SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  33
Télécharger pour lire hors ligne
เมทริกซ์


        ในคณิตศาสตร์ เมทริกซ์ หรือ เมตริกซ์ (อังกฤษ: matrix) คือตารางสี่เหลี่ยมที่แต่ละช่องบรรจุ
จานวนหรือโครงสร้างทางคณิตศาสตร์ที่สามารถนามาบวกและคูณกับตัวเลขได้
เราสามารถใช้เมทริกซ์แทนระบบสมการเชิงเส้น การแปลงเชิงเส้น และใช้เก็บข้อมูลที่ขึ้นกับตัวแปรต้นสอง
ตัว เราสามารถบวก คูณ และแยกเมทริกซ์ออกเป็นผลคูณของเมทริกซ์ได้หลายรูปแบบ เมทริกซ์เป็น
แนวความคิดที่มีความสาคัญยิ่งของพีชคณิตเชิงเส้น โดยทฤษฎีเมทริกซ์เป็นสาขาหนึ่งของพีชคณิตเชิงเส้นที่
เน้นการศึกษาเมทริกซ์
ในบทความนี้ แต่ละช่องของเมทริกซ์จะบรรจุจานวนจริงหรือจานวนเชิงซ้อน หากไม่ได้ระบุเป็นอย่างอื่น


นิยาม

เมทริกซ์ คือกลุ่มของจานวนหรือสมาชิกของริงใดๆ เขียนเรียงกันเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าหรือจัตุรัส กล่าวคือ
เรียงเป็นแถวในแนวนอน และเรียงเป็นแถวในแนวตั้ง เรามักเขียนเมทริกซ์เป็นตารางที่ไม่มีเส้นแบ่งและ
เขียนวงเล็บคร่อมตารางไว้ (ไม่ว่าจะเป็นวงเล็บโค้งหรือวงเล็บเหลี่ยม) เช่น




       เราเรียกแถวในแนวนอนของเมทริกซ์ว่า แถว เรียกแถวในแนวตั้งของเมทริกซ์ว่า หลัก และเรียก
จานวนแต่ละจานวนเในเมทริกซ์ว่า สมาชิก ของเมทริกซ์ การกล่าวถึงสมาชิกของเมทริกซ์ จะต้องระบุ
ตาแหน่งให้ถูกต้อง เช่น จากตัวอย่างข้างบน
        สมาชิกที่อยู่ในแถวที่ 2 หลักที่ 3 คือเลข 4
        สมาชิกที่อยู่ในแถวที่ 2 หลักที่ 2 คือเลข 1
        สมาชิกที่อยู่ในแถวที่ 3 หลักที่ 1 คือเลข 5
    เราเรียกเมทริกซ์ที่มี m แถว และ n หลัก เรียกว่า เมทริกซ์              เราเรียก
จานวน m และ n ว่า มิติ หรือ ขนาด ของเมทริกซ์
          เราใช้สัญญลักษณ์                         เพื่อหมายถึง เมทริกซ์ A ซึ่งมี m แถว และ n หลัก โดย
ที่ ai,j (หรือ aij) หมายถึง สมาชิกที่อยู่ในตาแหน่ง แถว i และ หลัก j ของเมทริกซ์
การกระทาระหว่างเมทริกซ์

การบวก
ดูบทความหลักที่ การบวกเมทริกซ์
ให้                  และ                      เป็นเมทริกซ์ที่มีขนาดเท่ากันสองเมทริกซ์ เราสามารถ
นิยาม ผลรวม หรือ ผลบวก A + B ว่าเป็นเมทริกซ์ขนาด           ที่คานวณโดยการบวกสมาชิกที่มี
ตาแหน่งตรงกัน กล่าวคือ หาก                                              แล้ว ci,j = ai,j + bi,j ยกตัวอย่างเช่น




การบวกเมทริกซ์อีกแบบหนึ่งที่เป็นที่นิยมน้อยกว่าคือการบวกตรง


การคูณด้วยสเกลาร์
กาหนดเมทริกซ์                   และจานวน c เราสามารถนิยาม ผลคูณสเกลาร์ cA ว่าเป็นเมทริกซ์
ขนาด          ที่คานวณโดยการนา c ไปคูณสมาชิกแต่ละตัวของ A กล่าวคือ
หาก                                  แล้ว bi,j = cai,j ยกตัวอย่างเช่น




จะเห็นว่า ปฏิบัติการทั้งสองข้างต้น (การบวกและการคูณด้วยสเกลาร์) ช่วยให้เราสามารถมองเมทริกซ์
ขนาด             ว่าเป็นเวกเตอร์ที่มีมิติ mn ด้วยเหตุนี้ เซตของเมทริกซ์ที่มีขนาดเท่ากับจึงเป็นปริภูมิเวกเตอร์
ชนิดหนึ่ง
การคูณ
ถ้า                  และ                  เป็นเมทริกซ์สองเมทริกซ์โดยที่จานวนหลัก
ของ A เท่ากับจานวนแถวของ B แล้ว เราสามารถนิยาม ผลคูณ AB ว่าเป็นเมท
ริกซ์                        โดยที่



กล่าวคือสมาชิกในแถว i หลัก j ของผลคูณ AB คานวณได้จากการนาสมาชิกของหลัก i ของ A และสมาชิก
ของคอลัมน์ B ในตาแหน่ง "เดียวกัน" มาคูณกัน แล้วนาผลคูณทั้ง n ผลคูณนั้นมาบวกกัน
ปฏิบัติการนี้อาจทาให้เข้าใจได้ง่ายขึ้นถ้ามองเมทริกซ์เป็นเวกเตอร์ของเวกเตอร์ โดยถ้าเรา
ให้                                      เป็นเวกเตอร์ที่มีสมาชิกเป็นสมาชิกในแถว i ของ A และ
ให้                                     เป็นเวกเตอร์ที่มีสมาชิกเป็นสมาชิกในหลัก j ของ B แล้ว เราจะได้
ว่า                  เมื่อ            คือผลคูณจุดของ ai และ bj เช่น



ให้                                                และ

แล้ว                                         และ



การคูณเมทริกซ์มีสมบัติต่อไปนี้

        สมบัติการเปลี่ยนหมู่: (AB)C = A(BC) สาหรับเมทริกซ์ A ขนาด              , B ขนาด           ,
และ C ขนาด             ใดๆ ("สมบัติการเปลี่ยนหมู่")
        สมบัติการแจกแจงทางขวา: (A + B)C = AC + BC สาหรับเมท
ริกซ์ A และ B ขนาด              และ C ขนาด          ใดๆ
        สมบัติการแจกแจงทางซ้าย: C(A + B) = CA + CB สาหรับเมท
ริกซ์ A และ B ขนาด              และ C ขนาด           ใดๆ
คาเตือน: การคูณเมทริกซ์นั้นไม่เหมือนกับการคูณจานวนโดยทั่วไป เนื่องจากมันไม่มีสมบัติสลับที่ กล่าวคือ
สาหรับเมทริกซ์ A ขนาด             และ Bขนาด        ใดๆ
    ถ้า           แล้ว ผลคูณ BA ไม่มีนิยาม
    แม้ m = p แต่ถ้า          แล้ว AB เป็นเมทริกซ์ขนาด            ส่วน BA เป็นเมทริกซ์
ขนาด        ผลคูณทั้งสองจึงมีค่าไม่เท่ากันอย่างเห็นได้ชัด
    แม้ m = n = p แต่ส่วนมากแล้ว AB มักจะมีค่าไม่เท่ากับ BA ยกตัวอย่างเช่น



เรากล่าวว่าเมทริกซ์ A แอนติคอมมิวต์ (anticommute) กับเมทริกซ์ B ถ้า AB = − BA เมทริกซ์ที่แอนติคอม
มิวต์ซึ่งกันและกันมีความสาคัญมากในการเป็นตัวแทนของพีชคณิตลีและพีชคณิตคลิฟฟอร์ด
ข้อสังเกตุ i = แถว หรือ row และ j = แถวตั้ง หรือ column


การสลับเปลี่ยน
ดูบทความหลักที่ เมทริกซ์สลับเปลี่ยน
เมทริกซ์สลับเปลี่ยนคือเมทริกซ์ที่ได้จากการสลับสมาชิก จากแถวเป็นหลัก และจากหลักเป็นแถว ของเมท
ริกซ์ต้นแบบ เมทริกซ์สลับเปลี่ยนของของเมทริกซ์ A ขนาด m×n คือ AT ขนาด n×m ( หรือเขียนอยู่ใน
รูปแบบ Atr, หรือ tA, หรือ A' ) ซึ่ง AT[ i, j ] = A[ j, i ] ยกตัวอย่างเช่น




เมทริกซ์จัตุรัส

       เมทริกซ์จัตุรัส คือเมทริกซ์ที่มีขนาดแถวและหลักเท่ากัน โดยเขียนอยู่ในรูปเมทริกซ์
ขนาด n × n ยกเว้น n= 1
         เมทริกซ์เอกลักษณ์ หรือ เมทริกซ์หน่วย In ขนาด n คือเมทริกซ์ขนาด n × n ที่มีตัวเลขบนเส้นทแยง
มุมเป็น 1 ซึ่งสมมติให้เส้นทแยงมุมนั้นลากจากสมาชิกบนซ้ายไปยังสมาชิกขวาล่าง (เฉียงลง) ส่วนสมาชิกที่
เหลือเป็น 0 ทั้งหมด มีคุณสมบัติ MIn = M และ InN = N สาหรับทุกๆเมทริกซ์M ขนาด m × nและเมท
ริกซ์ N ขนาด n × k เช่นเมื่อ n = 3:
เมทริกซ์ที่มีลักษณะพิเศษ

   เมทริกซ์สมมาตร คือ เมทริกซ์จัตุรัสที่เมื่อสลับเปลี่ยน (transpose) แล้วจะได้ผลลัพธ์เป็นเมทริกซ์ตัวเอง
    นั่นก็คือ              หรือ ai,j = aj,i สาหรับทุกดัชนีที่ i และ j
   เมทริกซ์สมมาตรเสมือน คือ เมทริกซ์จัตุรัสที่เมื่อสลับเปลี่ยน (transpose) แล้วจะได้ผลลัพธ์เป็นเมทริกซ์
    ที่สมาชิกทุกตัวมีเครื่องหมายตรงข้ามจากเดิม นั่นคือ                หรือ ai,j = − aj,iสาหรับทุกดัชนีที่ i
    และ j
   เมทริกซ์เอร์มีเชียนคือ เมทริกซ์จัตุรัสที่มีสมาชิกเป็นจานวนเชิงซ้อน และเมทริกซ์สลับเปลี่ยนสังยุค
    (conjugate transpose) ของเมทริกซ์นั้นเท่ากับตัวเดิม นั่นหมายความว่าสมาชิกในแถวที่ i หลักที่ j กับ
    สมาชิกในแถวที่ j หลักที่ i จะต้องเป็นสังยุคซึ่งกันและกัน ดังนี้                หรือเขียนแทนด้วยการ
    สลับเปลี่ยนสังยุคของเมทริกซ์ จะได้ว่า
   เมทริกซ์โทพลิทซ์ คือเมทริกซ์จัตุรัสที่มีสมาชิกในแนวเส้นทแยงมุมหลักเป็นค่าเดียวกัน และแนวขนาน
    เส้นทแยงมุมหลักเป็นค่าเดียวกันในแต่ละแนว นั่นคือ
แบบฝึกหัด
จากข้อ1-4จงแปลงระบบสมการต่อไปนี้ให้อยู่ในรูประบบสมการสามเหลี่ยมบน

1.                     2 x +4 x -6 x = -4
                             1       2      3




                         x1 +5 x 2 +3 x 3 =10


                         x1 +3 x 2 +2 x 3 =        5

วิธีทา จัดรูปเป็นเมตริกซ์แต่งเติมและใช้การดาเนินการตามแถวขั้นพื้นฐาน

                        2       4       6 4 
                                              
                        1       5       3 10   r2  r2    1
                                                                   r
                                                                  2 1

                        1       3       2 5   r3  r3     1
                                                                   r
                                                                2 1




       ขั้นที่1กาจัดตัวแปร x ในแถวที่2และ3
                             1




                        2       4       6 4 
                                              
                        0       3       6 12 
                        0       1       5 7   r3  r3     1
                                                                   r
                                                                3 1




       ขั้นที่2กาจัดตัวแปร x ในแถวที่3
                             2




                        2       4       6 4 
                                              
                        0       3       6 12 
                        0       0        3 3 
                                              


       ขั้นที่3เปลี่ยนกลับให้อยู่ในรูประบบสมการเชิงเส้น

                       2 x +4 x -6 x = -4
                             1       2      3




                                 3 x +6 x =12
                                     2      3




                                          3x = 3
                                            3
2.                x1 + x 2 +6 x 3 =         7

                - x +2 x +9 x = 2
                   1      2        3




                 x1    -2 x +3 x =10
                          2        3




วิธีทา จัดรูปเป็นเมตริกซ์แต่งเติมและใช้การดาเนินการตามแถวขั้นพื้นฐาน

                          1           1        6 7
                                                    
                          1          2        9 2   r2  r2  1r1
                          1           2       3 10   r3  r3  1r1
                                                    


       ขั้นที่1กาจัดตัวแปร x ในแถวที่2และ3
                               1




                          1       1         6 7
                                                 
                          0       3        15 9 
                          0       3        3 3   r3  r3  (  1) r1
                                                 


       ขั้นที่2กาจัดตัวแปร x ในแถวที่3
                               2




                          1       1        6 7
                                                
                          0       3       15 9 
                          0       0       12 12 
                                                


       ขั้นที่3เปลี่ยนกลับให้อยู่ในรูประบบสมการเชิงเส้น



                         x1 + x 2 +         6x = 7
                                                3




                               3 x +15 x = 9
                                   2            3




                                           12 x =12
                                                3
3.                       2 x -2 x +5 x = 6
                                 1               2           3




                          2 x +3 x + 1               2
                                                             x 3 = 13


                         - x +4 x -4 x = 3
                                 1               2               3




วิธีทา จัดรูปเป็นเมตริกซ์แต่งเติมและใช้การดาเนินการตามแถวขั้นพื้นฐาน

                         2              2               5 6
                                                              
                         2                  3            1 13   r2  r2  1r1
                        1                  4            4 3   r3  r3  1 2 r1
                                                              


       ขั้นที่1กาจัดตัวแปร x ในแถวที่2และ3
                             1




                        2           2                  5 6
                                                            
                        0               5            4 7 
                        0               3            1.5 6   r3  r3     3
                                                                                   r
                                                                                5 1




       ขั้นที่2กาจัดตัวแปร x ในแถวที่3
                             2




                        2           2                  56 
                                                            
                        0               5           4 7 
                        0               0           0.9 1.8 
                                                            


       ขั้นที่3เปลี่ยนกลับให้อยู่ในรูประบบสมการเชิงเส้น

                         2 x -2 x +5 x = 6
                                 1               2           3




                                         -4 x +  2
                                                             x3 =    7

                                                 0.9 x =1.8  3
4.                       -5 x +2 x1             2      - x = -1
                                                          3




                              x1 +0 x 2 + 3 x 3 =             5

                          3x +    1
                                           x 2 + 6 x 3 =17




วิธีทา จัดรูปเป็นเมตริกซ์แต่งเติมและใช้การดาเนินการตามแถวขั้นพื้นฐาน

                         2           2             5 6
                                                         
                         2           3              1 13   r2  r2  1r1
                        1           4              4 3   r3  r3  1 2 r1
                                                         


       ขั้นที่1กาจัดตัวแปร x ในแถวที่2และ3
                          1




                        5           2             1 1 
                                                            
                         0           0.4           2.8 4.8 
                         0           2.2           5.4 16.4   r3  r3    2.2
                                                                                      r
                                                                                 0.4 1




       ขั้นที่2กาจัดตัวแปร x ในแถวที่3
                          2




                        5            2             1   1 
                                                             
                         0           0.4           2.8 4.8 
                         0           0              10  10 
                                                             


       ขั้นที่3เปลี่ยนกลับให้อยู่ในรูประบบสมการเชิงเส้น

                        -5 x +2 x
                              1             2          - x = -1
                                                          3




                                  0.4 x +2.8 x =4.8
                                            2             3




                                                    -10 x =-10
                                                          3
5. จงหาสมการพาราโบลา     y  5  3x  2x
                                           2
                                               ที่ผ่านจุด(1,4), (2,7) และ(3,14)

               ที่จุด(1,4) ได้สมการเป็น           4 = A+ B+ C

               ที่จุด(2,7) ได้สมการเป็น           7 = A+2B+4C

               ที่จุด(3,14) ได้สมการเป็น         14 = A+3B+9C

วิธีทา จากระบบสมการข้างต้นจัดรูปเป็นเมตริกซ์แต่งเติมและใช้การดาเนินการตามแถวขั้นพื้นฐานได้โดย

                       1   1     1 4
                                      
                       1   2     4 7   r2  r2  1r1
                       1   3     9 14   r3  r3  1r1
                                      


       ขั้นที่1กาจัดตัวแปรAในแถวที่2และ3

                       1   1     1 4
                                      
                       0   1     3 3
                       0   2     8 10   r3  r3  2 r1
                                      


       ขั้นที่2กาจัดตัวแปรBในแถวที่3

                       1   1     1 4
                                    
                       0   1     3 3
                       0   0     2 4
                                    


       ขั้นที่3เปลี่ยนกลับให้อยู่ในรูประบบสมการเชิงเส้น

                         A+ B+ C= 4

                                B+3C= 3

                                 2C= 4

       ขั้นที่4ใช้การแทนค่ากลับเพื่อหาผลเฉลย

                                 C=4/2=2

                                 B=3-3x2=-3
A=4+3-2=5

        สมการพาราโบลาคือ y  5  3 x  2 x
                                                    2




6. จงหาสมการพาราโบลา     y  A  Bx  Cx
                                             2
                                                 ที่ผ่านจุด(1,6), (2,5) และ(3,2)

               ที่จุด(1,4) ได้สมการเป็น           6 = A+ B+ C

               ที่จุด(2,7) ได้สมการเป็น           5 = A+2B+4C

               ที่จุด(3,14) ได้สมการเป็น          2 = A+3B+9C

วิธีทา จากระบบสมการข้างต้นจัดรูปเป็นเมตริกซ์แต่งเติมและใช้การดาเนินการตามแถวขั้นพื้นฐานได้โดย

                       1   1     1 6
                                     
                       1   2     4 5   r2  r2  1r1
                       1   3     9 2   r3  r3  1r1
                                     


       ขั้นที่1กาจัดตัวแปรAในแถวที่2และ3

                       1   1     1 6 
                                       
                       0   1     3 1
                       0   2     8  4   r3  r3  2 r1
                                       


       ขั้นที่2กาจัดตัวแปรBในแถวที่3

                       1   1     1 6 
                                      
                       0   1     3 1
                       0   0     2 2 
                                      


       ขั้นที่3เปลี่ยนกลับให้อยู่ในรูประบบสมการเชิงเส้น

                         A+ B+ C= 6

                                B+3C= -1

                                 2C= -2

       ขั้นที่4ใช้การแทนค่ากลับเพื่อหาผลเฉลย
C=-2/2=-1

                                B=-1-3x(-1)=2

                                A=6-2+1=5

        สมการพาราโบลาคือ y  5  2 x  x
                                                2




7. จงหาสมการกาลัง3   y  A  Bx  C x  D x
                                       2       3
                                                    ที่ผ่านจุด(0,0), (1,1) ), (2,2) และ(3,2)

               ที่จุด(0,0) ได้สมการเป็น        0=A

               ที่จุด(1,1) ได้สมการเป็น        1 = A+B+C+D

               ที่จุด(2,2) ได้สมการเป็น         2 = A+2B+4C+8D

               ที่จุด(3,2) ได้สมการเป็น        2 = A+3B+9C+27D



วิธีทา จากระบบสมการข้างต้นจัดรูปเป็นเมตริกซ์แต่งเติมและใช้การดาเนินการตามแถวขั้นพื้นฐานได้โดย

                       1   0   0    0 0
                                         
                       1   1   1    1 1  r2  r2  r1
                       1   2   4    8 2  r3  r3  r1
                                         
                       1
                           3   9    27 2  r4  r4  r1
                                          


       ขั้นที่1กาจัดตัวแปรAในแถวที่2,3และ4

                       1   0    0    0 0
                                         
                       0   1    1   1 1
                       0   2    4   8 2  r3  r3  2 r2
                                         
                       0
                           3    9   27 2  r4  r4  3 r2
                                          


       ขั้นที่2กาจัดตัวแปรBในแถวที่3และ4
1   0    0       00 
                                      
                0   1    1     1 1 
                0   0    2     6 0 
                                      
                0
                    0    6     24  1  r4  r4  3 r3
                                       


ขั้นที่3กาจัดตัวแปรCในแถวที่4

                1   0    0     0 0 
                                    
                0   1    1     1 1 
                0   0    2     6 0 
                                    
                0
                    0    0     6  1
                                     


ขั้นที่3เปลี่ยนกลับให้อยู่ในรูประบบสมการเชิงเส้น

                  A+0B+0C+0D= 0

                      B+ C+ D= 1

                         2C+6D= 0

                               6D=-1



ขั้นที่4ใช้การแทนค่ากลับเพื่อหาผลเฉลย

                         D=-1/6=- 1
                                       6


                         C=6x 1 /2= 1
                                  6        2


                         B=1- 1 + 1 = 2
                                  2    6       3


                         A=0

 สมการกาลัง3คือ y 
                         2        1            1
                             x       x 
                                      2                3
                                                   x
                         3        2            6
จากข้อ8-10จงหาระบบสมการสามเหลี่ยมบนพร้อมทั้งหาผลเฉลย

8.     4 x1 +8 x +4 x +0 x = 8
                 2      3         4




         x1 +5 x 2 +4 x 3   -3 x = -4
                               4




         x1 +4 x 2 +7 x 3 +2 x 4 =10


         x1 +3 x 2 +0 x 3   -2 x = -4
                               4




วิธีทา จากระบบสมการข้างต้นจัดรูปเป็นเมตริกซ์แต่งเติมและใช้การดาเนินการตามแถวขั้นพื้นฐานได้โดย

                             4        8   4    0    8 
                                                       
                             1        5   4     3  4  r2  r2    1
                                                                           r
                                                                          4 1

                             1        4   7     2 10  r3  r3      1
                                                                           r
                                                                          4 1
                                                       
                             1
                                      3   0     2  4  r4  r4 
                                                        
                                                                      1
                                                                           r
                                                                          4 1




       ขั้นที่1กาจัดตัวแปร x1 ในแถวที่2,3และ4

                             4        8   4        0 8 
                                                        
                             0        3   3     3 6 
                             0        2   6      2 8  r3  r3  2 3 r2
                                                        
                             0
                                      1   1     2  6  r4  r4  1 3 r2
                                                         


       ขั้นที่2กาจัดตัวแปร x ในแถวที่3และ4
                                   2




                             4        8   4        0 8 
                                                        
                             0        3   3     3 6 
                             0        0   4      4 12 
                                                        
                             0
                                      0   2     1  4  r4  r4 
                                                         
                                                                          1
                                                                                r
                                                                              2 3




       ขั้นที่3กาจัดตัวแปร x ในแถวที่4
                                   3




                             4        8   4    0  8 
                                                     
                             0        3   3    3 6 
                             0        0   4    4 12 
                                                     
                             0
                                      0   0    1 2  


       ขั้นที่3เปลี่ยนกลับให้อยู่ในรูประบบสมการเชิงเส้น
4 x1 +8 x +4 x +0 x = 8
                        2     3    4




                     3 x +3 x -3 x = -6
                       2      3    4




                            4 x +4 x =12
                              3    4




                                  x4 = 2


ขั้นที่4ใช้การแทนค่ากลับเพื่อหาผลเฉลย

                        x4 = 2


                        x 3 =(12-4x2)/4=1


                        x 2 =(-6-3x1+3x2)/3=-1


                        x1 =(8-8x(-1)-4x1)/4=3
9.     2 x1 +4 x -4 x +0 x =12
                 2      3      4




         x1 +5 x 2 - 5 x 3 - 3 x 4 =18


       2 x +3 x +
          1      2
                       x 3 +3 x 4 =    8

         x1 +4 x 2 - 2 x 3 +2 x 4 =    8



วิธีทา จากระบบสมการข้างต้นจัดรูปเป็นเมตริกซ์แต่งเติมและใช้การดาเนินการตามแถวขั้นพื้นฐานได้โดย

                            2         4    4       0 12 
                                                          
                            1         5    5       3 18  r2  r2  1 2 r1
                            2         3    1        3 8  r3  r3  r1
                                                          
                            1
                                      4    2       2 8  r4  r4  1 2 r1
                                                           


       ขั้นที่1กาจัดตัวแปร x1 ในแถวที่2,3และ4

                            2         4    4        0 12 
                                                           
                            0         3     3       3 12 
                            0         1       5     3  4  r3  r3       1
                                                                                 3   r2
                                                           
                            0
                                      2        0     2 2  r4  r4 
                                                            
                                                                             2
                                                                                 3   r2


       ขั้นที่2กาจัดตัวแปร x ในแถวที่3และ4
                                   2




                            2         4    4       0 12 
                                                          
                            0         3    3       3 12 
                            0         0    4        2 0 
                                                          
                            0
                                      0    2        4  6  r4  r4 
                                                           
                                                                         1
                                                                             2 3 r


       ขั้นที่3กาจัดตัวแปร x ในแถวที่4
                                   3




                            2         4    4       0 12 
                                                          
                            0         3    3       3 12 
                            0         0    4        2 0 
                                                          
                            0
                                      0    0        3 6 


       ขั้นที่3เปลี่ยนกลับให้อยู่ในรูประบบสมการเชิงเส้น
2 x1 +4 x -4 x +0 x =12
                        2     3      4




                     3 x -3 x -3 x =12
                        2     3      4




                            4 x +2 x = 0
                              3      4




                                   3 x =-6
                                     4




ขั้นที่4ใช้การแทนค่ากลับเพื่อหาผลเฉลย

                        x 4 = -2


                        x 3 =(0-2x(-2))/4=1


                        x 2 =(12+3x1+3x(-2))/3=3


                        x1 =(12-4x3+4x1)/2=2
10.       x1 +2 x 2 +0 x 3 -1 x 4 =       9

        2 x +3 x -
          1      2
                       x 3 +0 x 4 =       9

        0 x +4 x + 2 x -5 x =26
          1      2       3        4




        5 x +5 x + 2 x -4 x =32
          1      2       3        4




วิธีทา จากระบบสมการข้างต้นจัดรูปเป็นเมตริกซ์แต่งเติมและใช้การดาเนินการตามแถวขั้นพื้นฐานได้โดย

                             1       2       0       1 9 
                                                            
                             2       3       1       0 9  r2  r2  2 r1
                             0       4       2        5 26 
                                                            
                             5
                                     5       2        4 32  r4  r4  5 r1
                                                             


       ขั้นที่1กาจัดตัวแปร x1 ในแถวที่2และ4

                             1       2           0    1 9 
                                                              
                             0       1       1       2 9 
                             0       4           2     5 26  r3  r3  4 r2
                                                              
                             0
                                     5          2     1  13  r4  r4  5 r2
                                                               


       ขั้นที่2กาจัดตัวแปร x ในแถวที่3และ4
                                  2




                             1       2           0    1 9 
                                                              
                             0       1       1       2 9 
                             0       0       2        3  10 
                                                              
                             0
                                     0           7     9 32  r4  r4 
                                                               
                                                                                7
                                                                                    2   r3


       ขั้นที่3กาจัดตัวแปร x ในแถวที่4
                                  3




                             1       2           0     1  9 
                                                              
                             0       1       1       2 9 
                             0       0       2        3  10 
                                                              
                             0
                                     0           0    1.5  3 
                                                               




       ขั้นที่3เปลี่ยนกลับให้อยู่ในรูประบบสมการเชิงเส้น
x1 +2 x 2 +0 x 3 - x 4 =     9

                    -   x 2 - x 3 +2 x 4 =   -9

                          -2 x +3 x =-10
                               3       4




                                   1.5 x = -3
                                       4




ขั้นที่4ใช้การแทนค่ากลับเพื่อหาผลเฉลย

                          x 4 = -2


                          x 3 =(10+3x(-2))/2=2


                          x 2 =9-2+2x(-2)=3


                          x1 =9-2x3-2=1
11. จงหาผลเฉลยของระบบสมการต่อไปนี้

                          x1 + 2 x 2                            =7

                        2 x +3 x -
                             1        2
                                                  x3            =9

                                 4 x + 2 x +3 x =10
                                      2            3        4




                                              2 x - 4 x =12
                                                   3        4




วิธีทา จากระบบสมการข้างต้นจัดรูปเป็นเมตริกซ์แต่งเติมและใช้การดาเนินการตามแถวขั้นพื้นฐานได้โดย

                        1       2        0         0 7
                                                         
                        2       3        1        0 9  r2  r2  2 r1
                        0       4        2         3 10 
                                                         
                        0
                                0        2         4 12 
                                                          


       ขั้นที่1กาจัดตัวแปร x1 ในแถวที่2

                        1       2            0        0    7 
                                                             
                        0       1       1            0 5
                        0       4            2         3 10  r3  r3  4 r2
                                                             
                        0
                                0            2         4 12 
                                                              


       ขั้นที่2กาจัดตัวแปร x ในแถวที่3
                             2




                        1       2            0         0   7 
                                                              
                        0       1        1           0 5 
                        0       0        2            3  10 
                                                              
                        0
                                0            2         4 12  r4  r4  r3
                                                               




       ขั้นที่3กาจัดตัวแปร x ในแถวที่4
                             3
1       2       0       0   7 
                                               
                0       1     1       0 5 
                0       0      2       3  10 
                                               
                0
                        0       0       1 2  




ขั้นที่3เปลี่ยนกลับให้อยู่ในรูประบบสมการเชิงเส้น

                 x1 +2 x 2 +0 x 3 +0 x 4 =        7

                     -   x 2 - x 3 +0 x 4 =      -5

                              -2 x +3 x =-10
                                     3       4




                                         -x = 2
                                             4




ขั้นที่4ใช้การแทนค่ากลับเพื่อหาผลเฉลย

                              x 4 = -2


                              x 3 =(10+3x(-2))/2=2


                              x 2 =5-2=3


                              x1 =7-2x3-2=1
12. จงหาผลเฉลยของระบบสมการต่อไปนี้

                          x1 + x 2                         =5

                        2 x -1 x + 5 x
                             1        2        3           = -9

                                 3 x - 4 x +2 x =19
                                      2        3       4




                                          2 x +6 x = 2
                                               3       4




วิธีทา จากระบบสมการข้างต้นจัดรูปเป็นเมตริกซ์แต่งเติมและใช้การดาเนินการตามแถวขั้นพื้นฐานได้โดย

                        1       1        0        0 5 
                                                        
                        2       1       5        0  9  r2  r2  2 r1
                        0       3        4       2 19 
                                                        
                        0
                                0        2        6 2  


       ขั้นที่1กาจัดตัวแปร x1 ในแถวที่2

                        1       1        0        0   5 
                                                         
                        0       3       5        0  19 
                        0       3        4       2 19  r3  r3  r2
                                                         
                        0
                                0        2        6 2   


       ขั้นที่2กาจัดตัวแปร x ในแถวที่3
                             2




                        1       1        0    0   5 
                                                     
                        0       3       5    0  19 
                        0       0        1    2 0 
                                                     
                        0
                                0        2    6 2  r4  r4  2 r3
                                                      


       ขั้นที่3กาจัดตัวแปร x ในแถวที่4
                             3




                        1       1        0    0   5 
                                                     
                        0       3       5    0  19 
                        0       0        1    2 0 
                                                     
                        0
                                0        0    2 2   
ขั้นที่3เปลี่ยนกลับให้อยู่ในรูประบบสมการเชิงเส้น

                   x1 + x 2 +0 x 3 +0 x 4 =   5

                     -3 x +5 x +0 x = -19
                         2      3      4




                              x 3 +2 x 4 =    0

                                    2x = 2
                                      4




ขั้นที่4ใช้การแทนค่ากลับเพื่อหาผลเฉลย

                          x4 = 1


                          x 3 =-2


                          x 2 =(19-10)3=3


                          x1 =5-3=2
13. บริษัทRockmoreกาลังตัดสืนใจเลือกซื้อคอมพิวเตอร์เครื่องใหม่ ระหว่างรุ่น DoGood 174 กับMightDo
11โดยพิจรณาจากการหาผลเฉลยของระบบสมการ

                           34x+55y-21=0

                           55x+89y-34=0

เมื่อDoGood 174คานวณได้เป็นx=-0.11 และy=0.45และเมื่อลองแทนค่ากลับเพื่อตรวจสอบจะได้ผลคือ

                    34(-0.11)+55(0.45)-21=0.01

                    55(-0.11)+89(0.45)-34=0.00

เมื่อMightDo 11คานวณได้เป็นx=-0.99 และy=1.01และเมื่อลองแทนค่ากลับเพื่อตรวจสอบจะได้ผลคือ

                    34(-0.99)+55(1.01)-21=0.89

                    55(-0.99)+89(1.01)-34=1.44

คอมพิวเตอร์รุ่นไหนให้ผลเฉลยที่ดีกว่ากัน เพาะอะไร

ในความเป็นจริงถ้าตรวจสอบผลเฉลยโดยการแทนค่ากลับ ผลลับธ์ที่ได้จะต้องเท่ากับ 0แต่ทั้ง2รุ่นกลับมี
ความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้นทั้งคู่ โดยรุ่น DoGood 174มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้นน้อยกว่าMighDo 11 ดังนั้น
ผลเฉลยจากรุ่นDoGoodจึงดีกว่า เพราะคลาดเคลื่อนน้อยกว่า



จงหาผลเฉลยของระบบสมการต่อไปนี้ด้วยการกาจัดตัวแปลของเกาซ์เซียนโดย(i)การหาตัวหลักบางส่วน
(ii)การหาตัวหลักบางส่วนแบบมาตรา (ใช้เลข4หลัก)

(a) 2 x - 3 x + 100 x =1
       1        2          3           (b)       x1 + 20 x 2 -     x 3 +0.001 x 4 =0


      x1 + 10 x 2 - 0.001 x 3 =0             2 x - 5 x + 30 x - 0.1 x =1
                                                  1        2        3          4




    3 x -100 x + 0.01 x =0
       1       2           3                 5x +1
                                                         x 2 -100 x 3 -   10 x =0
                                                                               4




                                             2 x -100 x -
                                                  1        2
                                                                   x3 +       x 4 =0
(a/i)

        ขั้นที่1จัดรูปเป็นเมตริกซ์แต่งเติม

                                   2         3         100    1
                                                                 
                                   1        10          0.001 0  r1  r3
                                   3        100         0.01 0 
                                                                 


        ขั้นที่2สลับแถวที่1กับ3 เพราะหลักที่1ในแถวที่3มีค่าสัมบูรณ์มากกว่าแถวที่1

                                   3        100         0.01 0 
                                                                 
                                   1        10          0.001 0  r2  r2    1
                                                                                     r
                                                                                    3 1

                                   2         3          100 1  r3  r3      2
                                                                                     r
                                                                                  3 1




        ขั้นที่3กาจัดตัวแปร x ในแถวที่2และ3ด้วยการแทนที่
                             1




                                   3        100        0.01 0 
                                                               
                                   0       43.33       0.004 0  r2  r3
                                   0       63.67       99.99 1 
                                                               


        ขั้นที่4สลับแถวที่2กับ3 เพราะหลักที่2ในแถวที่3มีค่าสัมบูรณ์มากกว่าแถวที่2

                                   3        100        0.01 0 
                                                               
                                   0       63.67       99.99 1 
                                   0       43.33       0.004 0  r3  r3  0.681 r1
                                                               


        ขั้นที่5กาจัดตัวแปร x ในแถวที่3ด้วยการแทนที่
                             2




                                   3        100         0.01       0  
                                                                       
                                   0       63.67        99.99     1    
                                   0         0          68.09  0.681 
                                                                       


        ขั้นที่6เปลี่ยนรูปกลับเป็นระบบสมการสามเหลี่ยมบน

                                   3 x - 100 x + 100 x = 0
                                        1           2            3




                                            63.67 x +99.99 x = 1
                                                    2            3




                                                        -68.09 x =-0.681
                                                                 3
ขั้นที่7ใช้การแทนค่ากลับจะได้ผลเฉลยคือ

                                                x 3 =0.01


                                                x 2 =0


                                                x 3 =0


(a/ii)

         ขั้นที่1จัดรูปเป็นเมตริกซ์แต่งเติม

                                       2      3         100    1
                                                                  
                                       1      10         0.001 0  r1  r2
                                       3      100        0.01 0 
                                                                  


         ขั้นที่2สลับแถวที่1กับ2 เพราะหลักที่1ในแถวที่2มีค่าสัมบูรณ์ของอัตราส่วนมากกว่าแถวที่ 1



                                       1      10         0.001 0 
                                                                  
                                       2      3          100 1  r2  r2  2 r1
                                       3      100        0.01 0  r3  r3  3 r1
                                                                  


         ขั้นที่3กาจัดตัวแปร x ในแถวที่2และ3ด้วยการแทนที่
                              1




                                       1      10         0.001 0 
                                                                  
                                       0      23       100.0 1  r2  r3
                                       0      130       0.013 0 
                                                                  


         ขั้นที่4สลับแถวที่2กับ3 เพราะหลักที่2ในแถวที่3มีค่าสัมบูรณ์ของอัตราส่วนมากกว่าแถวที่2

                                       1      10         0.001 0 
                                                                  
                                       0      130       0.013 0 
                                       0      23         100 1  r3  r3  0.1769 r2
                                                                  


         ขั้นที่5กาจัดตัวแปร x ในแถวที่3 ด้วยการแทนที่
                              2
1        10    0.001 0 
                                                             
                                     0     130     0.013 0 
                                     0               100 1 
                                                             


        ขั้นที่6เปลี่ยนรูปกลับเป็นระบบสมการสามเหลี่ยมบน

                                     x1 + 10 x 2 - 0.001 x 3 = 0


                                       -130 x +0.013 x = 0
                                                2          3




                                                    100 x =1
                                                           3




        ขั้นที่7ใช้การแทนค่ากลับจะได้ผลเฉลยคือ

                   x 3 =0.01


                   x 2 =0


                   x 3 =0


(b/i)

          ขั้นที่1จัดรูปเป็นเมตริกซ์แต่งเติม

                                     1        20     1       0.001 0 
                                                                      
                                     2        5     30        0.1 1 
                                     5        1     100        10 0  r1  r3
                                                                      
                                     2
                                           100      1         1 0  




          ขั้นที่2สลับแถวที่1กับ3 เพราะหลักที่1ในแถวที่3มีค่าสัมบูรณ์มากกว่าแถวที่1

                                     5        1     100        10 0 
                                                                      
                                     2        5     30        0.1 1  r2  r2  0.4 r1
                                     1        20     1       0.001 0  r3  r3  0.2 r1
                                                                      
                                     2
                                           100      1          1 0  r4  r4  0.4 r1
                                                                       


          ขั้นที่3กาจัดตัวแปร x ในแถวที่2,3และ4ด้วยการแทนที่
                               1
5           1          100        10 0 
                                                                  
                         0          5.4         70        3.9 1  r2  r4
                         0         19.8         19        2.001 0 
                                                                  
                         0
                                   100.4        39          5 0 


ขั้นที่4สลับแถวที่2กับ4 เพราะหลักที่2ในแถวที่4มีค่าสัมบูรณ์มากกว่าแถวที่2

                         5           1          100        10 0 
                                                                  
                         0         100.4       39           5 0
                         0         19.8         19        2.001 0  r3  r3  0.1972 r2
                                                                  
                         0
                                    5.4         70        3.9 1  r4  r4  0.0538 r2
                                                                   


ขั้นที่5กาจัดตัวแปร x ในแถวที่3และ4ด้วยการแทนที่
                   2




                         5           1           100       10 0 
                                                                  
                         0         100.4        39          5 0
                         0           0         26.69      2.987 0  r3  r4
                                                                  
                         0
                                     0          67.9      3.631 1 
                                                                   


ขั้นที่6สลับแถวที่3กับ4 เพราะหลักที่3ในแถวที่4มีค่าสัมบูรณ์มากกว่าแถวที่3

                         5           1           100       10 0 
                                                                  
                         0         100.4        39          5 0
                         0           0          67.9      3.631 1 
                                                                  
                         0
                                     0         26.69      2.987 0  r4  r4  0.3931r3
                                                                   


ขั้นทึ่7กาจัดตัวแปร x ในแถวที่4ด้วยการแทนที่
                   3




                         5           1          100        10       0 
                                                                        
                         0         100.4        39         5      0    
                         0           0          67.9      3.631    1    
                                                                        
                         0
                                     0           0        1.56  0.3931 
                                                                         


ขั้นที่8เปลี่ยนรูปกลับเป็นระบบสมการสามเหลี่ยมบน

                        5x +  1
                                          x2   - 100 x - 10 x = 0
                                                       3           4




                                  -100.4 x + 39 x +
                                           2           3     5x =0 4
67.9 x +3.631 x = 1
                                                             3           4




                                                                   1.56 x =-0.3931
                                                                         4




           ขั้นที่9ใช้การแทนค่ากลับจะได้ผลเฉลยคือ

                             x 4 =-0.252


                             x 3 =0.0028


                             x 2 =-0.0115


                             x1 =-0.4457


(b/ii)

           ขั้นที่1จัดรูปเป็นเมตริกซ์แต่งเติม

                                      1        20     1        0.001 0 
                                                                        
                                      2        5     30         0.1 1  r1  r2
                                      5        1     100         10 0 
                                                                        
                                      2
                                            100      1          1 0  


         ขั้นที่2สลับแถวที่1กับ2 เพราะหลักที่1ในแถวที่2มีค่าสัมบูรณ์ของอัตราส่วนมากกว่าแถวที่ 1

                                      2        5     30         0.1 1 
                                                                        
                                      1        20     1        0.001 0  r2  r2  0.5 r1
                                      5        1     100         10 0  r3  r3  2.5 r1
                                                                        
                                      2
                                            100      1           1 0  r4  r4  r1
                                                                         


         ขั้นที่3กาจัดตัวแปร x ในแถวที่2,3และ4ด้วยการแทนที่
                              1




                                      2        5    30          0.1    1 
                                                                             
                                      0    22.5      16        0.051  0.5 
                                      0    13.5      175        9.75  2.5 
                                                                             
                                      0
                                            95      31         1.1     1  r2  r4
                                                                              


         ขั้นที่4สลับแถวที่2กับ4 เพราะหลักที่2ในแถวที่4มีค่าสัมบูรณ์ของอัตราส่วนมากกว่าแถวที่ 2
2         5          30          0.1   1 
                                                                        
                           0         95         31        1.1    1 
                           0        13.5         175       9.75  2.5  r3  r3  0.1421r2
                                                                        
                           0
                                    22.5         16       0.051  0.5  r4  r4  0.2368 r2
                                                                         


ขั้นที่5กาจัดตัวแปร x ในแถวที่3และ4ด้วยการแทนที่
                   2




                           2         5          30            0.1      1   
                                                                             
                           0         95          31          1.1      1 
                           0         0          179.4        9.594  2.642 
                                                                             
                           0
                                     0          23.34       0.3115  0.7368  r4  r4  0.1301r3
                                                                              


ขั้นที่6กาจัดตัวแปร x ในแถวที่4ด้วยการแทนที่
                   3




                           2         5          30            0.1     1    
                                                                             
                           0         95          31          1.1      1 
                           0         0          179.4        9.594  2.642 
                                                                             
                           0
                                     0            0           1.56      0    
                                                                              


ขั้นที่7เปลี่ยนรูปกลับเป็นระบบสมการสามเหลี่ยมบน

                           2 x - 5 x + 30 x - 0.1 x = 1
                                1         2             3            4




                                    -95 x - 31 x + 1.1 x =-1
                                          2            3         4




                                              -179.4 x -9.594 x =-2.642
                                                       3             4




                                                            1.56 x = 0
                                                                 4




ขั้นที่9ใช้การแทนค่ากลับจะได้ผลเฉลยคือ

                  x 4 =0


                  x 3 =0.0147


                  x 2 =0.0057


                  x1 =0.2938
15 จงหาผลเฉลยของระบบสมการAX=B ที่เป็นเมตริกซ์ของฮิลเบอร์ท ซึ่งเป็นเมตริกซ์ที่สภาวะไม่
เหมาะสมโดยกาหนดAและBให้

(a)คานวนโดยติดเศษศ่วนไว้

                  1     1
                         2
                                 1
                                 3
                                     1
                                     4                     1 
                  1     1       1   1                      
                                                             0
               A=  12   3       4   5    ,             B=  
                  3     1
                         4
                                 1
                                 5
                                     1
                                     6
                                                           0 
                  1     1       1   1
                                                            
                  4     5       6   7                     0 


       ขั้นที่1ทาเป็นเมตริกซ์แต่งเติม

                                     1        1
                                               2
                                                    1
                                                    3
                                                             1
                                                             4
                                                                 1
                                     1                            
                                     2
                                               1
                                               3
                                                    1
                                                    4
                                                             1
                                                             5
                                                                 0  r2  r2  1 r1
                                                                               2

                                     1        1    1        1
                                                                 0  r3  r3  1 r1
                                       3       4    5        6                 3
                                     1                            
                                     4
                                     
                                               1
                                               5
                                                    1
                                                    6
                                                             1
                                                             7
                                                                 0  r4  r4  1 r1
                                                                              4




       ขั้นที่2กาจัดตัวแปร x ในแถวที่2,3และ4โดยการแทนที่
                             1




                                     1        1
                                               2
                                                        1
                                                        3
                                                                  1
                                                                  4
                                                                           1 
                                                                             
                                     0
                                                1
                                               12
                                                         1
                                                        12
                                                                  3
                                                                 40
                                                                           1
                                                                            2

                                     0         1       4         1
                                                                           1  r3  r3  r2
                                               12       45       12         3
                                                                             
                                     0
                                     
                                                3
                                               40
                                                         1
                                                        12
                                                                  9
                                                                 112
                                                                           4  r4  r4  190 r2
                                                                            1
                                                                              


       ขั้นที่3กาจัดตัวแปร x ในแถวที่3และ4โดยการแทนที่
                             2




                                     1        1
                                               2
                                                        1
                                                        3
                                                                  1
                                                                  4
                                                                           1 
                                                                              
                                     0
                                                1
                                               12
                                                         1
                                                        12
                                                                   3
                                                                  40
                                                                           1
                                                                             2

                                     0        0     1            1        1 
                                                    180          120       6
                                                                              
                                                                                r  r4 
                                                     1            9        1                3
                                     0
                                              0    120          700       5  4            2
                                                                                                r3


       ขั้นที่4กาจัดตัวแปร x ในแถวที่4โดยการแทนที่
                             3




                                     1        1
                                               2
                                                        1
                                                        3
                                                                      1
                                                                      4
                                                                            1 
                                                                               
                                     0
                                                1
                                               12
                                                         1
                                                        12
                                                                   3
                                                                  40
                                                                           1 
                                                                              2

                                     0        0     1             1        1 
                                                    180           120       6
                                                                               
                                     0
                                              0        0         1
                                                                 2800
                                                                            20 
                                                                              1
                                                                                
ขั้นที่5หาผลเฉลยโดยใช้การแทนค่ากลับ

                         x 4 =-140


                         x 3 =240


                         x 2 =-120


                         x1 =16


(b)คานวนโดยใช้เลข4หลัก



                   1.0000      0.5000        0.3333   0.2500            1 
                                                                         
                    0.5000      0.3333        0.2500   0.2000              0
               A=                                               ,    B=  
                   0.3333      0.2500        0.2000   0.1667            0 
                                                                         
                   0.2500      0.2000        0.1667   0.1429            0 


       ขั้นที่1ทาเป็นเมตริกซ์แต่งเติม

                          1.0000       0.5000    0.3333   0.2500 1 
                                                                   
                          0.5000       0.3333    0.2500   0.2000 0  r2  r2  0.5000 r1
                          0.3333       0.2500    0.2000   0.1667 0  r3  r3  0.3333 r1
                                                                   
                          0.2500
                                       0.2000    0.1667   0.1429 0  r4  r4  0.2500 r1
                                                                    


       ขั้นที่2กาจัดตัวแปร x ในแถวที่2,3และ4โดยการแทนที่
                            1




                         1.0000     0.5000       0.3333   0.2500      1   
                                                                          
                          0         0.0833       0.0834   0.0750  0.5000 
                          0         0.0834       0.0889   0.0834  0.3333  r3  r3  1.001r2
                                                                          
                          0
                                    0.0750       0.0834   0.0804  0.2500  r4  r4  0.9004 r2
                                                                           


       ขั้นที่3กาจัดตัวแปร x ในแถวที่3และ4โดยการแทนที่
                            2




                         1.0000     0.5000       0.3333   0.2500      1   
                                                                          
                          0         0.0833       0.0834   0.0750  0.5000 
                          0              0       0.0054   0.0083 0.1672 
                                                                          
                          0
                                         0       0.0083   0.0129 0.2002  r4  r4  1.537 r2
                                                                           
ขั้นที่4กาจัดตัวแปร x ในแถวที่4โดยการแทนที่
                   3




                1.0000       0.5000   0.3333   0.2500     1    
                                                               
                 0           0.0833   0.0834   0.0750  0.5000 
                 0             0      0.0054   0.0083 0.1672 
                                                               
                 0
                               0        0      0.0001  0.0568 
                                                                


ขั้นที่5หาผลเฉลยโดยใช้การแทนค่ากลับ

                x 4 =-568


                x 3 =904


                x 2 =-399.7


                x1 =41.55

Contenu connexe

Tendances

โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
Inmylove Nupad
 
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
ทับทิม เจริญตา
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
Ritthinarongron School
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
คุณครูพี่อั๋น
 
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
ทับทิม เจริญตา
 

Tendances (20)

โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
 
work1
work1work1
work1
 
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ป.5ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ป.5
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการ
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
 
สูตรต่างๆ ในคำนวณในข้อสอบครูผู้ช่วย
สูตรต่างๆ ในคำนวณในข้อสอบครูผู้ช่วยสูตรต่างๆ ในคำนวณในข้อสอบครูผู้ช่วย
สูตรต่างๆ ในคำนวณในข้อสอบครูผู้ช่วย
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนามแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
 
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริงแบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
 
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
 
ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5
 
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดจำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
 
linear function
linear functionlinear function
linear function
 
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
 
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
 

Similaire à เมทริกซ์...

แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
Dar-Daa Leamkaew
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
wisita42
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริง
Piyanouch Suwong
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
aass012
 
Factoring of polynomials
Factoring of polynomialsFactoring of polynomials
Factoring of polynomials
Aon Narinchoti
 
คณิตศาสตร์ม.31
คณิตศาสตร์ม.31คณิตศาสตร์ม.31
คณิตศาสตร์ม.31
krookay2012
 

Similaire à เมทริกซ์... (20)

แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
9789740329183
97897403291839789740329183
9789740329183
 
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
 
Realnumbers
RealnumbersRealnumbers
Realnumbers
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
 
Matrix1
Matrix1Matrix1
Matrix1
 
Graph
GraphGraph
Graph
 
Matrix53
Matrix53Matrix53
Matrix53
 
4339
43394339
4339
 
เวกเตอร์
เวกเตอร์เวกเตอร์
เวกเตอร์
 
Matrix
MatrixMatrix
Matrix
 
การแก้อสมการเชิงเส้น1
การแก้อสมการเชิงเส้น1การแก้อสมการเชิงเส้น1
การแก้อสมการเชิงเส้น1
 
เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริง
 
Matlab58670379
Matlab58670379Matlab58670379
Matlab58670379
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdf
การแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdfการแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdf
การแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdf
 
Factoring of polynomials
Factoring of polynomialsFactoring of polynomials
Factoring of polynomials
 
คณิตศาสตร์ม.31
คณิตศาสตร์ม.31คณิตศาสตร์ม.31
คณิตศาสตร์ม.31
 

Plus de Jiraprapa Suwannajak

พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
Jiraprapa Suwannajak
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึม
Jiraprapa Suwannajak
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
Jiraprapa Suwannajak
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
Jiraprapa Suwannajak
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
Jiraprapa Suwannajak
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
Jiraprapa Suwannajak
 
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันแบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
Jiraprapa Suwannajak
 

Plus de Jiraprapa Suwannajak (20)

พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
ภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวย
 
รากที่สอง..
รากที่สอง..รากที่สอง..
รากที่สอง..
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
เศษส่วน
เศษส่วนเศษส่วน
เศษส่วน
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึม
 
ลอการิทึม
ลอการิทึมลอการิทึม
ลอการิทึม
 
ลอการิทึม..[1]
ลอการิทึม..[1]ลอการิทึม..[1]
ลอการิทึม..[1]
 
ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
 
วงกลมวงรี
วงกลมวงรีวงกลมวงรี
วงกลมวงรี
 
กลุ่ม4
กลุ่ม4กลุ่ม4
กลุ่ม4
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
 
ปรัชญาเศร..
ปรัชญาเศร..ปรัชญาเศร..
ปรัชญาเศร..
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจ..[1]
 เศรษฐกิจ..[1] เศรษฐกิจ..[1]
เศรษฐกิจ..[1]
 
สมการตรีโกณ
สมการตรีโกณสมการตรีโกณ
สมการตรีโกณ
 
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันแบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
 

เมทริกซ์...

  • 1. เมทริกซ์ ในคณิตศาสตร์ เมทริกซ์ หรือ เมตริกซ์ (อังกฤษ: matrix) คือตารางสี่เหลี่ยมที่แต่ละช่องบรรจุ จานวนหรือโครงสร้างทางคณิตศาสตร์ที่สามารถนามาบวกและคูณกับตัวเลขได้ เราสามารถใช้เมทริกซ์แทนระบบสมการเชิงเส้น การแปลงเชิงเส้น และใช้เก็บข้อมูลที่ขึ้นกับตัวแปรต้นสอง ตัว เราสามารถบวก คูณ และแยกเมทริกซ์ออกเป็นผลคูณของเมทริกซ์ได้หลายรูปแบบ เมทริกซ์เป็น แนวความคิดที่มีความสาคัญยิ่งของพีชคณิตเชิงเส้น โดยทฤษฎีเมทริกซ์เป็นสาขาหนึ่งของพีชคณิตเชิงเส้นที่ เน้นการศึกษาเมทริกซ์ ในบทความนี้ แต่ละช่องของเมทริกซ์จะบรรจุจานวนจริงหรือจานวนเชิงซ้อน หากไม่ได้ระบุเป็นอย่างอื่น นิยาม เมทริกซ์ คือกลุ่มของจานวนหรือสมาชิกของริงใดๆ เขียนเรียงกันเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าหรือจัตุรัส กล่าวคือ เรียงเป็นแถวในแนวนอน และเรียงเป็นแถวในแนวตั้ง เรามักเขียนเมทริกซ์เป็นตารางที่ไม่มีเส้นแบ่งและ เขียนวงเล็บคร่อมตารางไว้ (ไม่ว่าจะเป็นวงเล็บโค้งหรือวงเล็บเหลี่ยม) เช่น เราเรียกแถวในแนวนอนของเมทริกซ์ว่า แถว เรียกแถวในแนวตั้งของเมทริกซ์ว่า หลัก และเรียก จานวนแต่ละจานวนเในเมทริกซ์ว่า สมาชิก ของเมทริกซ์ การกล่าวถึงสมาชิกของเมทริกซ์ จะต้องระบุ ตาแหน่งให้ถูกต้อง เช่น จากตัวอย่างข้างบน สมาชิกที่อยู่ในแถวที่ 2 หลักที่ 3 คือเลข 4 สมาชิกที่อยู่ในแถวที่ 2 หลักที่ 2 คือเลข 1 สมาชิกที่อยู่ในแถวที่ 3 หลักที่ 1 คือเลข 5 เราเรียกเมทริกซ์ที่มี m แถว และ n หลัก เรียกว่า เมทริกซ์ เราเรียก จานวน m และ n ว่า มิติ หรือ ขนาด ของเมทริกซ์ เราใช้สัญญลักษณ์ เพื่อหมายถึง เมทริกซ์ A ซึ่งมี m แถว และ n หลัก โดย ที่ ai,j (หรือ aij) หมายถึง สมาชิกที่อยู่ในตาแหน่ง แถว i และ หลัก j ของเมทริกซ์
  • 2. การกระทาระหว่างเมทริกซ์ การบวก ดูบทความหลักที่ การบวกเมทริกซ์ ให้ และ เป็นเมทริกซ์ที่มีขนาดเท่ากันสองเมทริกซ์ เราสามารถ นิยาม ผลรวม หรือ ผลบวก A + B ว่าเป็นเมทริกซ์ขนาด ที่คานวณโดยการบวกสมาชิกที่มี ตาแหน่งตรงกัน กล่าวคือ หาก แล้ว ci,j = ai,j + bi,j ยกตัวอย่างเช่น การบวกเมทริกซ์อีกแบบหนึ่งที่เป็นที่นิยมน้อยกว่าคือการบวกตรง การคูณด้วยสเกลาร์ กาหนดเมทริกซ์ และจานวน c เราสามารถนิยาม ผลคูณสเกลาร์ cA ว่าเป็นเมทริกซ์ ขนาด ที่คานวณโดยการนา c ไปคูณสมาชิกแต่ละตัวของ A กล่าวคือ หาก แล้ว bi,j = cai,j ยกตัวอย่างเช่น จะเห็นว่า ปฏิบัติการทั้งสองข้างต้น (การบวกและการคูณด้วยสเกลาร์) ช่วยให้เราสามารถมองเมทริกซ์ ขนาด ว่าเป็นเวกเตอร์ที่มีมิติ mn ด้วยเหตุนี้ เซตของเมทริกซ์ที่มีขนาดเท่ากับจึงเป็นปริภูมิเวกเตอร์ ชนิดหนึ่ง
  • 3. การคูณ ถ้า และ เป็นเมทริกซ์สองเมทริกซ์โดยที่จานวนหลัก ของ A เท่ากับจานวนแถวของ B แล้ว เราสามารถนิยาม ผลคูณ AB ว่าเป็นเมท ริกซ์ โดยที่ กล่าวคือสมาชิกในแถว i หลัก j ของผลคูณ AB คานวณได้จากการนาสมาชิกของหลัก i ของ A และสมาชิก ของคอลัมน์ B ในตาแหน่ง "เดียวกัน" มาคูณกัน แล้วนาผลคูณทั้ง n ผลคูณนั้นมาบวกกัน ปฏิบัติการนี้อาจทาให้เข้าใจได้ง่ายขึ้นถ้ามองเมทริกซ์เป็นเวกเตอร์ของเวกเตอร์ โดยถ้าเรา ให้ เป็นเวกเตอร์ที่มีสมาชิกเป็นสมาชิกในแถว i ของ A และ ให้ เป็นเวกเตอร์ที่มีสมาชิกเป็นสมาชิกในหลัก j ของ B แล้ว เราจะได้ ว่า เมื่อ คือผลคูณจุดของ ai และ bj เช่น ให้ และ แล้ว และ การคูณเมทริกซ์มีสมบัติต่อไปนี้  สมบัติการเปลี่ยนหมู่: (AB)C = A(BC) สาหรับเมทริกซ์ A ขนาด , B ขนาด , และ C ขนาด ใดๆ ("สมบัติการเปลี่ยนหมู่")  สมบัติการแจกแจงทางขวา: (A + B)C = AC + BC สาหรับเมท ริกซ์ A และ B ขนาด และ C ขนาด ใดๆ  สมบัติการแจกแจงทางซ้าย: C(A + B) = CA + CB สาหรับเมท ริกซ์ A และ B ขนาด และ C ขนาด ใดๆ คาเตือน: การคูณเมทริกซ์นั้นไม่เหมือนกับการคูณจานวนโดยทั่วไป เนื่องจากมันไม่มีสมบัติสลับที่ กล่าวคือ สาหรับเมทริกซ์ A ขนาด และ Bขนาด ใดๆ
  • 4. ถ้า แล้ว ผลคูณ BA ไม่มีนิยาม  แม้ m = p แต่ถ้า แล้ว AB เป็นเมทริกซ์ขนาด ส่วน BA เป็นเมทริกซ์ ขนาด ผลคูณทั้งสองจึงมีค่าไม่เท่ากันอย่างเห็นได้ชัด  แม้ m = n = p แต่ส่วนมากแล้ว AB มักจะมีค่าไม่เท่ากับ BA ยกตัวอย่างเช่น เรากล่าวว่าเมทริกซ์ A แอนติคอมมิวต์ (anticommute) กับเมทริกซ์ B ถ้า AB = − BA เมทริกซ์ที่แอนติคอม มิวต์ซึ่งกันและกันมีความสาคัญมากในการเป็นตัวแทนของพีชคณิตลีและพีชคณิตคลิฟฟอร์ด ข้อสังเกตุ i = แถว หรือ row และ j = แถวตั้ง หรือ column การสลับเปลี่ยน ดูบทความหลักที่ เมทริกซ์สลับเปลี่ยน เมทริกซ์สลับเปลี่ยนคือเมทริกซ์ที่ได้จากการสลับสมาชิก จากแถวเป็นหลัก และจากหลักเป็นแถว ของเมท ริกซ์ต้นแบบ เมทริกซ์สลับเปลี่ยนของของเมทริกซ์ A ขนาด m×n คือ AT ขนาด n×m ( หรือเขียนอยู่ใน รูปแบบ Atr, หรือ tA, หรือ A' ) ซึ่ง AT[ i, j ] = A[ j, i ] ยกตัวอย่างเช่น เมทริกซ์จัตุรัส เมทริกซ์จัตุรัส คือเมทริกซ์ที่มีขนาดแถวและหลักเท่ากัน โดยเขียนอยู่ในรูปเมทริกซ์ ขนาด n × n ยกเว้น n= 1 เมทริกซ์เอกลักษณ์ หรือ เมทริกซ์หน่วย In ขนาด n คือเมทริกซ์ขนาด n × n ที่มีตัวเลขบนเส้นทแยง มุมเป็น 1 ซึ่งสมมติให้เส้นทแยงมุมนั้นลากจากสมาชิกบนซ้ายไปยังสมาชิกขวาล่าง (เฉียงลง) ส่วนสมาชิกที่ เหลือเป็น 0 ทั้งหมด มีคุณสมบัติ MIn = M และ InN = N สาหรับทุกๆเมทริกซ์M ขนาด m × nและเมท ริกซ์ N ขนาด n × k เช่นเมื่อ n = 3:
  • 5. เมทริกซ์ที่มีลักษณะพิเศษ  เมทริกซ์สมมาตร คือ เมทริกซ์จัตุรัสที่เมื่อสลับเปลี่ยน (transpose) แล้วจะได้ผลลัพธ์เป็นเมทริกซ์ตัวเอง นั่นก็คือ หรือ ai,j = aj,i สาหรับทุกดัชนีที่ i และ j  เมทริกซ์สมมาตรเสมือน คือ เมทริกซ์จัตุรัสที่เมื่อสลับเปลี่ยน (transpose) แล้วจะได้ผลลัพธ์เป็นเมทริกซ์ ที่สมาชิกทุกตัวมีเครื่องหมายตรงข้ามจากเดิม นั่นคือ หรือ ai,j = − aj,iสาหรับทุกดัชนีที่ i และ j  เมทริกซ์เอร์มีเชียนคือ เมทริกซ์จัตุรัสที่มีสมาชิกเป็นจานวนเชิงซ้อน และเมทริกซ์สลับเปลี่ยนสังยุค (conjugate transpose) ของเมทริกซ์นั้นเท่ากับตัวเดิม นั่นหมายความว่าสมาชิกในแถวที่ i หลักที่ j กับ สมาชิกในแถวที่ j หลักที่ i จะต้องเป็นสังยุคซึ่งกันและกัน ดังนี้ หรือเขียนแทนด้วยการ สลับเปลี่ยนสังยุคของเมทริกซ์ จะได้ว่า  เมทริกซ์โทพลิทซ์ คือเมทริกซ์จัตุรัสที่มีสมาชิกในแนวเส้นทแยงมุมหลักเป็นค่าเดียวกัน และแนวขนาน เส้นทแยงมุมหลักเป็นค่าเดียวกันในแต่ละแนว นั่นคือ
  • 6. แบบฝึกหัด จากข้อ1-4จงแปลงระบบสมการต่อไปนี้ให้อยู่ในรูประบบสมการสามเหลี่ยมบน 1. 2 x +4 x -6 x = -4 1 2 3 x1 +5 x 2 +3 x 3 =10 x1 +3 x 2 +2 x 3 = 5 วิธีทา จัดรูปเป็นเมตริกซ์แต่งเติมและใช้การดาเนินการตามแถวขั้นพื้นฐาน 2 4 6 4    1 5 3 10   r2  r2  1 r 2 1 1 3 2 5   r3  r3  1 r   2 1 ขั้นที่1กาจัดตัวแปร x ในแถวที่2และ3 1 2 4 6 4    0 3 6 12  0 1 5 7   r3  r3  1 r   3 1 ขั้นที่2กาจัดตัวแปร x ในแถวที่3 2 2 4 6 4    0 3 6 12  0 0 3 3    ขั้นที่3เปลี่ยนกลับให้อยู่ในรูประบบสมการเชิงเส้น 2 x +4 x -6 x = -4 1 2 3 3 x +6 x =12 2 3 3x = 3 3
  • 7. 2. x1 + x 2 +6 x 3 = 7 - x +2 x +9 x = 2 1 2 3 x1 -2 x +3 x =10 2 3 วิธีทา จัดรูปเป็นเมตริกซ์แต่งเติมและใช้การดาเนินการตามแถวขั้นพื้นฐาน 1 1 6 7   1 2 9 2   r2  r2  1r1 1 2 3 10   r3  r3  1r1   ขั้นที่1กาจัดตัวแปร x ในแถวที่2และ3 1 1 1 6 7   0 3 15 9  0 3  3 3   r3  r3  (  1) r1   ขั้นที่2กาจัดตัวแปร x ในแถวที่3 2 1 1 6 7   0 3 15 9  0 0 12 12    ขั้นที่3เปลี่ยนกลับให้อยู่ในรูประบบสมการเชิงเส้น x1 + x 2 + 6x = 7 3 3 x +15 x = 9 2 3 12 x =12 3
  • 8. 3. 2 x -2 x +5 x = 6 1 2 3 2 x +3 x + 1 2 x 3 = 13 - x +4 x -4 x = 3 1 2 3 วิธีทา จัดรูปเป็นเมตริกซ์แต่งเติมและใช้การดาเนินการตามแถวขั้นพื้นฐาน  2 2 5 6    2 3 1 13   r2  r2  1r1 1 4  4 3   r3  r3  1 2 r1   ขั้นที่1กาจัดตัวแปร x ในแถวที่2และ3 1 2 2 5 6   0 5 4 7  0 3  1.5 6   r3  r3  3 r   5 1 ขั้นที่2กาจัดตัวแปร x ในแถวที่3 2 2 2 56    0 5 4 7  0 0 0.9 1.8    ขั้นที่3เปลี่ยนกลับให้อยู่ในรูประบบสมการเชิงเส้น 2 x -2 x +5 x = 6 1 2 3 -4 x + 2 x3 = 7 0.9 x =1.8 3
  • 9. 4. -5 x +2 x1 2 - x = -1 3 x1 +0 x 2 + 3 x 3 = 5 3x + 1 x 2 + 6 x 3 =17 วิธีทา จัดรูปเป็นเมตริกซ์แต่งเติมและใช้การดาเนินการตามแถวขั้นพื้นฐาน  2 2 5 6    2 3 1 13   r2  r2  1r1 1 4  4 3   r3  r3  1 2 r1   ขั้นที่1กาจัดตัวแปร x ในแถวที่2และ3 1 5 2 1 1     0 0.4 2.8 4.8   0 2.2 5.4 16.4   r3  r3  2.2 r   0.4 1 ขั้นที่2กาจัดตัวแปร x ในแถวที่3 2 5 2 1 1     0 0.4 2.8 4.8   0 0  10  10    ขั้นที่3เปลี่ยนกลับให้อยู่ในรูประบบสมการเชิงเส้น -5 x +2 x 1 2 - x = -1 3 0.4 x +2.8 x =4.8 2 3 -10 x =-10 3
  • 10. 5. จงหาสมการพาราโบลา y  5  3x  2x 2 ที่ผ่านจุด(1,4), (2,7) และ(3,14) ที่จุด(1,4) ได้สมการเป็น 4 = A+ B+ C ที่จุด(2,7) ได้สมการเป็น 7 = A+2B+4C ที่จุด(3,14) ได้สมการเป็น 14 = A+3B+9C วิธีทา จากระบบสมการข้างต้นจัดรูปเป็นเมตริกซ์แต่งเติมและใช้การดาเนินการตามแถวขั้นพื้นฐานได้โดย 1 1 1 4   1 2 4 7   r2  r2  1r1 1 3 9 14   r3  r3  1r1   ขั้นที่1กาจัดตัวแปรAในแถวที่2และ3 1 1 1 4   0 1 3 3 0 2 8 10   r3  r3  2 r1   ขั้นที่2กาจัดตัวแปรBในแถวที่3 1 1 1 4   0 1 3 3 0 0 2 4   ขั้นที่3เปลี่ยนกลับให้อยู่ในรูประบบสมการเชิงเส้น A+ B+ C= 4 B+3C= 3 2C= 4 ขั้นที่4ใช้การแทนค่ากลับเพื่อหาผลเฉลย C=4/2=2 B=3-3x2=-3
  • 11. A=4+3-2=5  สมการพาราโบลาคือ y  5  3 x  2 x 2 6. จงหาสมการพาราโบลา y  A  Bx  Cx 2 ที่ผ่านจุด(1,6), (2,5) และ(3,2) ที่จุด(1,4) ได้สมการเป็น 6 = A+ B+ C ที่จุด(2,7) ได้สมการเป็น 5 = A+2B+4C ที่จุด(3,14) ได้สมการเป็น 2 = A+3B+9C วิธีทา จากระบบสมการข้างต้นจัดรูปเป็นเมตริกซ์แต่งเติมและใช้การดาเนินการตามแถวขั้นพื้นฐานได้โดย 1 1 1 6   1 2 4 5   r2  r2  1r1 1 3 9 2   r3  r3  1r1   ขั้นที่1กาจัดตัวแปรAในแถวที่2และ3 1 1 1 6    0 1 3 1 0 2 8  4   r3  r3  2 r1   ขั้นที่2กาจัดตัวแปรBในแถวที่3 1 1 1 6    0 1 3 1 0 0 2 2    ขั้นที่3เปลี่ยนกลับให้อยู่ในรูประบบสมการเชิงเส้น A+ B+ C= 6 B+3C= -1 2C= -2 ขั้นที่4ใช้การแทนค่ากลับเพื่อหาผลเฉลย
  • 12. C=-2/2=-1 B=-1-3x(-1)=2 A=6-2+1=5  สมการพาราโบลาคือ y  5  2 x  x 2 7. จงหาสมการกาลัง3 y  A  Bx  C x  D x 2 3 ที่ผ่านจุด(0,0), (1,1) ), (2,2) และ(3,2) ที่จุด(0,0) ได้สมการเป็น 0=A ที่จุด(1,1) ได้สมการเป็น 1 = A+B+C+D ที่จุด(2,2) ได้สมการเป็น 2 = A+2B+4C+8D ที่จุด(3,2) ได้สมการเป็น 2 = A+3B+9C+27D วิธีทา จากระบบสมการข้างต้นจัดรูปเป็นเมตริกซ์แต่งเติมและใช้การดาเนินการตามแถวขั้นพื้นฐานได้โดย 1 0 0 0 0   1 1 1 1 1  r2  r2  r1 1 2 4 8 2  r3  r3  r1   1  3 9 27 2  r4  r4  r1  ขั้นที่1กาจัดตัวแปรAในแถวที่2,3และ4 1 0 0 0 0   0 1 1 1 1 0 2 4 8 2  r3  r3  2 r2   0  3 9 27 2  r4  r4  3 r2  ขั้นที่2กาจัดตัวแปรBในแถวที่3และ4
  • 13. 1 0 0 00    0 1 1 1 1  0 0 2 6 0    0  0 6 24  1  r4  r4  3 r3  ขั้นที่3กาจัดตัวแปรCในแถวที่4 1 0 0 0 0    0 1 1 1 1  0 0 2 6 0    0  0 0 6  1  ขั้นที่3เปลี่ยนกลับให้อยู่ในรูประบบสมการเชิงเส้น A+0B+0C+0D= 0 B+ C+ D= 1 2C+6D= 0 6D=-1 ขั้นที่4ใช้การแทนค่ากลับเพื่อหาผลเฉลย D=-1/6=- 1 6 C=6x 1 /2= 1 6 2 B=1- 1 + 1 = 2 2 6 3 A=0  สมการกาลัง3คือ y  2 1 1 x x  2 3 x 3 2 6
  • 14. จากข้อ8-10จงหาระบบสมการสามเหลี่ยมบนพร้อมทั้งหาผลเฉลย 8. 4 x1 +8 x +4 x +0 x = 8 2 3 4 x1 +5 x 2 +4 x 3 -3 x = -4 4 x1 +4 x 2 +7 x 3 +2 x 4 =10 x1 +3 x 2 +0 x 3 -2 x = -4 4 วิธีทา จากระบบสมการข้างต้นจัดรูปเป็นเมตริกซ์แต่งเติมและใช้การดาเนินการตามแถวขั้นพื้นฐานได้โดย 4 8 4 0 8    1 5 4  3  4  r2  r2  1 r 4 1 1 4 7 2 10  r3  r3  1 r 4 1   1  3 0  2  4  r4  r4   1 r 4 1 ขั้นที่1กาจัดตัวแปร x1 ในแถวที่2,3และ4 4 8 4 0 8    0 3 3 3 6  0 2 6 2 8  r3  r3  2 3 r2   0  1 1  2  6  r4  r4  1 3 r2  ขั้นที่2กาจัดตัวแปร x ในแถวที่3และ4 2 4 8 4 0 8    0 3 3 3 6  0 0 4 4 12    0  0 2  1  4  r4  r4   1 r 2 3 ขั้นที่3กาจัดตัวแปร x ในแถวที่4 3 4 8 4 0 8    0 3 3 3 6  0 0 4 4 12    0  0 0 1 2   ขั้นที่3เปลี่ยนกลับให้อยู่ในรูประบบสมการเชิงเส้น
  • 15. 4 x1 +8 x +4 x +0 x = 8 2 3 4 3 x +3 x -3 x = -6 2 3 4 4 x +4 x =12 3 4 x4 = 2 ขั้นที่4ใช้การแทนค่ากลับเพื่อหาผลเฉลย x4 = 2 x 3 =(12-4x2)/4=1 x 2 =(-6-3x1+3x2)/3=-1 x1 =(8-8x(-1)-4x1)/4=3
  • 16. 9. 2 x1 +4 x -4 x +0 x =12 2 3 4 x1 +5 x 2 - 5 x 3 - 3 x 4 =18 2 x +3 x + 1 2 x 3 +3 x 4 = 8 x1 +4 x 2 - 2 x 3 +2 x 4 = 8 วิธีทา จากระบบสมการข้างต้นจัดรูปเป็นเมตริกซ์แต่งเติมและใช้การดาเนินการตามแถวขั้นพื้นฐานได้โดย 2 4 4 0 12    1 5 5  3 18  r2  r2  1 2 r1 2 3 1 3 8  r3  r3  r1   1  4 2 2 8  r4  r4  1 2 r1  ขั้นที่1กาจัดตัวแปร x1 ในแถวที่2,3และ4 2 4 4 0 12    0 3 3  3 12  0 1 5 3  4  r3  r3  1 3 r2   0  2 0 2 2  r4  r4   2 3 r2 ขั้นที่2กาจัดตัวแปร x ในแถวที่3และ4 2 2 4 4 0 12    0 3 3  3 12  0 0 4 2 0    0  0 2 4  6  r4  r4   1 2 3 r ขั้นที่3กาจัดตัวแปร x ในแถวที่4 3 2 4 4 0 12    0 3 3  3 12  0 0 4 2 0    0  0 0 3 6  ขั้นที่3เปลี่ยนกลับให้อยู่ในรูประบบสมการเชิงเส้น
  • 17. 2 x1 +4 x -4 x +0 x =12 2 3 4 3 x -3 x -3 x =12 2 3 4 4 x +2 x = 0 3 4 3 x =-6 4 ขั้นที่4ใช้การแทนค่ากลับเพื่อหาผลเฉลย x 4 = -2 x 3 =(0-2x(-2))/4=1 x 2 =(12+3x1+3x(-2))/3=3 x1 =(12-4x3+4x1)/2=2
  • 18. 10. x1 +2 x 2 +0 x 3 -1 x 4 = 9 2 x +3 x - 1 2 x 3 +0 x 4 = 9 0 x +4 x + 2 x -5 x =26 1 2 3 4 5 x +5 x + 2 x -4 x =32 1 2 3 4 วิธีทา จากระบบสมการข้างต้นจัดรูปเป็นเมตริกซ์แต่งเติมและใช้การดาเนินการตามแถวขั้นพื้นฐานได้โดย 1 2 0 1 9    2 3 1 0 9  r2  r2  2 r1 0 4 2  5 26    5  5 2  4 32  r4  r4  5 r1  ขั้นที่1กาจัดตัวแปร x1 ในแถวที่2และ4 1 2 0 1 9    0 1 1 2 9  0 4 2  5 26  r3  r3  4 r2   0  5 2 1  13  r4  r4  5 r2  ขั้นที่2กาจัดตัวแปร x ในแถวที่3และ4 2 1 2 0 1 9    0 1 1 2 9  0 0 2 3  10    0  0 7  9 32  r4  r4   7 2 r3 ขั้นที่3กาจัดตัวแปร x ในแถวที่4 3 1 2 0 1 9    0 1 1 2 9  0 0 2 3  10    0  0 0 1.5  3   ขั้นที่3เปลี่ยนกลับให้อยู่ในรูประบบสมการเชิงเส้น
  • 19. x1 +2 x 2 +0 x 3 - x 4 = 9 - x 2 - x 3 +2 x 4 = -9 -2 x +3 x =-10 3 4 1.5 x = -3 4 ขั้นที่4ใช้การแทนค่ากลับเพื่อหาผลเฉลย x 4 = -2 x 3 =(10+3x(-2))/2=2 x 2 =9-2+2x(-2)=3 x1 =9-2x3-2=1
  • 20. 11. จงหาผลเฉลยของระบบสมการต่อไปนี้ x1 + 2 x 2 =7 2 x +3 x - 1 2 x3 =9 4 x + 2 x +3 x =10 2 3 4 2 x - 4 x =12 3 4 วิธีทา จากระบบสมการข้างต้นจัดรูปเป็นเมตริกซ์แต่งเติมและใช้การดาเนินการตามแถวขั้นพื้นฐานได้โดย 1 2 0 0 7   2 3 1 0 9  r2  r2  2 r1 0 4 2 3 10    0  0 2  4 12   ขั้นที่1กาจัดตัวแปร x1 ในแถวที่2 1 2 0 0 7    0 1 1 0 5 0 4 2 3 10  r3  r3  4 r2   0  0 2  4 12   ขั้นที่2กาจัดตัวแปร x ในแถวที่3 2 1 2 0 0 7    0 1 1 0 5  0 0 2 3  10    0  0 2  4 12  r4  r4  r3  ขั้นที่3กาจัดตัวแปร x ในแถวที่4 3
  • 21. 1 2 0 0 7    0 1 1 0 5  0 0 2 3  10    0  0 0 1 2   ขั้นที่3เปลี่ยนกลับให้อยู่ในรูประบบสมการเชิงเส้น x1 +2 x 2 +0 x 3 +0 x 4 = 7 - x 2 - x 3 +0 x 4 = -5 -2 x +3 x =-10 3 4 -x = 2 4 ขั้นที่4ใช้การแทนค่ากลับเพื่อหาผลเฉลย x 4 = -2 x 3 =(10+3x(-2))/2=2 x 2 =5-2=3 x1 =7-2x3-2=1
  • 22. 12. จงหาผลเฉลยของระบบสมการต่อไปนี้ x1 + x 2 =5 2 x -1 x + 5 x 1 2 3 = -9 3 x - 4 x +2 x =19 2 3 4 2 x +6 x = 2 3 4 วิธีทา จากระบบสมการข้างต้นจัดรูปเป็นเมตริกซ์แต่งเติมและใช้การดาเนินการตามแถวขั้นพื้นฐานได้โดย 1 1 0 0 5    2 1 5 0  9  r2  r2  2 r1 0 3 4 2 19    0  0 2 6 2   ขั้นที่1กาจัดตัวแปร x1 ในแถวที่2 1 1 0 0 5    0 3 5 0  19  0 3 4 2 19  r3  r3  r2   0  0 2 6 2   ขั้นที่2กาจัดตัวแปร x ในแถวที่3 2 1 1 0 0 5    0 3 5 0  19  0 0 1 2 0    0  0 2 6 2  r4  r4  2 r3  ขั้นที่3กาจัดตัวแปร x ในแถวที่4 3 1 1 0 0 5    0 3 5 0  19  0 0 1 2 0    0  0 0 2 2  
  • 23. ขั้นที่3เปลี่ยนกลับให้อยู่ในรูประบบสมการเชิงเส้น x1 + x 2 +0 x 3 +0 x 4 = 5 -3 x +5 x +0 x = -19 2 3 4 x 3 +2 x 4 = 0 2x = 2 4 ขั้นที่4ใช้การแทนค่ากลับเพื่อหาผลเฉลย x4 = 1 x 3 =-2 x 2 =(19-10)3=3 x1 =5-3=2
  • 24. 13. บริษัทRockmoreกาลังตัดสืนใจเลือกซื้อคอมพิวเตอร์เครื่องใหม่ ระหว่างรุ่น DoGood 174 กับMightDo 11โดยพิจรณาจากการหาผลเฉลยของระบบสมการ 34x+55y-21=0 55x+89y-34=0 เมื่อDoGood 174คานวณได้เป็นx=-0.11 และy=0.45และเมื่อลองแทนค่ากลับเพื่อตรวจสอบจะได้ผลคือ 34(-0.11)+55(0.45)-21=0.01 55(-0.11)+89(0.45)-34=0.00 เมื่อMightDo 11คานวณได้เป็นx=-0.99 และy=1.01และเมื่อลองแทนค่ากลับเพื่อตรวจสอบจะได้ผลคือ 34(-0.99)+55(1.01)-21=0.89 55(-0.99)+89(1.01)-34=1.44 คอมพิวเตอร์รุ่นไหนให้ผลเฉลยที่ดีกว่ากัน เพาะอะไร ในความเป็นจริงถ้าตรวจสอบผลเฉลยโดยการแทนค่ากลับ ผลลับธ์ที่ได้จะต้องเท่ากับ 0แต่ทั้ง2รุ่นกลับมี ความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้นทั้งคู่ โดยรุ่น DoGood 174มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้นน้อยกว่าMighDo 11 ดังนั้น ผลเฉลยจากรุ่นDoGoodจึงดีกว่า เพราะคลาดเคลื่อนน้อยกว่า จงหาผลเฉลยของระบบสมการต่อไปนี้ด้วยการกาจัดตัวแปลของเกาซ์เซียนโดย(i)การหาตัวหลักบางส่วน (ii)การหาตัวหลักบางส่วนแบบมาตรา (ใช้เลข4หลัก) (a) 2 x - 3 x + 100 x =1 1 2 3 (b) x1 + 20 x 2 - x 3 +0.001 x 4 =0 x1 + 10 x 2 - 0.001 x 3 =0 2 x - 5 x + 30 x - 0.1 x =1 1 2 3 4 3 x -100 x + 0.01 x =0 1 2 3 5x +1 x 2 -100 x 3 - 10 x =0 4 2 x -100 x - 1 2 x3 + x 4 =0
  • 25. (a/i) ขั้นที่1จัดรูปเป็นเมตริกซ์แต่งเติม 2 3 100 1   1 10  0.001 0  r1  r3 3  100 0.01 0    ขั้นที่2สลับแถวที่1กับ3 เพราะหลักที่1ในแถวที่3มีค่าสัมบูรณ์มากกว่าแถวที่1 3  100 0.01 0    1 10  0.001 0  r2  r2  1 r 3 1 2 3 100 1  r3  r3  2 r   3 1 ขั้นที่3กาจัดตัวแปร x ในแถวที่2และ3ด้วยการแทนที่ 1 3  100 0.01 0    0 43.33 0.004 0  r2  r3 0 63.67 99.99 1    ขั้นที่4สลับแถวที่2กับ3 เพราะหลักที่2ในแถวที่3มีค่าสัมบูรณ์มากกว่าแถวที่2 3  100 0.01 0    0 63.67 99.99 1  0 43.33 0.004 0  r3  r3  0.681 r1   ขั้นที่5กาจัดตัวแปร x ในแถวที่3ด้วยการแทนที่ 2 3  100 0.01 0    0 63.67 99.99 1  0 0  68.09  0.681    ขั้นที่6เปลี่ยนรูปกลับเป็นระบบสมการสามเหลี่ยมบน 3 x - 100 x + 100 x = 0 1 2 3 63.67 x +99.99 x = 1 2 3 -68.09 x =-0.681 3
  • 26. ขั้นที่7ใช้การแทนค่ากลับจะได้ผลเฉลยคือ x 3 =0.01 x 2 =0 x 3 =0 (a/ii) ขั้นที่1จัดรูปเป็นเมตริกซ์แต่งเติม 2 3 100 1   1 10  0.001 0  r1  r2 3  100 0.01 0    ขั้นที่2สลับแถวที่1กับ2 เพราะหลักที่1ในแถวที่2มีค่าสัมบูรณ์ของอัตราส่วนมากกว่าแถวที่ 1 1 10  0.001 0    2 3 100 1  r2  r2  2 r1 3  100 0.01 0  r3  r3  3 r1   ขั้นที่3กาจัดตัวแปร x ในแถวที่2และ3ด้วยการแทนที่ 1 1 10  0.001 0    0  23 100.0 1  r2  r3 0  130 0.013 0    ขั้นที่4สลับแถวที่2กับ3 เพราะหลักที่2ในแถวที่3มีค่าสัมบูรณ์ของอัตราส่วนมากกว่าแถวที่2 1 10  0.001 0    0  130 0.013 0  0  23 100 1  r3  r3  0.1769 r2   ขั้นที่5กาจัดตัวแปร x ในแถวที่3 ด้วยการแทนที่ 2
  • 27. 1 10  0.001 0    0  130 0.013 0  0 100 1    ขั้นที่6เปลี่ยนรูปกลับเป็นระบบสมการสามเหลี่ยมบน x1 + 10 x 2 - 0.001 x 3 = 0 -130 x +0.013 x = 0 2 3 100 x =1 3 ขั้นที่7ใช้การแทนค่ากลับจะได้ผลเฉลยคือ x 3 =0.01 x 2 =0 x 3 =0 (b/i) ขั้นที่1จัดรูปเป็นเมตริกซ์แต่งเติม 1 20 1 0.001 0    2 5 30  0.1 1  5 1  100  10 0  r1  r3   2   100 1 1 0  ขั้นที่2สลับแถวที่1กับ3 เพราะหลักที่1ในแถวที่3มีค่าสัมบูรณ์มากกว่าแถวที่1 5 1  100  10 0    2 5 30  0.1 1  r2  r2  0.4 r1 1 20 1 0.001 0  r3  r3  0.2 r1   2   100 1 1 0  r4  r4  0.4 r1  ขั้นที่3กาจัดตัวแปร x ในแถวที่2,3และ4ด้วยการแทนที่ 1
  • 28. 5 1  100  10 0    0  5.4 70 3.9 1  r2  r4 0 19.8 19 2.001 0    0   100.4 39 5 0  ขั้นที่4สลับแถวที่2กับ4 เพราะหลักที่2ในแถวที่4มีค่าสัมบูรณ์มากกว่าแถวที่2 5 1  100  10 0    0  100.4 39 5 0 0 19.8 19 2.001 0  r3  r3  0.1972 r2   0   5.4 70 3.9 1  r4  r4  0.0538 r2  ขั้นที่5กาจัดตัวแปร x ในแถวที่3และ4ด้วยการแทนที่ 2 5 1  100  10 0    0  100.4 39 5 0 0 0 26.69 2.987 0  r3  r4   0  0 67.9 3.631 1   ขั้นที่6สลับแถวที่3กับ4 เพราะหลักที่3ในแถวที่4มีค่าสัมบูรณ์มากกว่าแถวที่3 5 1  100  10 0    0  100.4 39 5 0 0 0 67.9 3.631 1    0  0 26.69 2.987 0  r4  r4  0.3931r3  ขั้นทึ่7กาจัดตัวแปร x ในแถวที่4ด้วยการแทนที่ 3 5 1  100  10 0    0  100.4 39 5 0  0 0 67.9 3.631 1    0  0 0 1.56  0.3931   ขั้นที่8เปลี่ยนรูปกลับเป็นระบบสมการสามเหลี่ยมบน 5x + 1 x2 - 100 x - 10 x = 0 3 4 -100.4 x + 39 x + 2 3 5x =0 4
  • 29. 67.9 x +3.631 x = 1 3 4 1.56 x =-0.3931 4 ขั้นที่9ใช้การแทนค่ากลับจะได้ผลเฉลยคือ x 4 =-0.252 x 3 =0.0028 x 2 =-0.0115 x1 =-0.4457 (b/ii) ขั้นที่1จัดรูปเป็นเมตริกซ์แต่งเติม 1 20 1 0.001 0    2 5 30  0.1 1  r1  r2 5 1  100  10 0    2   100 1 1 0  ขั้นที่2สลับแถวที่1กับ2 เพราะหลักที่1ในแถวที่2มีค่าสัมบูรณ์ของอัตราส่วนมากกว่าแถวที่ 1 2 5 30  0.1 1    1 20 1 0.001 0  r2  r2  0.5 r1 5 1  100  10 0  r3  r3  2.5 r1   2   100 1 1 0  r4  r4  r1  ขั้นที่3กาจัดตัวแปร x ในแถวที่2,3และ4ด้วยการแทนที่ 1 2 5 30  0.1 1    0 22.5  16 0.051  0.5  0 13.5  175  9.75  2.5    0   95  31 1.1  1  r2  r4  ขั้นที่4สลับแถวที่2กับ4 เพราะหลักที่2ในแถวที่4มีค่าสัมบูรณ์ของอัตราส่วนมากกว่าแถวที่ 2
  • 30. 2 5 30  0.1 1    0  95  31 1.1 1  0 13.5  175  9.75  2.5  r3  r3  0.1421r2   0  22.5  16 0.051  0.5  r4  r4  0.2368 r2  ขั้นที่5กาจัดตัวแปร x ในแถวที่3และ4ด้วยการแทนที่ 2 2 5 30  0.1 1    0  95  31 1.1 1  0 0  179.4  9.594  2.642    0  0  23.34 0.3115  0.7368  r4  r4  0.1301r3  ขั้นที่6กาจัดตัวแปร x ในแถวที่4ด้วยการแทนที่ 3 2 5 30  0.1 1    0  95  31 1.1 1  0 0  179.4  9.594  2.642    0  0 0 1.56 0   ขั้นที่7เปลี่ยนรูปกลับเป็นระบบสมการสามเหลี่ยมบน 2 x - 5 x + 30 x - 0.1 x = 1 1 2 3 4 -95 x - 31 x + 1.1 x =-1 2 3 4 -179.4 x -9.594 x =-2.642 3 4 1.56 x = 0 4 ขั้นที่9ใช้การแทนค่ากลับจะได้ผลเฉลยคือ x 4 =0 x 3 =0.0147 x 2 =0.0057 x1 =0.2938
  • 31. 15 จงหาผลเฉลยของระบบสมการAX=B ที่เป็นเมตริกซ์ของฮิลเบอร์ท ซึ่งเป็นเมตริกซ์ที่สภาวะไม่ เหมาะสมโดยกาหนดAและBให้ (a)คานวนโดยติดเศษศ่วนไว้ 1 1 2 1 3 1 4  1  1 1 1 1    0 A=  12 3 4 5  , B=   3 1 4 1 5 1 6  0  1 1 1 1    4 5 6 7  0  ขั้นที่1ทาเป็นเมตริกซ์แต่งเติม 1 1 2 1 3 1 4 1 1  2 1 3 1 4 1 5 0  r2  r2  1 r1 2 1 1 1 1 0  r3  r3  1 r1 3 4 5 6 3 1  4  1 5 1 6 1 7 0  r4  r4  1 r1  4 ขั้นที่2กาจัดตัวแปร x ในแถวที่2,3และ4โดยการแทนที่ 1 1 1 2 1 3 1 4 1    0 1 12 1 12 3 40  1 2 0 1 4 1  1  r3  r3  r2 12 45 12 3   0  3 40 1 12 9 112  4  r4  r4  190 r2 1  ขั้นที่3กาจัดตัวแปร x ในแถวที่3และ4โดยการแทนที่ 2 1 1 2 1 3 1 4 1    0 1 12 1 12 3 40  1 2 0 0 1 1 1  180 120 6    r  r4  1 9 1 3 0  0 120 700 5  4 2 r3 ขั้นที่4กาจัดตัวแปร x ในแถวที่4โดยการแทนที่ 3 1 1 2 1 3 1 4 1    0 1 12 1 12 3 40 1  2 0 0 1 1 1  180 120 6   0  0 0 1 2800  20  1 
  • 32. ขั้นที่5หาผลเฉลยโดยใช้การแทนค่ากลับ x 4 =-140 x 3 =240 x 2 =-120 x1 =16 (b)คานวนโดยใช้เลข4หลัก  1.0000 0.5000 0.3333 0.2500  1      0.5000 0.3333 0.2500 0.2000 0 A=   , B=    0.3333 0.2500 0.2000 0.1667  0       0.2500 0.2000 0.1667 0.1429  0  ขั้นที่1ทาเป็นเมตริกซ์แต่งเติม  1.0000 0.5000 0.3333 0.2500 1     0.5000 0.3333 0.2500 0.2000 0  r2  r2  0.5000 r1  0.3333 0.2500 0.2000 0.1667 0  r3  r3  0.3333 r1    0.2500  0.2000 0.1667 0.1429 0  r4  r4  0.2500 r1  ขั้นที่2กาจัดตัวแปร x ในแถวที่2,3และ4โดยการแทนที่ 1 1.0000 0.5000 0.3333 0.2500 1     0 0.0833 0.0834 0.0750  0.5000   0 0.0834 0.0889 0.0834  0.3333  r3  r3  1.001r2    0  0.0750 0.0834 0.0804  0.2500  r4  r4  0.9004 r2  ขั้นที่3กาจัดตัวแปร x ในแถวที่3และ4โดยการแทนที่ 2 1.0000 0.5000 0.3333 0.2500 1     0 0.0833 0.0834 0.0750  0.5000   0 0 0.0054 0.0083 0.1672     0  0 0.0083 0.0129 0.2002  r4  r4  1.537 r2 
  • 33. ขั้นที่4กาจัดตัวแปร x ในแถวที่4โดยการแทนที่ 3 1.0000 0.5000 0.3333 0.2500 1     0 0.0833 0.0834 0.0750  0.5000   0 0 0.0054 0.0083 0.1672     0  0 0 0.0001  0.0568   ขั้นที่5หาผลเฉลยโดยใช้การแทนค่ากลับ x 4 =-568 x 3 =904 x 2 =-399.7 x1 =41.55