                                     
        1.  =                         2.  =                                     3.  =
                    6                                        4                                         3
                                           1                                                 3
วิธีทา 1. เนื่องจาก sin                =                    และ cos                    =
                               6            2                                     6            2
                                                                    1
                                           sin
                          
                                                                                                                                   
                                                                                                                                   
                                                                                       1           2           1              3
        ดังนั้น     tan            =             
                                                    6
                                                            =        2
                                                                              =        2
                                                                                                          =           หรือ
                           6                                         3                                 3        3             3
                                           cos
                                                    6                2
                          
                                                                                                                              
                                                                                                                               
                                            1                        1                             3
                    cot            =             
                                                            =        1
                                                                              =       1                   =       3
                           6                                                                   1
                                       tan
                                                 6                   3

                                                                                       
                                                                                        
                              1                   1                    2           2
  sec               =             
                                          =               =    1              =
            6                                     3                    3           3
                          cos
                                  6               2
        
                                                                                       
                                                                                        
                          1                   1                    2
cosec           =             
                                      =       1
                                                      =       1           =   2
        6                                                          1
                        sin
                              6               2
กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
1. กราฟของฟังก์ชันไซน์
        จากความสัมพันธ์ sine = {(x,y)RR |y = sin x}
โดยที่ โดเมนของ sin = R
       เรนจ์ของ sin = [-1,1] มีกราฟดังรูป

                                                      Y
                                                     1

                                                                                             X
                3                                                3
       -2                   -                      O    2
                                                                      2
                                                                               2
                  2                 2
                                                     -1

2. กราฟของฟังก์ชันโคไซน์
        จากความสัมพันธ์ cos = {(x,y)RR |y = cos x}
โดยที่ โดเมนของ cos = R
       เรนจ์ของ cos = [-1,1] มีกราฟดังรูป
                                      Y

                                                 1
                                                                                         X
                                                         
         - 2         - 3   -         -             O       
                                                                        3
                                                                                    2
                        2                   2             2             2



                                                -1

ฟังก์ชันทีเ่ ป็ นคาบ หมายถึง ฟังก์ชันที่สามารถแบ่งแกน X ออกเป็นช่วงย่อยๆ โดยที่ความยาวแต่ละช่วงเท่ากัน
         และกราฟของฟังก์ชันในแต่ละช่วงย่อยมีลักษณะเหมือนกัน ความยาวของช่วงย่อยที่สั้นที่สุด ซึ่งมีลักษณะ
        ดังกล่าว เรียกว่า คาบ ของฟังก์ชัน

       ดังนั้น ฟังก์ชัน      y = sin x และ y = cos x เป็ นฟังก์ชันทีเ่ ป็ นคาบและมีคาบเท่ากับ 2 
ฟังก์ชันที่เป็นคาบซี่งมีค่าสูงสุด และค่าต่่าสุด จะเป็นฟังก์ที่มีแอมพลิจูด ซึ่งมีค่าเท่ากับครึ่งหนึ่งของผลต่าง
 ระหว่างค่าสูงสุด และค่าต่่าสุดของฟังก์ชัน นั่นคือ

                                 1
             แอมพลิจูด = 2 (ค่ าสู งสุ ดของฟังก์ ชัน - ค่ าต่าสุ ดของฟังก์ ชัน)

        ดังนั้น ฟังก์ชั่น y = sin x และ y = cos x มีแอมพลิจูดเป็ น 1 เท่ากัน

3. กราฟของฟังก์ชันแทนเจนต์
                                                         sin x
        จาก tangent = {(x,y) RR | y = tan x = cos x , cos x  0 }
        โดเมนของ tangent = {xR | cosx  0}
                     = R - {xR | cosx = 0}
                                                 
                        = R - {x R | x = n 2 เมื่อ n เป็นจ่านวนเต็มคี่ }
       เรนจ์ของ tangent = R มีกราฟดังรูป
                                                     Y




                           3                                         
                 2                                            O                          3      2     X
                           2                         2                   2                    2

Contenu connexe

Tendances

สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
kroojaja
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
krusarawut
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
Akkradet Keawyoo
 
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาคณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
พัน พัน
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรม
krookay2012
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
Ritthinarongron School
 

Tendances (20)

จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดจำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการ
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่
 
Esterification
Esterification Esterification
Esterification
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาคณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยเอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรม
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 

Similaire à วงกลมหนึ่งหน่วย

Similaire à วงกลมหนึ่งหน่วย (20)

Conic section2555
Conic section2555Conic section2555
Conic section2555
 
Pat 1
Pat 1Pat 1
Pat 1
 
คณิต มข
คณิต มขคณิต มข
คณิต มข
 
Calculus
CalculusCalculus
Calculus
 
ภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวย
 
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
 
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
 
Analytic geometry1
Analytic geometry1Analytic geometry1
Analytic geometry1
 
เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)
 
trigo1.pdf
trigo1.pdftrigo1.pdf
trigo1.pdf
 
Ch3 high order_od_es
Ch3 high order_od_esCh3 high order_od_es
Ch3 high order_od_es
 
ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ฟังก์ชันตรีโกณมิติฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Math
MathMath
Math
 
Eng
EngEng
Eng
 
Eng
EngEng
Eng
 
Eng
EngEng
Eng
 
Eng
EngEng
Eng
 
วงกลมวงรี
วงกลมวงรีวงกลมวงรี
วงกลมวงรี
 
Geomety
GeometyGeomety
Geomety
 
Applied tri
Applied triApplied tri
Applied tri
 

Plus de Jiraprapa Suwannajak

พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
Jiraprapa Suwannajak
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึม
Jiraprapa Suwannajak
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
Jiraprapa Suwannajak
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
Jiraprapa Suwannajak
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
Jiraprapa Suwannajak
 
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันแบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
Jiraprapa Suwannajak
 
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIct
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIctสื่อชั้นสูงและการบูรณาการIct
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIct
Jiraprapa Suwannajak
 
กราฟิกเพื่อการศึกษา
กราฟิกเพื่อการศึกษากราฟิกเพื่อการศึกษา
กราฟิกเพื่อการศึกษา
Jiraprapa Suwannajak
 

Plus de Jiraprapa Suwannajak (20)

พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
เมทริกซ์...
เมทริกซ์...เมทริกซ์...
เมทริกซ์...
 
รากที่สอง..
รากที่สอง..รากที่สอง..
รากที่สอง..
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
เศษส่วน
เศษส่วนเศษส่วน
เศษส่วน
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึม
 
ลอการิทึม
ลอการิทึมลอการิทึม
ลอการิทึม
 
ลอการิทึม..[1]
ลอการิทึม..[1]ลอการิทึม..[1]
ลอการิทึม..[1]
 
ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
 
กลุ่ม4
กลุ่ม4กลุ่ม4
กลุ่ม4
 
ปรัชญาเศร..
ปรัชญาเศร..ปรัชญาเศร..
ปรัชญาเศร..
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจ..[1]
 เศรษฐกิจ..[1] เศรษฐกิจ..[1]
เศรษฐกิจ..[1]
 
สมการตรีโกณ
สมการตรีโกณสมการตรีโกณ
สมการตรีโกณ
 
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันแบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
 
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIct
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIctสื่อชั้นสูงและการบูรณาการIct
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIct
 
กราฟิกเพื่อการศึกษา
กราฟิกเพื่อการศึกษากราฟิกเพื่อการศึกษา
กราฟิกเพื่อการศึกษา
 

วงกลมหนึ่งหน่วย

  • 1. ฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ วงกลมหนึ่งหน่วย (Unit circle) บทนิยาม วงกลมหนึ่งหน่วย หมายถึง กราฟของความสัมพันธ์ U = {(x,y)  RR | x2+ y2 = 1} คือ วงกลม ที่มีจุดศูนย์กลางที่จุดกาเนิด และรัศมียาว 1 หน่วย นั่นเอง ดังรูป Y  (0,1) 2  2 -1,0) O (1,0) X 3 (0,-1) 2 เนื่องจากวงกลมหนึ่งหน่วยมีรัศมียาว 1 หน่วย จากสูตร ความยาวเส้นรอบวง = 2r = 2  (1) = 2  หน่วย หรือ  2(3.1416)  6.2832 หน่วย 2  ดังนั้น เสี้ยววงกลมหนึ่งหน่วยยาว = 4 = 2 หรือประมาณ 1.5708 หน่วย 2 ครึ่งวงกลมหนึงหน่วยยาว = 2 =  หรือประมาณ 3.1416 หน่วย ่ 3 3 3 ใน 4 ของวงกลมหนึ่งหน่วยยาว = 4  2  = 2 หรือประมาณ 4.7124 หน่วย
  • 2. การวัดความยาวส่วนโค้งของวงกลมหนึ่งหน่วย กาหนด   R จุด P(  ) เป็นจุดปลายส่วนโค้งที่ยาว  โดยวัดจากจุด (1,0) ไปตามส่วนโค้งของวงกลม ถ้า   0 หมายถึงการวัดไปในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา ถ้า  < 0 หมายถึงการวัดไปในทิศทางตามเข็มนาฬิกา ให้ความยาวส่วนโค้งวงกลมหนึ่งหน่วยยาว  หน่วย มี โคออร์ดิเนทจุดปลายส่วนโค้งเป็น (x,y) นั่นคือ P(  ) = (x,y) จากรูปวงกลมหนึ่งหน่วย จะเห็นว่า (พิจารณารูปหน้าที่ 1 ประกอบ)  3 P(0) = (1,0) , P( 2 ) = (0,1) , P() = (-1,0) , P( 2 ) = (0,-1) , P(2) = (1,0)  3 P(- 2 ) = (0,-1) , P(-) = (-1,0) , P(- 2 ) = (0,1) , P(-2) = (1,0) ทฤษฎีบท 1 ถ้า  เป็นจานวนใดๆ แล้ว P(  ) = P( + 2n) เมื่อ n เป็นจานวนเต็ม    จุดปลายส่วนโค้งที่ยาว P() เมื่อ  เป็นจานวนจริงที่สาคัญที่ควรทราบ ( 3 , 4 , 6 )  ตัวอย่างที่ 1 จงหา P( 4 )   วิธีทา จากรูป เนื่องจาก P( 4 ) เป็นจุดกึ่งกลางส่วนโค้ง AB และส่วนโค้ง AB ยาว 2  B(0,1) ดังนั้น AP = PB = 4   P(x,y) ให้ P(x,y) เป็นจุดปลายส่วนโค้งที่ยาว 4 เพราะฉะนั้น AP2 = PB2 O A(1,0) (x-1)2 + (y-0)2 = (x-0)2 + (y-1)2 x2- 2x + 1 + y2 = x2 + y2-2y + 1 x = y แต่เนื่องจาก (x,y) เป็นจุดบนวงกลม x2+ y2 = 1 x2 + x2 = 1  2x2 = 1 1 1 1 x2 = 2  x =  และ y =  2 2
  • 3. แต่ P(x,y) อยู่ในควอดรันต์รันที่ 1 ดังนั้น x และ y มีค่าเป็นบวก 1 1 เพราะฉะนั้น x = และ y =  0.701 2 2  1 1 2 2 ดังนั้น P ( 4 ) = ( , ) = ( 2 , 2 ) 2 2    ตารางต่อไปนี้ สรุป จุด P( ) เมื่อ  = 6 , , 4 3  P( )  3 1 6 ( , ) 2 2  2 2 ( , ) 4 2 2  1 3 ( , ) 3 2 2 โดยอาศัยความรู้เรื่องการสมมาตรต่อแกน X ต่อแกน Y หรือต่อจุดกาเนิด สามารถที่จะหาพิกัดของจุด P(  ) เมื่อ  เป็นความยาวส่วนโค้งที่อยู่ในควอดรันต์อื่นๆ ดังรูป 2  1 3 P( ) P( 3 ) = ( , ) 3 2 2 3  2 2  P( 4 ) P( )=( , ) P( 6 ) 4 2 2 O O O 7 11 P( 6 ) P( 6 ) 4 5 5 7 P( ) P( 3 ) P( 4 ) P( 4 ) 3
  • 4. การหาค่าของ sin (-  ) และ cos (-  ) เมื่อ  > 0 Y P( ) = (x,y) O A(1,0) X P(- ) = (x,-y) ให้ P( ) เป็นจุดปลายส่วนโค้งที่วัดจากจุด (1,0) ไปในทิศทางทวนเข็มนาฬิกายาว | | หน่วย P(- ) เป็นจุด ปลายส่วนโค้งที่วัดจากจุด (1,0) ไปในทิศทางตามเข็มนาฬิกายาว | | หน่วย เช่นกัน P( ) และ P(- ) สมมาตรกัน โดยมีแกน X เป็นแกนสมมาตร จากนิยาม sin  = y และ sin (- ) = -y cos  = x cos (- ) = x ดังนั้น sin (- ) = - sin (  ) cos (- ) = cos (  ) 2  3 ตัวอย่างที่ 2 จงหาค่าของ sin (  3 ) , cos (  6 ) , sin (  4 ) 2 2 3 วิธีทา sin (  3 ) = - sin 3 =  2   3 cos (  6 ) = cos 6 = 2 3 3 2 sin (  4 ) = - sin 4 = - 2   การหาค่าของ sin  และ cos  เมื่อ  > 2 การหา sin  และ cos  ให้นา 2 ไปหาร  สมมติให้ผลหารเท่ากับ n เหลือเศษ  (alpha) โดยที่ 0    2   = 2n +  , nI+ เมื่อ ดังนั้น sin  = sin (2n + ) = sin  cos  = cos (2n + ) = cos 
  • 5. 32  35  ตัวอย่างที่ 3 จงหาค่าของ sin 3 , cos (  4 ) 32  2 2 3 วิธีทา sin 3 = sin ( 5  2   3 ) = sin 3 = 2 35  35  3 3 2 cos (  4 ) = cos ( 4 ) = cos ( 4  2   4 ) = cos ( 4 ) =  2   การหาค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ของจานวนจริงตั้งแต่ 0 ถึง 2 โดยอาศัยค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ของ  จานวนจริงตั้งแต่ 0 ถึง 2  1. เมื่อจุดปลายส่วนโค้งที่ยาว  หน่วย อยู่ในควอดรันต์ที่ 2 ( 2     ) Y P’(x’,y’) P(x,y) ให้ P’(x’,y’) เป็นจุดปลายส่วนโค้งที่ยาว  ส่วนโค้ง AB ยาว =  ส่วนโค้ง P’B ยาว = - B O A(1,0) X และ ส่วนโค้ง AP ยาว =  -  ดังนั้น เมื่อ  ตกอยู่ใน Q2 sin  = sin (  -  )   11 11 ตัวอย่างที่ 4 กาหนดให้ sin 12  0 . 26 และ cos 12 = 0.96 จงหาค่าของ sin 12 และ cos 12 11 วิธีทา เนื่องจากจุดปลาย 12 อยู่ในควอดรันต์ที่ 2 11 11  ดังนั้น sin 12 = sin (   12 ) = sin 12 = 0.26 11 11  cos 12 = - cos (   12 ) = - cos 12 = - 0.96   20  ตัวอย่างที่ 5 จงหาค่าของ sin (  3 ) 20  20  2 วิธีทา sin (  3 ) = - sin 3 = - sin [( 3  2  )  3 ] 2 2  3 = - sin 3 = - sin (   3 ) = - sin 3 =  2  
  • 6. 3 2. เมื่อจุดปลายส่วนโค้ง  หน่วยอยู่ในควอดรันต์ที่ 3 (     2 ) Y M (-x,y) P(x,y) ให้ P(x’,y’) เป็นจุดปลายส่วนโค้งที่ยาว  หน่วย จุด P’(x’,y’) สมมาตรกับจุด M(-x,y) B(-1,0) O A(1,0) X จุด M(-x,y) สมมาตรกับจุด P(x,y) ดังนั้น เมื่อ  อยู่ใน Q3 P’(x’,y’) sin    sin(    ) cos    cos(    ) ตัวอย่างที่ 6 จงหาค่าของ cos 5 และ sin(  16  ) 4 3 วิธีทา เนื่องจาก cos 5 อยู่ใน Q 3 จะได้ 4 5 cos 4 =  cos( 5    ) =  cos  =  2   4 4 2 16  sin(  3 ) =  sin( 16  ) =  sin( 4   4  ) 3 3 4 4 =  sin 3 =  sin( 3   )   3 =  [  sin( 3 )] = sin 3 = 2   3 3. เมื่อจุดปลายส่วนโค้งที่ยาว  หน่วยอยู่ในควอดรันต์ที่ 4 ( 2    2  ) Y ให้ P(x,y) เป็นจุดปลายส่วนโค้งที่ยาว  หน่วย จุด P(x,y) สมมาตรกับจุด P’(x’,y’) P(x,y) ดังนั้น เมื่อ  อยู่ใน Q4 O A(1,0) X sin    sin( 2   ) cos   cos( 2   ) P’(x’,y’) = (x,-y)
  • 7. 11 5 47  ตัวอย่างที่ 7 จงหาค่าของ sin 6 , cos 3 , sin 4 11 5 47  วิธีทา เนื่องจาก sin 6 , cos 3 , sin 4 อยู่ใน Q4 จะได้ 11 11  1 sin 6 =  sin( 2   6 ) =  sin 6 =  2 *** 5 5  1 cos 3 = cos( 2   3 ) = cos 3 = 2 *** 47  7 7 7  2 sin 4 = sin( 10   ) = sin 4 =  sin( 2   4 ) =  sin 4 =  2 *** 4 ฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่นๆ sin  1. tan  = เมื่อ cos   0 cos  cos  2. cot  = เมื่อ sin   0 sin  3. sec  = เมื่อ cos   0 1 cos  4. cosec  = เมื่อ sin   0 1 sin  tan  = เมื่อ cot   0 1 หมายเหตุ cot  cot  = เมื่อ tan   0 1 tan  ตัวอย่างที่ 8 จงหาค่าของ tan  , cot  , sec  , cosec  เมื่อกาหนด  ดังนี้    1.  = 2.  = 3.  = 6 4 3  1  3 วิธีทา 1. เนื่องจาก sin = และ cos = 6 2 6 2  1 sin    1 2 1 3 ดังนั้น tan =  6 = 2 = 2  = หรือ 6 3 3 3 3 cos 6 2    1 1 3 cot =  = 1 = 1 = 3 6 1 tan 6 3
  • 8.   1 1 2 2 sec =  = = 1 = 6 3 3 3 cos 6 2    1 1 2 cosec =  = 1 = 1 = 2 6 1 sin 6 2
  • 9. กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ 1. กราฟของฟังก์ชันไซน์ จากความสัมพันธ์ sine = {(x,y)RR |y = sin x} โดยที่ โดเมนของ sin = R เรนจ์ของ sin = [-1,1] มีกราฟดังรูป Y 1 X 3   3 -2 - O 2  2 2 2 2 -1 2. กราฟของฟังก์ชันโคไซน์ จากความสัมพันธ์ cos = {(x,y)RR |y = cos x} โดยที่ โดเมนของ cos = R เรนจ์ของ cos = [-1,1] มีกราฟดังรูป Y 1 X   - 2 - 3 - - O  3 2 2 2 2 2 -1 ฟังก์ชันทีเ่ ป็ นคาบ หมายถึง ฟังก์ชันที่สามารถแบ่งแกน X ออกเป็นช่วงย่อยๆ โดยที่ความยาวแต่ละช่วงเท่ากัน และกราฟของฟังก์ชันในแต่ละช่วงย่อยมีลักษณะเหมือนกัน ความยาวของช่วงย่อยที่สั้นที่สุด ซึ่งมีลักษณะ ดังกล่าว เรียกว่า คาบ ของฟังก์ชัน ดังนั้น ฟังก์ชัน y = sin x และ y = cos x เป็ นฟังก์ชันทีเ่ ป็ นคาบและมีคาบเท่ากับ 2 
  • 10. ฟังก์ชันที่เป็นคาบซี่งมีค่าสูงสุด และค่าต่่าสุด จะเป็นฟังก์ที่มีแอมพลิจูด ซึ่งมีค่าเท่ากับครึ่งหนึ่งของผลต่าง ระหว่างค่าสูงสุด และค่าต่่าสุดของฟังก์ชัน นั่นคือ 1 แอมพลิจูด = 2 (ค่ าสู งสุ ดของฟังก์ ชัน - ค่ าต่าสุ ดของฟังก์ ชัน) ดังนั้น ฟังก์ชั่น y = sin x และ y = cos x มีแอมพลิจูดเป็ น 1 เท่ากัน 3. กราฟของฟังก์ชันแทนเจนต์ sin x จาก tangent = {(x,y) RR | y = tan x = cos x , cos x  0 } โดเมนของ tangent = {xR | cosx  0} = R - {xR | cosx = 0}  = R - {x R | x = n 2 เมื่อ n เป็นจ่านวนเต็มคี่ } เรนจ์ของ tangent = R มีกราฟดังรูป Y  3   2   O  3 2 X 2 2 2 2