SlideShare a Scribd company logo
1 of 39
Download to read offline
.Mean S Multi Asset Strategies
 KBank                                                                                                         Strategies
                                                                                                               Macro / Multi Asset
  ถนนทุกสายมุงหนาสูกรุงโรม                                                                                  September 2011
                                                                                                               Volume 52
          ตัว เลขการประมาณการเศรษฐกิ จ ในช ว งนี้สะทอ นวา ตลาดยัง มองวา จะไมเ กิด ภาวะ
          ถดถอยทางเศรษฐกิจครั้งที่สอง
                                                                                                               Kobsidthi Silpachai, CFA –Kasikornbank
                                                                                                               kobsidthi.s@kasikornbank.com
          ECBพยายามกดผลตอบแทนพันธบัตรอิตาลีลง แตยังดูเหมือนไรประโยชนและเยอรมนี
          อาจจําเปนใหเงินชวยเหลือยุโรปตอไป ความฝนของฮิตเลอรจะเริ่มเปนจริงหรือ?                          KResearch
                                                                                                               kr.bd@kasikornresearch.com

          Price to book ratio ของหุนกลุมธนาคารที่ลดลงต่ํากวา 0.5 เปนสัญญาณเตือนวิกฤต
          การเงินซึ่งเกิดขึ้นแลวในป1997 และ2008 เราเห็นความเสี่ยงแบบเดียวกันในป 2011
                                                                                                                 Disclaimer: This report
          หากนโยบายการคลังมีขอจํากัดในสหรัฐฯและสหภาพยุโรป การผอนคลายเชิงปริมาณ                                 must be read with the
          ทางการเงิ น จึ ง เป น ทางเลื อ กเดี ย วที่ อ าจช ว ยลดภาระหนี้ รั ฐ บาล ผ า นกลไกอั ต รา            Disclaimer on page 9
                                                                                                                 that forms part of it
          แลกเปลี่ยน
          เราคงเปาหมาย USD/THBที่ 29.00 ชวงปลายป และที่ 28.00 สําหรับปลายป 2012                              “KBank Multi Asset
                                                                                                                 Strategies”
          ในส ว นของตลาดหุ น เราคงเป า หมายดั ช นีหุ น ไทยที่ ร ะดับ 1250 ในปนี้ และคาดว า                 can now be accessed on
                                                                                                                 Bloomberg: KBCM <GO>
          เปาหมายในปหนาจะอยูท่ี 1320

Key Parameters & Forecasts at Year-end
                     2004 2005 2006                                      2007     2008     2009     2010     2011E        2012E
GDP, % YoY                                   6.3           4.6     5.2      4.9      2.5     -2.3     7.8        3.8             5.0
Consumption, % YoY                           6.2           4.6     3.0      1.6      2.7     -1.1     4.8        3.6             4.0
Investment Spending, % YoY                  13.2          10.5     3.9      1.3      1.2     -9.2     9.4        6.6             7.0
Govt Budget / GDP %                          -0.2          0.3    -0.7     -1.5     -1.0     -5.6     -3.2        -4             -4.5
Export, % YoY                               21.6          15.2    17.0     17.3     15.9    -14.0    28.5        20               12
Import, % YoY                               25.7          25.8     7.9      9.1     26.5    -25.2    36.8       26.5            13.5
Current Account (USD bn)                    2.77          -7.6     2.3     14.1      1.6     21.9    14.8          7             4.3
CPI % YoY, average                           2.8           4.5     4.6      2.3      5.5     -0.9     3.3        3.9             4.0
USD/THB                                     38.9          41.0    36.1     33.7     34.8     33.3    31.4       29.0            28.0
Fed Funds, % year-end                       2.25          4.25    5.25     4.25     0.25     0.25    0.25       0.25            0.25
BOT repo, % year-end                        2.00          4.00    5.00     3.25     2.75     1.25    2.00       4.00            4.25
Bond Yields
  2yr, % year-end                           2.78          4.94    5.02     3.91     1.98     2.17    2.35        4.2             4.4
    5yr, % year-end                          4.0           5.3     5.1      4.5      2.2      3.6    2.75        4.3             4.5
    10yr, % year-end                         4.9           5.5     5.4      4.9      2.7      4.3    3.25        4.4             4.6
USD/JPY                                    102.5         118.0   119.1    111.8     90.7     93.0    82.0        78               84
EUR/USD                                     1.36          1.18    1.32     1.46     1.40     1.43    1.40       1.43            1.43
SET Index                                  668.1         713.7   679.8    858.1    450.0    734.5    1040      1250            1320


Source: Bloomberg, CEIC, KBank, KResearch, KSecurities




11

1                                                                                                      WWW.KASIKORNBANKGROUP.COM
KBank Thai Government Bond Rich / Cheap model

 Bps (actual YTM vs. model)
       20.00

       15.00

       10.00

          5.00

          0.00

          -5.00

      -10.00

      -15.00                                                                                                                                                                                                                                             3 mth avg
                                                                                                                                                                                                                                                         Now
      -20.00




                                                                                                                                                                                                                                                         LB296A
                       LB123A

                                LB133A

                                            LB137A

                                                         LB145B

                                                                     LB14DA

                                                                                   LB155A

                                                                                                 LB15DA

                                                                                                          LB167A

                                                                                                                   LB16NA

                                                                                                                            LB175A

                                                                                                                                     LB183B

                                                                                                                                                    LB191A

                                                                                                                                                              LB196A

                                                                                                                                                                            LB198A

                                                                                                                                                                                          LB19DA

                                                                                                                                                                                                        LB213A

                                                                                                                                                                                                                   LB24DA

                                                                                                                                                                                                                               LB267A

                                                                                                                                                                                                                                             LB283A



                                                                                                                                                                                                                                                                      LB396A
Source: Bloomberg, KBank



KBank THB NEER Index                                                                                                                 KBank USD/THB – FX Reserves / USD Majors model

    Jan 1995 = 100                   KBank THB Trade Weighted Index                                                                                                                          KBank USD/THB model
                                                                                                                                              48
    105                                                                                                                                       46
                                                                                                                                              44
    100                                                               + 1 std                                                                 42
                                                                        d                                                                     40
     95                                                                                                                                       38
                                                                                                                                              36
     90
                                               average                                                                                        34
                                                                                                                                              32
     85
                                                                                                                                              30
     80                                                                  -1 std dev                                                           28
                                                                                                                                                    01       02        03        04           05         06        07         08        09        10        11         12
     75
          00      01       02        03      04          05        06         07            08      09      10     11                                                                                       actual                 model

Source: Bloomberg, KBank                                                                                                             Source: Bloomberg, KBank



FX reserves – USD/THB model                                                                                                          DXY – USD/THB model
 USD/THB                                                                                                                               USD/THB                                                              since 2001
  48                                                                                                                                      50
  46
                                          y = -7.4436Ln(x) + 69.146
  44                                                 2                                                                                    45
  42                                              R = 0.8869
  40                                                                                                                                      40
  38
  36                                                                                                                                      35                                                                                                          y = 29.133Ln(x) - 92.911
                                                                                                                                                                                                                                                                  2
  34                                                                                                                                                                                                                                                         R = 0.7626
  32                                                                                                                                      30
  30
  28                                                                                                                                      25
  26                                                                                                                                               70        75        80            85            90         95        100        105         110        115         120       125
      25           50           75          100          125            150          175            200     225      250                                                                                                                                                       DXY
    FX reserves to USD/THB mapping                current         2011 forecast                      FX reserves, USD bn                                                             DXY to USD/THB mapping                              current

Source: Bloomberg, KBank                                                                                                             Source: Bloomberg, KBank




22

2
KBank BOT repo model                                                                                                                 SET forward dividend yield vs. 10yr bond yield
    %                                                                                                                                  %
    5.5                                                                                                                                9
    5.0                                                                                                                                8
    4.5                                                                                                                                7
    4.0
                                                                                                                                       6
    3.5
    3.0                                                                                                                                5
    2.5                                                                                                                                4
    2.0                                                                                                                                3
    1.5                                                                                                                                2
    1.0
    0.5                                                                                                                                1
    0.0                                                                                                                                0
          01    02         03         04     05        06        07        08        09    10       11           12       13               00          01          02     03        04         05        06        07           08     09        10       11
                                                        actual                 model                                                                                           10yr yields                 SET forward dividend yields

Source: Bloomberg, KBank                                                                                                             Source: Bloomberg, KBank



Thai inflation parameters                                                                                                            Thai contribution to GDP growth
    10%                                                                                                                               % yoy
                                                                                                                                        15
     8%
     6%                                                                                                                                 10

     4%                                                                                                                                    5

     2%                                                                                                                                    0

     0%                                                                                                                                    -5

    -2%                                                                                                                                -10

    -4%                                                                                                                                -15

    -6%                                                                                                                                              1Q09                3Q09                  1Q10              3Q10                         1Q11
       Jan-05              Jan-06          Jan-07            Jan-08            Jan-09       Jan-10               Jan-11                               Private consumption                    Government Consumption                   Gross fixed capital formation

                                                  CPI yoy                        Core CPI yoy                                                        Inventory change                        Net exports                              GDP yoy

Source: CEIC, KBank                                                                                                                  Source: NESDB, KBank


Implied forward curve: swaps                                                                                                         Implied forward curve: TGBs
     %                                                 Implied forward rate shifts (IRS)                                                %
                                                                                                                                                                                     Implied bond yield curve shifts
    4.00                                                                                                                               4.00

    3.80
                                                                                                                                       3.80
    3.60
                                                                                                                                       3.60
    3.40

    3.20                                                                                                                               3.40


    3.00                                                                                                                               3.20
           0          1           2          3           4            5          6         7            8             9         10               0        1       2   3        4      5   6          7      8          9    10 11          12    13      14 15
                    Sep-11                 Dec-11                Mar-12                   Sep-12                  tenor (yrs)                                  Sep-11              Dec-11                Mar-12               Sep-12                  tenor (yrs)

Source: Bloomberg, KBank                                                                                                             Source: Bloomberg, KBank


US 2yr yields and implied forward                                                                                                    US 5yr yields and implied forward

    7.0                                                                                                                                8
    6.0                                                                                                                                7

    5.0                                                                                                                                6
                                                                                                                                       5
    4.0
                                                                                                                                       4
    3.0
                                                                                                                                       3
    2.0                                                                                                                                2
    1.0                                                                                                                                1
    0.0                                                                                                                                0
          00   01     02     03       04   05     06     07 08            09    10     11 12       13       14     15     16                00       01       02   03   04     05    06      07     08     09     10       11    12   13    14     15    16

                                           2yr yields, %                   implied forwards                                                                                    5yr yields, %                implied forwards

Source: Bloomberg, KBank                                                                                                             Source: Bloomberg, KBank




33

3
KBank EUR/THB model                                                                    KBank JPY/THB model

                                              EUR/THB                                                                                JPY/THB
                                                                                         43.0
    56.0
    54.0                                                                                 41.0
    52.0                                                                                 39.0
    50.0                                                                                 37.0
    48.0
    46.0                                                                                 35.0
    44.0                                                                                 33.0
    42.0                                                                                 31.0
    40.0                                                                                 29.0
    38.0
    36.0                                                                                 27.0
    34.0                                                                                 25.0
           01   02   03    04   05        06       07     08       09   10   11   12             01   02   03     04   05        06       07     08       09   10   11   12

                                     actual             model                                                               actual             model

Source: Bloomberg, KBank                                                               Source: Bloomberg, KBank




KBank GBP/THB model                                                                    KBank CNY/THB model

                                              GBP/THB                                                                                   CNY/THB
                                                                                         5.8
    78.0
                                                                                         5.6
    73.0
                                                                                         5.4
    68.0                                                                                 5.2
    63.0                                                                                 5.0
    58.0                                                                                 4.8
                                                                                         4.6
    53.0
                                                                                         4.4
    48.0                                                                                 4.2
    43.0                                                                                 4.0
           01   02   03    04   05        06       07     08       09   10   11   12            01    02   03     04   05       06        07     08      09    10   11   12

                                              actual            model                                                                actual           model

Source: Bloomberg, KBank                                                               Source: Bloomberg, KBank




KBank THB/VND model                                                                    KBank AUD/THB model
                                               THB/VND                                                                               AUD/THB
    800
                                                                                         35.0
    750
    700                                                                                  33.0
    650                                                                                  31.0
    600
                                                                                         29.0
    550
    500                                                                                  27.0
    450                                                                                  25.0
    400
    350                                                                                  23.0
    300                                                                                  21.0
           01   02   03    04   05       06        07     08       09   10   11   12             01   02   03     04   05        06       07     08       09   10   11   12

                                              actual            model                                                                actual            model

Source: Bloomberg, KBank                                                               Source: Bloomberg, KBank




44

4
ถนนทุกสายมุงหนาสูกรุงโรม

ความฝนของฮิตเลอรตอการยึดครองยุโรปไดถกจุดขึ้นอีกครั้ง
                                                  ู                                                    Kobsidthi Silpachai, CFA - Kasikornbank
สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 อดอลฟ ฮิตเลอรพยายามที่จะควบคุมยุโรปและทั่วทุกภูมิภาคในโลก แผนการ             kobsidthi.s@kasikornbank.com

                                                                                                       Nalin Chutchotitham – Kasikornbank
รุกรานของนาซีเยอรมันเกิดขึ้นที่โปแลนดเปนแหงแรก และตามดวยเบลเยียมและเนเธอรแลนด การรุกราน          nalin.c@kasikornbank.com
ของฝายอักษะ (Axis) ทางตอนใตนําโดย เบนิโต มุสโสลินีผูปกครองอิตาลี แตกองกําลังของอิตาลีไดพบกับ      Amonthep Chawla, Ph.D. – Kasikornbank
                                                                                                       Amonthep.c@kasikornbank.com
ความยากลําบากที่จะยึดพื้นที่ในลิเบียเพื่อใชเปนกันชนกับการบุกรุกของฝายสัมพันธมิตร(Allies) สูยุโรป
เนื่องจากนายพลมอนตโกเมอรร่ของกองกําลังภาคพื้นดินของอังกฤษกําลังเคลื่อนตัวใกลเขามา ในที่สุด ฮิต
                                ี
เลอรตองสงนายพลคนสําคัญที่สุดคนหนึ่ง คือนายพลเออรวิน รอมเมล (ฉายาจิ้งจอกทะเลทราย) เพื่อชวย
ฝายอักษะควบคุมแอฟริกาเหนือไว โดยหวังที่จะบุกสหภาพโซเวียตจากทางใต ดวยการสนับสนุนทางทหาร
จากสหรัฐอเมริกาที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ฝายพันธมิตรไดชัยชนะเหนือฝายอักษะในแอฟริกาเหนือมากขึ้น
และในที่สุดไดนําไปสูการบุกเขาสูอิตาลี การปลดปลอยกรุงโรม และการลมสลายของฝายอักษะในยุโรป

ในศตวรรษที่ 21 ฉากการตอสูของยุโรปไมใชดานการทหาร (อยางนอยก็ยังไมถึงเวลา) แตเปนการกระจาย
อํานาจทางเศรษฐกิจ และการดํารงไวซึ่งยูโรโซนตลอดชวง /ปที่ผานมาก็ถือเปนความสําเร็จในการรวมกลุม
ทางการเงินครั้งยิ่งใหญครั้งหนึ่ง

อยางไรก็ตาม จุดออนของยูโรโซนคือการขาดการรวมตัวทางการคลัง หลักฐานบางสวนของความรวมมือ
ทางการคลังคือสนธิสัญญามาสตริกซ (Maastricht Treaty) ซึ่งสมาชิกไมไดมีการบังคับใชอยางจริงจัง
ตราบใดที่สถานการณเศรษฐกิจยังดูดี ตัวอยางการรักษาวินัยทางการคลังของประเทศกลุมสมาชิกหนึ่ง
อยางในสนธิสญญามาสตริกซ คือ การกําหนดเพดานหนี้สาธารณะตอจีดีพีที่ 60% สําหรับการรวมตัวของ
              ั
ประเทศในยุโรปนั้น เกอรฮารด ชรอยเดอร นายกรัฐมนตรีของเยอรมันีคนกอนไดใหวลีครั้งหนึ่งวา ถึงเวลา
แลวที่จะสราง "สหรัฐยุโรป" ทั้งนี้ในรายงาน Multi Asset Strategies เดือนพฤษภาคม 2010 เราไดต้ัง
ขอสังเกตวาหนึ่งในแรงจูงใจหรือแมแบบสําหรับยูโรโซนก็คอสหรัฐอเมริกานี่เอง:
                                                      ื

            ขณะที่การกอตั้งสหภาพยุโรปใชเวลาไมมากนักโดยเพิ่งเริ่มตนในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่
2 เทานั้น อีกประเด็นที่มีความแตกตางกันคือ ในแงของการปกครอง โดยการปกครองของสหรัฐฯ
ประกอบด ว ยรั ฐ บาลท อ งถิ่ น และรั ฐ บาลกลางที่ มี ก ระบวนการและผ า นบททดสอบมาในระดั บ หนึ่ ง
โดยเฉพาะในชวงที่เกิดสงครามกลางเมืองในสหรัฐฯ อเมริกา ในขณะที่สถาบันหรือองคกรกึ่งรัฐของยุโรป
ยังไมเคยเผชิญกับความทาทายในลักษณะดังกลาวนับจากที่เริ่มกอตั้งมาจนถึงปจจุบัน




55

5
ในสวนของการจัดตั้งหรือใชสกุลเงินยูโรรวมกันของกลุมประเทศสมาชิกยูโรโซนมีขอกําหนด
ภายใตสนธิสัญญามาสตริกซ 4 ขอ ไดแก
          1. ประเทศสมาชิกตองรักษาวินัยทางการคลังใหอยูในระดับที่กําหนดไว โดยตองดูแลไมให
              การขาดดุลงบประมาณรายปสูงเกินรอยละ 3 ของ GDP ขณะที่หนี้ภาครัฐตองไมเกิน
              รอยละ 60 ของ GDP
          2. ในสวนของอัตราเงินเฟอ ตองดูแลไมใหอัตราเงินเฟอของประเทศปรับตัวขึ้นสูงกวารอยละ
              1.5 ของอัตราเงินเฟอเฉลี่ยของ 3 ประเทศสมาชิกที่มีอัตราเงินเฟออยูในระดับต่ําสุด
          3. คาเงินในแตละประเทศจะตองมีการปรับตัวหรือมีความผันผวนอยูในกรอบปกติของระบบ
              การเงินยุโรปเปนเวลาอยางนอย 2 ป ซึ่งเปนขอบังคับเพิ่มเติมสําหรับสมาชิกใหม
          4. ดานอัตราดอกเบี้ยกําหนดวา อัตราดอกเบี้ยระยะยาวจะตอ งไมสูง เกิน รอ ยละ 2 ของ
              คาเฉลี่ยของ 3 ประเทศสมาชิกที่มีอัตราดอกเบี้ยอยูในระดับต่ําที่สุด

เมื่อเร็ว ๆ นี้ตลาดการเงินผอนคลายความกังวลลงหลังจากศาลรัฐธรรมนูญของเยอรมันนีตัดสินวา การให
ความชวยเหลือทางการเงินแกกรีซของรัฐบาลเยอรมันไมผิดกฎหมาย อยางไรก็ดี การกาวไปสูการรวมศูนย
ทางการคลัง เชนการออกพันธบัตรยูโร (eurobonds) เปนสิ่งที่ไมถูกตองตามกฎหมาย

รูปที่ 1. หนี้สาธารณะตอขนาดเศรษฐกิจ (จีดีพี) ของประเทศ PIIGS                                             รูปที่ 2. การจัดอันดับความสามารถในการแขงขัน ป 2011
     %          EUR inception                  public debt to GDP
                  180                                                                                         5.5
                                                                                                              5.3
                  160
                                                                                                              5.1
                  140                                                                                         4.9
                                                                                                              4.7
                  120
                                                                                                              4.5
                  100                                                                                         4.3
                   80                                                                                         4.1
                                                                                                              3.9
                   60                                                                                         3.7
      95   96   97 40
                   98    99     00   01   02      03    04     05   06   07   08   09      10   11   12       3.5
                                                                                                                              Netherlands




                                                                                                                                                                                                                                    Portugal
                                                                                                                                                                Austria




                                                                                                                                                                                                          Estonia




                                                                                                                                                                                                                                                        Malta
                                                                                                                                                      Belgium
                                                                                                                                            Germany




                                                                                                                                                                                                                            Italy
                                                                                                                    Finland




                                                                                                                                                                          France

                                                                                                                                                                                   Luxembourg
                                                                                                                                                                                                Ireland


                                                                                                                                                                                                                    Spain




                                                                                                                                                                                                                                                                                      Greece
                                                                                                                                                                                                                                               Cyprus


                                                                                                                                                                                                                                                                Slovenia

                                                                                                                                                                                                                                                                           Slovakia
                   20

                   Portugal          Ireland           Italy        Greece         Spain

Source: Bloomberg, CEIC, KBank                                                                            Source: World Economic Forum




จะเกิดอะไรขึ้น หากการประเมินสถานการณเศรษฐกิจในป 2012 ของตลาดนั้นผิดพลาด
ในเดือนกันยายนปค.ศ. 2001 เหตุการณ 9/11 เพิ่มแรงกดดันใหภาวะเศรษฐกิจของสหรัฐฯแยลงไปอีก
ในชวงที่เศรษฐกิจใกลเขาสูภาวะถดถอยทางเทคนิคจากภาวะฟองสบูแตกในภาคเทคโนโลยีสาระสนเทศ
(tech bubble) ในป 2000 ตอมาในเดือนกันยายนป ค.ศ. 2006 ประเทศไทยไดเห็นการปฏิวัติรัฐประหาร
และลาสุดในเดือนกันยายนปค.ศ. 2008 บริษัท เลหแมนบราเดอรส ลมลงและยืนยันการสิ้นสุดของฟองสบู
ซับพรามหรือฟองสบูในภาคอสังหาริมทรัพยของสหรัฐฯ เมื่อไมนานมานี้ ซีอีโอของ ดอยซแบงก เอจี โจเสฟ
แอคเคอรแมนน กลาวถึงบรรยากาศทางการเงินขณะนี้วา ... "สถานการณขณะนี้กําลังรื้อฟนสถานการณ
ชวงป 2008 แมวาภาคธนาคารของยุโรปมีฐานะการเงินที่แข็งแกรงมากขึ้นและพึ่งพาสภาพคลองระยะสั้น
จากธนาคารกลางนอยลง" ในขณะนี้ ทุกคนเห็นพรองกันวา ภาวะเศรษฐกิจยังคงสดใสในป 2012 เศรษฐกิจ


66

6
สหรัฐฯคาดวาจะเติบโต 2.4% ยูโรโซนที่ 1.4% ประเทศไทยจะเห็นการเติบโตที่ 4.9% ในป 2012 ซึ่งเปนปที่
นอสตราดามูส และปฏิทินมายันไดทํานายไววาเปนวันสิ้นโลก

รูปที่ 3. การประมาณการของตลาด - การขยายตัวทางเศรษฐกิจและอัตราเงินเฟอป 2012
                            current       1mth         3mth         6mth        current          1mth    3mth   6mth
                           2012e GDP       ago          ago          ago       2012e CPI          ago     ago    ago

 AUSTRALIA                       4.3        4.0          4.0          4.0           2.7            3.0    3.0    2.8
 BRAZIL                          3.9        4.1          4.1          4.5           5.3            5.0    5.0    4.6
 CHINA                           8.8        8.8         N/A          N/A            4.3            4.0    N/A    N/A
 COLOMBIA                        5.1        5.1          5.0          4.9           3.5            3.5    3.6    3.6
 EUROZONE                        1.4        1.7          1.7          1.7           2.0            2.0    2.0    2.0
 FRANCE                          1.7        1.7          1.7          1.8           1.8            1.8    1.8    1.6
 GERMANY                         1.7        2.0          2.0          2.0           1.8            1.9    1.9    1.8
 GREECE                          0.1        0.1          0.9         -0.1           1.4            1.4    0.5    0.7
 HONG KONG                       4.9        4.7          4.7          4.5           4.5            4.5    4.0    3.2
 HUNGARY                         3.0        3.0          3.2          2.8           3.6            3.6    3.0    3.6
 INDONESIA                       6.7        6.5          6.5          6.3           6.3            6.1    5.5    6.1
 IRELAND                         1.9        1.9          1.9          2.3           1.4            1.4    1.6    1.7
 ISRAEL                          4.0        4.0          3.9          3.8           2.8            2.8    3.0    2.5
 ITALY                           0.9        1.1          1.2          1.3           2.0            2.1    2.0    1.9
 JAPAN                           2.8        2.9          1.9          1.8           0.2            0.3    0.3    0.3
 KUWAIT                          4.0        4.0          4.5          4.4           5.0            5.0    4.8    4.3
 MALAYSIA                        5.2        5.7          5.7          4.8           3.0            3.1    2.9    2.5
 MEXICO                          3.9        3.8          3.9          3.8           3.9            3.9    3.9    3.7
 PHILIPPINES                     5.7        5.8          5.8          5.4           4.5            4.5    4.5    4.5
 PORTUGAL                        -1.8      -1.7          0.8          0.6           1.8            1.8    1.8    2.3
 RUSSIA                          4.5        4.5          4.4          4.4           7.7            7.7    7.5    7.8
 SAUDI ARABIA                    4.1        4.1          4.6          4.5           5.5            5.5    5.3    4.7
 SINGAPORE                       4.9        5.1          5.1          5.8           2.9            2.5    3.0    3.0
 SOUTH AFRICA                    3.7        4.0          4.0          4.0           6.2            5.7    5.7    5.8
 SOUTH KOREA                     4.6        4.6          4.4          4.8           3.2            3.3    3.1    3.3
 SPAIN                           1.4        1.4          1.3          1.4           1.9            2.0    2.1    1.9
 SWITZERLAND                     1.4        2.1          2.1          2.3           0.6            1.2    1.2    1.3
 TAIWAN                          5.0        5.0          5.0         N/A            2.2            2.2    N/A    N/A
 THAILAND                        4.9        4.9          4.9          5.3           3.9            3.2    3.2    3.6
 TURKEY                          4.0        4.5          4.5          5.0           6.0            6.6    6.6    6.4
 BRITAIN                         1.8        1.9          2.0          2.1           2.6            2.5    2.3    2.0
 UNITED STATES                   2.4        2.9          3.1          3.2           2.1            2.1    2.1    2.0
Source: Bloomberg, CEIC, KBank




เหตุการณที่คลายกับปค.ศ. 2008 กําลังกลับมาอีกครั้ง สังเกตจากความแตกตางระหวางสิ่งที่เราเคยคาดวา
จะเกิดในป 2009 กับสิ่งที่เกิดขึ้นจริง และสามารถชี้ใหเห็นวาวานักเศรษฐศาสตรก็เปนเพียงมนุษยคนหนึ่ง
ที่ยอมทําผิดพลาดได และการผิดพลาดในปค.ศ. 2009 ก็ถือเปนการผิดพลาดครั้งใหญ
    




77

7
รูปที่ 4. การประมาณการของตลาด - การขยายตัวทางเศรษฐกิจและอัตราเงินเฟอป 2009
                             2009 GDP estimates         2009 actual GDP        2009 inflation       2009 actual inflation
                                pre Lehmans                 reading            estimates pre              reading
                                                                                 Lehmans
 AUSTRALIA                           2.8                        1.4                 3.2                      1.9
 BRAZIL                              3.5                        -0.6                4.9                      4.9
 CHINA                               9.4                        9.2                 5.1                      -0.7
 COLOMBIA                            4.5                        1.5                 4.8                      4.2
 EUROZONE                            1.1                        -4.2                2.4                      0.3
 FRANCE                              1.2                        -2.7                N/A                      0.1
 GERMANY                             1.0                        -5.1                N/A                      0.2
 GREECE                             N/A                         -2.4                N/A                      1.3
 HONG KONG                           4.5                        -2.7                4.4                      0.5
 HUNGARY                            N/A                         -6.6                N/A                      4.2
 INDONESIA                           6.1                        4.6                 7.8                      4.9
 IRELAND                            N/A                         -7.0                N/A                      -1.7
 ISRAEL                             N/A                         0.8                 N/A                      3.3
 ITALY                               0.6                        -5.2                2.5                      0.8
 JAPAN                               1.2                        -6.3                N/A                      -1.3
 KUWAIT                             N/A                         N/A                 N/A                      N/A
 MALAYSIA                           N/A                         -1.6                N/A                      0.7
 MEXICO                              2.9                        -6.1                3.9                      5.3
 PHILIPPINES                        N/A                         1.1                 N/A                      4.2
 PORTUGAL                           N/A                         -2.5                N/A                      -0.9
 RUSSIA                              7.0                        -7.8                11.3                     11.7
 SAUDI ARABIA                       N/A                         0.6                 N/A                      5.1
 SINGAPORE                           5.8                        -0.8                3.0                      0.6
 SOUTH AFRICA                        3.2                        -1.7                7.4                      7.1
 SOUTH KOREA                         4.6                        0.3                 3.7                      2.8
 SPAIN                               0.1                        -3.7                2.8                      -0.2
 SWITZERLAND                         1.5                        -1.9                1.7                      -0.5
 TAIWAN                             N/A                         -1.9                N/A                      -0.9
 THAILAND                            5.1                        -2.3                4.0                      -0.8
 TURKEY                              4.5                        3.9                 8.5                      6.3
 BRITAIN                             0.9                        -4.9                2.6                      2.2
 UNITED STATES                       1.5                        -3.5                2.8                      -0.4
Source: Bloomberg, CEIC, KBank




รูปที่ 4. เปนสัญญาณเตือนวาสถานการณป 2012 อาจจะคลายกับป 2009 (แมตลาดยังมองวาการเกิด
ภาวะทดถอยทางเศรษฐกิจยังมีความเปนไปไดที่จํากัด) โดยบงชี้วาเศรษฐกิจประเทศใดจะมีภูมตานทานที่
                                                                                             ิ
ดีกวาในสภาวะที่ภาวะเศรษฐกิจโลกชะลอตัว เศรษฐกิจที่ไมไดเผชิญกับการหดตัวทางเศรษฐกิจในป 2009
ไดแก ออสเตรเลีย จีน โคลัมเบีย อินโดนีเซีย อิสราเอล ฟลิปปนส ซาอุดิอาระเบีย เกาหลีใต และตุรกี




88

8
รูปที่ 5. การประเมินสถานการณเศรษฐกิจสหรัฐฯป 2009 ของตลาด ณ ป                            รูปที่ 6. การประเมินสถานการณเศรษฐกิจยุโรปป 2009 ของตลาด ณ ป 2008
2008 ผิดพลาด                                                                               ผิดพลาดเชนกัน
     4                                                                                         3
     3                                                                                         2
     2                                                                                         1
     1                                                                                          0
      0                                                                                         Jan-08
                                                                                               -1          Apr-08   Jul-08       Oct-08     Jan-09     Apr-09     Jul-09      Oct-09   Jan-10
      Jan-08
     -1        Apr-08   Jul-08    Oct-08    Jan-09    Apr-09    Jul-09   Oct-09   Jan-10       -2
     -2                                                                                        -3
     -3                                                                                        -4
     -4                                                                                        -5

               Consensus estimate for 2009 US GDP, pre Lehman      post Lehman                             Consensus estimate for 2009 EU GDP, pre Lehman               post Lehman

Source: Bloomberg, CEIC, KBank                                                             Source: Bloomberg, CEIC, KBank




อะไรคือสัญญาณที่ชี้วาจะเกิดวิกฤติเศรษฐกิจอีกครั้ง
วิกฤตการเงินมีแนวโนมที่จะสงสัญญาณใหกับเรากอนที่จะเกิดขึ้นจริง นอกจากอัตราผลตอบแทนพันธบัตร
ที่เพิ่มขึ้นสูงและการเพิ่มขึ้นของคาประกันการผิดชําระหนี้ ตัววัดแบบดั้งเดิมอีกอยางหนึ่งคือ ราคาตอมูลคา
ทางบัญชี (Price to book value หรือ PBR) ของธนาคารพาณิชย เมื่อไปตรวจสอบขอมูล PBR ของ
ธนาคารพาณิชยที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยในชวงที่เกิดวิกฤติการเงินของประเทศไทย เราพบวาคา
ของสินทรัพยของธนาคารพาณิชยไดถูกปรับลดลง (written down) เมื่อคุณภาพของสินเชื่อดอยคาลง
รูปที่ 8. แสดงใหเห็น PBR ที่ลดลงไปถึง 0.5 สาเหตุอ่ืนที่ทําใหราคาหุนของธนาคารลดลงคือนักลงทุนคาด
วาจะมีการเพิ่มทุนเพื่อปรับปรุงงบดุลของธนาคาร ซึ่งจะไปลดสัดสวนการถือหุนของผูถือหุนเดิม สําหรับ
สถาบันการเงินที่ไมมีศักยภาพไดถูกบังคับใหปดกิจการ และในที่สุดหนี้ของภาคเอกชนก็จะถูกโอนไปยัง
รัฐบาล อันเปนการเพิ่มหนี้สาธารณะ

รูปที่ 7. ใครจะเปนเลหแมนบราเดอรส (ภาคยุโรป) รายตอไป                                    รูปที่ 8. price to book ratio ของธนาคารไทยชวงวิกฤตป 1997

                                                                                               3.50

                                                                                               3.00

                                                                                               2.50

                                                                                               2.00

                                                                                               1.50

                                                                                               1.00
                                                                                                      96                97                      98                      99                 00
                                                                                               0.50

                                                                                               0.00

                                                                                                                             Thai SET Bank index, price to book ratio



Source: cagle.com                                                                          Source: Bloomberg, CEIC, KBank




99

9
ในชวงที่กําลังจะเกิดการลมสลายของเลหแมนบราเดอร ขาวแตละวันไดกระทบตอการประเมินมูลคาของ
ธนาคารสหรัฐฯ อาทิเชน การเพิ่มขึ้นของหนี้สูญที่ไดจากการจํานองบาน ราคาบานที่ลดลง และบริษัท
แบร สเตอรนสท่ีถูกควบรวมกิจการกับ เจพี มอรแกน เชส นอกเหนือจาก QE1 แลว รัฐบาลสหรัฐฯยังไดเริ่ม
มาตรการทารป (TARP) มูลคา 700 พันลานบาท เรียกวา โครงการบรรเทาสินทรัพยทีมีปญหา (Trouble
Asset Relief Program) เพื่อใหความชวยเหลือทางการเงินแกธนาคาร ในรูปที่ 9 เราจะเห็นรูปแบบ
คลายกันของราคาหุนตอมูลคาทางบัญชีของธนาคารสหรัฐฯที่ลดลงไปประมาณ 0.5 เทา และแสดงใหเห็น
ถึงปญหาทางการเงิน ดัชนี KBW (รหัสบลูมเบิรก: BKX Index) ณ ปจจุบันประกอบดวยสถาบันการเงิน 24
แหง

รูปที่ 9. price to book ratio ของธนาคารในสหรัฐฯ                                          รูปที่ 10. price to book ratio ของธนาคารในยุโรป
    3.50                                                                                     2.50

    3.00
                                                                                             2.00
    2.50

    2.00                                                                                     1.50

    1.50                                                                                     1.00
    1.00                                                                                            98   99   00   01   02     03      04     05     06     07   08   09   10
           98   99   00   01    02     03     04     05     06       07   08   09   10       0.50
    0.50

    0.00                                                                                     0.00

                               KBW Bank index, price to book ratio                                                  Euro Stoxx Bank index, price to book ratio

Source: Bloomberg, CEIC, KBank                                                           Source: Bloomberg, CEIC, KBank




รู ป ที่ 10 แสดงให เ ห็ น ถึ ง เรื่ อ งเดี ย วกั น ที่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ ดั ช นี ธ นาคารในกลุ ม ยู โ ร (ธนาคารยู โ ร STOXX,
รหัสบลูมเบิรก: SX7E Index) ซึ่งประกอบดวย 33 สถาบันการเงิน ปจจุบันสัดสวนระหวางราคาหุนตอ
มูลคาทางบัญชีของดัชนี STOXX ธนาคารพาณิชยยูโร อยูที่ 0.41 เทา

ภาพที่ 11 ใหรายละเอียดที่แสดงวาธนาคารใดที่ตลาดมองวามีความเสี่ยง ตลาดจะตองใหความสนใจอยาง
พิเศษตอธนาคารขนาดใหญเชน Banco Santander BNP Paribas Credit Agricole Deutsche Bank และ
Societe Generale




1010

10
รูปที่ 11. สถิติและดัชนีสําคัญเกี่ยวกับธนาคารในยุโรป (สวนของธนาคารทีอยูในดัชนีหุน Euro Stoxx Bank Index ณ วันที่ 9 ก.ย. 2011)
                                                                     ่
 Bank                                       Country          price to            CDS              total assets,          Total risk          capital
                                                              book,             spread,             EUR mn                 based           adequacy
                                                              times               bps                                     capital           ratio, %
                                                                                                                          ratio, %
 ALPHA BANK A.E.                           GREECE                     0.19             1,448                   66,798               13.5          9.0
 BANCA CARIGE SPA                          ITALY                      0.63               N/A                   40,010                9.1         N/A
 BANCA MONTE DEI PASCHI SIENA              ITALY                      0.16               465                  244,279              12.95         N/A
 BANCA POPOL EMILIA ROMAGNA                ITALY                      0.54               N/A                   58,498              10.55          6.8
 BANCA POPOLARE DI MILANO                  ITALY                      0.15               491                   54,053              10.83          7.1
 BANCA POPOLARE DI SONDRIO                 ITALY                      0.91               N/A                   26,282               9.48         N/A
 BANCO BILBAO VIZCAYA ARGENTA              SPAIN                      0.72               317                  552,738               13.7          9.6
 BANCO COMERCIAL PORTUGUES-R               PORTUGAL                   0.19             1,514                  100,010               10.3          6.7
 BANCO DE SABADELL SA                      SPAIN                      0.61               817                   97,099              11.08          8.2
 BANCO ESPIRITO SANTO-REG                  PORTUGAL                   0.43               974                   83,655               11.3          7.9
 BANCO POPOLARE SCARL                      ITALY                      0.16               651                  135,156               10.7         N/A
 BANCO POPULAR ESPANOL                     SPAIN                      0.64               N/A                  130,140               9.66          9.4
 BANCO SANTANDER SA                        SPAIN                      0.66               312                1,217,501               13.1          8.8
 BANKINTER SA                              SPAIN                      0.58               N/A                   54,152               9.59         N/A
 BNP PARIBAS                               FRANCE                     0.55               245                1,998,158               14.5          9.2
 COMMERZBANK AG                            GERMANY                    0.39               267                  754,299               15.3          3.9
 CREDIT AGRICOLE SA                        FRANCE                     0.32               256                1,593,529               12.8          8.4
 DEUTSCHE BANK AG-REGISTERED               GERMANY                    0.45               182                1,905,630               14.1          8.7
 DEXIA SA                                  BELGIUM                    0.42               N/A                  566,735               14.7         12.1
 EFG EUROBANK ERGASIAS                     GREECE                     0.16               N/A                   87,188               11.7          9.1
 ERSTE GROUP BANK AG                       AUSTRIA                    0.61               243                  205,938               13.5          9.2
 BANK OF IRELAND                           IRELAND                    0.06             1,661                  167,473                11           9.7
 INTESA SANPAOLO                           ITALY                      0.29               370                  658,757               13.2          7.9
 KBC GROEP NV                              BELGIUM                    0.50               N/A                  320,823               16.5         10.5
 MEDIOBANCA SPA                            ITALY                      0.74               340                   76,501              12.97         N/A
 NATIONAL BANK OF GREECE                   GREECE                     0.35             1,518                  120,745               13.7         12.0
 NATIXIS                                   FRANCE                     0.46               236                  458,009               15.7          7.9
 PIRAEUS BANK S.A.                         GREECE                     0.22               N/A                   57,680                9.3          7.6
 POHJOLA BANK PLC-A SHS                    FINLAND                    1.02               N/A                   36,184               13.3         N/A
 RAIFFEISEN BANK INTERNATIONA              AUSTRIA                    0.55               N/A                  131,173               13.3          8.9
 SOCIETE GENERALE                          FRANCE                     0.33               332                1,132,072               12.1          8.5
 UNICREDIT SPA                             ITALY                      0.24               406                  929,488              12.68          8.6
 UBI BANCA SCPA                            ITALY                      0.15               401                  130,559              11.17          7.0
Source: Bloomberg, CEIC, KBank




1111

11
ถนนทุกเสน (สําหรับ ECB) มุงหนาสูกรุงโรม
อาจมีการกลาววาเลข 7 เปนเลขนําโชค แตสําหรับประเทศยูโรโซน เลข 7คงเปนโชคราย ชวงที่ผานมา
ประเทศยูโรโซนที่มีอัตราผลตอบแทนพันธบัตรอายุ 10 ปเกิน 7% ตองขอรับความชวยเหลือจากกองทุน
การเงินระหวางประเทศ (IMF) และเยอรมันนี เมื่อเร็วๆ นี้ ECB มีความพยายามที่จะระงับการแพรของ
ปญหาเมื่อตลาดเกิดความกลัวตอการเพิ่มขึ้นของอัตราผลตอบแทนพันธบัตร โดยเฉพาะจากอิตาลี ตลาด
ตราสารหนี้ของอิตาลีเปนตลาดที่ใหญที่สุดอันดับสามรองจากญี่ปุนและสหรัฐอเมริกา โดยมีมูลคาอยูที่
2.179 ลานลานดอลลารสหรัฐฯ หากอัตราผลตอบแทนพันธบัตรของอิตาลีเพิ่มขึ้น ราคาพันธบัตรก็จะลดลง
และผูถือพันธบัตรหรือนักลงทุนจะขาดทุน การขาดทุนนั้นหมายถึงการสูญเสียเงินทุน และในที่สุดปญหา
ดังกลาวอาจมีเปลี่ยนสภาพจากวิกฤติสภาพคลองเปนประเด็นดานการลมละลาย(solvency) หรือ เจง
นั่นเอง!

รูปที่ 12. อัตราผลตอบแทนพันธบัตรอายุ 10 ปของรัฐบาล PIIGSและเสน                   รูปที่ 13. ธนาคารกลางยุโรป (อีซีบี) พยายามไมใหอัตราผลตอบแทน
สําคัญเชิงจิตวิทยา ที่ 7%                                                          พันธบัตรอายุ 10 ปของอิตาลีแตะ 7%
    %           Portugal            Ireland            Italy            Greece
    25                                                                                 530                                                                                              4.5
                Spain               Germany            7% line
                                                                                       520                                                                                              4.7
                                                                                                                                                                                        4.9
    20                                                                                 510
                                                                                                                                                                                        5.1
                                                                                       500                                                                                              5.3
    15
                                                                                       490                                                                                              5.5
                                                                                                                                                                                        5.7
    10                                                                                 480
                                                                                                                                                                                        5.9
                                                                                       470                                                                                              6.1
     5                                                                                 460                                                                                              6.3
                                                                                         Mar-11     Apr-11       May-11          Jun-11           Jul-11         Aug-11            Sep-11
     0
     Jan-09      Jul-09          Jan-10       Jul-10           Jan-11     Jul-11             ECB holding in Euro bonds, EUR bn            Italy 10yr yields, % , right, inverted

Source: Bloomberg, CEIC, KBank                                                     Source: Bloomberg, CEIC, KBank




รูปที่ 13. แสดงใหเห็นวา ECB พยายามที่จะระงับการเพิ่มขึ้นของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรอายุ 10 ปของ
อิตาลีเพื่อไมใหเขาใกล 7% ในชวงตนเดือนสิงหาคม ECB เพิ่มการถือครองพันธบัตรของยุโรปจากเดิมที่
4.69 แสนลานยูโร เปน 5.23 แสนลานยูโร แตดูเหมือนวา วิธีนี้ใ ชไดเพียง 2-3 สัปดาหกอนที่อัตรา
ผลตอบแทนพันธบัตรอิตาลีจะเริ่มปรับตัวเพิ่มขึ้นอีกครั้ง ซึ่งทําใหเงินทุนของธนาคาร (ธนาคารยุโรปเปน
หลัก) ซึ่งถือครองพันธบัตรเหลานั้นมีมูลคาลดลง สิ่งที่จะกอใหเกิดความตื่นตระหนกของตลาดครั้งตอไปคง
เปนเวลาที่ผลตอบแทนพันธบัตร 10 ป ไปอยูที่ระดับใกล 7% มากขึ้น

ยังเหลือทางเลือกอยูหรือไม
สามปหลังจากเกิดวิกฤติการเงินป 2008 การดําเนินนโยบายการคลังและนโยบายการเงินพรอมๆกันเพื่อ
ฟนฟูเศรษฐกิจดูเหมือนจะชวยบรรเทาปญหา อยางไรก็ดี การใชนโยบายการคลังกระตุนเศรษฐกิจมาก
เกินไป (โดยเฉพาะการเพิ่มรายจายภาครัฐ) ไดเปลี่ยนสภาพมาตรการภาครัฐฯจากยารักษาไขเศรษฐกิจให
เปนยาพิษ ในชวงตนไตรมาสที่ 3 ปนี้ สิ่งที่ไมคาดคิดก็ไดเกิดขึ้น นั่นคือการปรับลดอันดับความนาเชื่อถือ



1212

12
ของรัฐบาลสหรัฐฯ เหตุการณดังกลาวสะทอนใหเห็นวาการใชนโยบายการคลังมากเกินไปไมเปนสิ่งที่ยั่งยืน
ดังนั้นเราคาดวา วิกฤติหนี้ของยุโรปยังคงยืดเยื้อตอไป

รูปที่ 14. อัตราดอกเบี้ยนโยบายของประเทศสหรัฐฯ ยุโรปและญี่ปุน                     รูปที่ 15. งบดุลของเฟดและอีซีบี
   %
   7                                                                                  3,000

    6                                                                                 2,500
    5                                                                                 2,000
    4
                                                                                      1,500
    3
                                                                                      1,000
    2
    1                                                                                   500

    0                                                                                   -
        00   01     02   03   04        05   06       07   08      09   10   11               02   03       04       05           06    07       08       09       10

                         US        UK        Europe        Japan                                    Fed's balance sheet, USD bn        ECB balance sheet, EUR bn

Source: Bloomberg, CEIC, KBank                                                    Source: Bloomberg, CEIC, KBank



รูปที่ 16. ฮิวสตัน... เศรษฐกิจของเราจะทะยานขึ้นไดหรือไม?




Source: cagle.com




ดังเชนที่รายงานไปในฉบับกอนหนา การอัดฉีดเงินเพื่อลดมูลคาหนี้ของประเทศในตะวันตกจะดําเนินตอไป
ดวยการพิมพเงินกระดาษออกมาเพื่อที่จะลดคาเงินของสกุลเงินของพวกเขา ซึ่งก็เปนการลดหนี้ของพวก
เขาเอง คงไม มี ข อ สงสั ย ต อ การกระทํ า ของเฟดและ ECB ที่ ช ว ยรั ก ษาระบบการเงิ น ของพวกเขาจะมี
ผลกระทบตอเศรษฐกิจทั่วโลก ซึ่งดูไดจากขนาดของเศรษฐกิจประเทศเหลานั้น ในกรณีอื่นที่ “ใหญเกินกวา
ที่จะลมได” ไดลมลงจริง เราอาจเห็นเหตุการณใน 2008-2009 ซ้ําอีกครั้ง



1313

13
รูปที่ 18. KBank USD/Asia index เมื่อเปน ตัวแปรของปริมาณเงินความหมายแคบ
รูปที่ 17. KBank USD/Asia index
                                                                                       หรือ M1 ของสหรัฐฯ ตั้งแตป 2009
                                                                                           KBank USD/Asia index
    120
                                                                                           120
    115                                                                                    115

    110                                                                                    110

    105                                                                                                                                 y = -0.0269x + 150.11
                                                                                           105                                                2
                                                                                                                                            R = 0.7498
    100                                                                                    100
          00   01   02    03     04    05    06   07   08     09    10    11      12
     95                                                                                     95

     90                                                                                     90
                                                                                                 1500    1600     1700    1800   1900      2000    2100       2200
                USD/Asia index, Jan 2000 = base    based on consensus estimates                                                              USD M1money supply, bn

Source: Bloomberg, CEIC, KBank                                                         Source: Bloomberg, CEIC, KBank




รูปที่ 17 แสดงใหเห็นวาในชวงที่ตลาดตกใจหลังการลมสลายของเลหแมนบราเดอร ไดนําไปสูการติดขัดใน
การกูยืมระหวางธนาคาร และการขาดแคลนเงินดอลลารสหรัฐฯ คาเงินดอลลารสหรัฐฯ และดัชนีดอลลาร
สหรัฐฯ/ เอเชียของเรา ทะยานขึ้นสูง (ดัชนีดอลลารสหรัฐฯ/เอเชียของเราคือการจัดทําดัชนีถวงน้ําหนักแบบ
งายของคาเงินดอลลารสหรัฐฯ/เอเชียสิบเอ็ดคู) ในขณะนี้ ทางเฟด และECB ไดดําเนินการมากเกินพอแลวที่
จะสรางความมั่นใจตอภาวะสภาพคลองของตลาด การเคลื่อนไหวอยางไรทิศทางของเงินดอลลารสหรัฐฯ
เปนสิ่งที่คาดการณไดในชวงที่ตลาดเกิดการตื่นตระหนก อยางไรก็ดี ภายหลังที่ตลาดหายตื่นตระหนก การ
เพิ่มขึ้นของปริมาณกระดาษในรูปดอลลารสหรัฐฯ จะกดดันใหคาเงินดอลลารสหรัฐฯออนคาลงดังที่เห็นใน
ไตรมาสที่สองของป 2009




1414

14
รูปแบบเศรษฐกิจอินโดนีเซีย กับการฟนฝาพายุทางเศรษฐกิจลูกใหม

       ฝนรายทางเศรษฐกิจยังไมสิ้นสุด ประเทศไทยยังคงมีความเสี่ยงจากเศรษฐกิจที่
       ชะลอตัวในประเทศตะวันตก จนกวาเราจะปรับรูปแบบเศรษฐกิจของเราใหเนน
       การบริโภคภายในประเทศ
       แมวาการสงออก และนําเขาจะหดตัว เศรษฐกิจอินโดนีเซียไมไดถูกกระทบมาก
       จากการที่ไมไดพึ่งพิงการคาระหวางประเทศมากนัก ดังที่พบวาการผลิตสินคา
       และบริการถึง 85% เปนไปเพื่อการบริโภคภายในประเทศ
       ประเทศไทยนาจะไดประโยชนจากการเปลี่ยนตลาดการสงออกจากประเทศใน
       ตะวันตกมาเปนประเทศอินโดนีเซียมากขึ้น เนื่องจากประเทศอินโดนีเซียกําลัง
       จะเปนตลาดใหญในภูมภาคที่ชวยบรรเทาการชะลอตัวทางเศรษฐกิจ
                          ิ
       สินคาสงออกของไทยที่สําคัญไปยังอินโดนีเซียไดแก รถยนต น้ําตาล และ ขาว
       ซึ่งผูสงออกไทยมีศักยภาพในการเขาสูตลาดนี้
               

รูปแบบเศรษฐกิจที่ไดประโยชนจากโลกาภิวัตนสูงสุด
หลังจากการลมสลายของเลหแมนบราเดอร ที่เขยาเศรษฐกิจโลกโดยสภาพคลองที่จางหายไปในภาคธุรกิจ
ที่นําไปสูการหดตัวในการลงทุนและการผลิต เอเชียไมไดปลอดภัยจากวิกฤติเศรษฐกิจในประเทศตะวันตก
หลายประเทศอาศัยการสงออกเพื่อสรางรายไดและการจางงานอยางมาก การที่ประเทศไทยมีเศรษฐกิจ
แบบเปดขนาดเล็ก จึงไดรับผลกระทบอยางรุนแรงจากภาวะเศรษฐกิจถดถอยทั่วโลก โชคดีที่ประเทศไทยมี
แรงงานนอกระบบที่ มี ข นาดใหญ โดยเฉพาะภาคเกษตรที่ ช ว ยในการดู ด ซั บ การว า งงาน อย า งไรก็ ดี
เศรษฐกิจของเราไดหดตัวลง ซึ่งนําไปสูการลดลงของรายไดของครัวเรือน และระดับความยากจนที่สูงขึ้น

โลกาภิวัตนเปนตนเหตุสําหรับภาวะเศรษฐกิจถดถอยหรือไม เราไมควรลืมวาเศรษฐกิจไทยไดพัฒนาขึ้น
เพราะโลกาภิวัตนเชนกัน เศรษฐกิจไทยไดปรับเปลี่ยนจากการผลิตเพื่อทดแทนการนําเขา เปนการผลิตเพื่อ
การสงออก ในชวงเริ่มตนของการพัฒนาเราพยายามที่จะทดแทนการนําเขาสินคาอุตสาหกรรม ดวยการ
ผลิตสินคาอุตสาหกรรมที่ไมใชแรงงานเขมขน ซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อลดการพึ่งพาตางประเทศ อยางไรก็ตาม
นโยบายทางเศรษฐกิจที่ผานมาที่กอใหเกิดการแทรกแซงอัตราแลกเปลี่ยน และอัตราภาษีนําเขาไดนําไปสู
การขาดดุลการคาที่สงผลใหประสิทธิภาพการผลิตลดลง ตอมารัฐบาลไดเปลี่ยนเปนอุตสาหกรรมสงออกที่
เนนการผลิตสินคาอุตสาหกรรมที่ใชแรงงานมาก เศรษฐกิจในประเทศไทยและในเอเชียตะวันออกอื่น ๆ ได
เติบโตอยางรวดเร็วโดยอาศัยความตองการจากตางประเทศ อยางไรก็ตามการชะลอตัวของเศรษฐกิจใน
สหรัฐฯ ยูโรโซน และญี่ปุนไดกดดันเศรษฐกิจของเรา เนื่องจากการผลิตภาคอุตสาหกรรมของเราไดลดลง
จากความตองการการสง ออกที่ลดลง ฝน รายทางเศรษฐกิ จยัง ไมจบ และมี แ นวโนมที่จ ะดํา เนิน ตอ ไป


1515

15
   sept 2011 thai
   sept 2011 thai
   sept 2011 thai
   sept 2011 thai
   sept 2011 thai
   sept 2011 thai
   sept 2011 thai
   sept 2011 thai
   sept 2011 thai
   sept 2011 thai
   sept 2011 thai
   sept 2011 thai
   sept 2011 thai
   sept 2011 thai
   sept 2011 thai
   sept 2011 thai
   sept 2011 thai
   sept 2011 thai
   sept 2011 thai
   sept 2011 thai
   sept 2011 thai
   sept 2011 thai
   sept 2011 thai
   sept 2011 thai

More Related Content

Viewers also liked (7)

KBank capital market perspectives sep fomc
KBank capital market perspectives sep   fomcKBank capital market perspectives sep   fomc
KBank capital market perspectives sep fomc
 
Market watch feb 7
Market watch feb 7Market watch feb 7
Market watch feb 7
 
Market watch feb 17
Market watch feb 17Market watch feb 17
Market watch feb 17
 
K bank multi asset strategies jan 2012
K bank multi asset strategies   jan 2012K bank multi asset strategies   jan 2012
K bank multi asset strategies jan 2012
 
Fx & rates markets’ look out and out look
Fx & rates   markets’ look out and out lookFx & rates   markets’ look out and out look
Fx & rates markets’ look out and out look
 
K bank daily jan 25
K bank daily jan 25K bank daily jan 25
K bank daily jan 25
 
Pariwat oct11
Pariwat oct11Pariwat oct11
Pariwat oct11
 

Similar to sept 2011 thai

TH-Outlook-2Q22.pdf
TH-Outlook-2Q22.pdfTH-Outlook-2Q22.pdf
TH-Outlook-2Q22.pdfSCBEICSCB
 
Ru Fm Chapter03 Updated
Ru Fm Chapter03 UpdatedRu Fm Chapter03 Updated
Ru Fm Chapter03 Updatedtltutortutor
 
20140609 sena
20140609 sena20140609 sena
20140609 senaShaen PD
 
Seminar mar 10_ashvin
Seminar mar 10_ashvinSeminar mar 10_ashvin
Seminar mar 10_ashvinnongalisanaja
 
SIU - Dynamics of Global Economy
SIU - Dynamics of Global EconomySIU - Dynamics of Global Economy
SIU - Dynamics of Global EconomyIsriya Paireepairit
 
EIC-Note_Fed-Hike-(Jun22)_20220621.pdf
EIC-Note_Fed-Hike-(Jun22)_20220621.pdfEIC-Note_Fed-Hike-(Jun22)_20220621.pdf
EIC-Note_Fed-Hike-(Jun22)_20220621.pdfSCBEICSCB
 

Similar to sept 2011 thai (8)

TH-Outlook-2Q22.pdf
TH-Outlook-2Q22.pdfTH-Outlook-2Q22.pdf
TH-Outlook-2Q22.pdf
 
Ru Fm Chapter03 Updated
Ru Fm Chapter03 UpdatedRu Fm Chapter03 Updated
Ru Fm Chapter03 Updated
 
20140609 sena
20140609 sena20140609 sena
20140609 sena
 
Seminar mar 10_ashvin
Seminar mar 10_ashvinSeminar mar 10_ashvin
Seminar mar 10_ashvin
 
Bank of Thailand Payment Report 09
Bank of Thailand Payment Report 09Bank of Thailand Payment Report 09
Bank of Thailand Payment Report 09
 
SIU - Dynamics of Global Economy
SIU - Dynamics of Global EconomySIU - Dynamics of Global Economy
SIU - Dynamics of Global Economy
 
EIC-Note_Fed-Hike-(Jun22)_20220621.pdf
EIC-Note_Fed-Hike-(Jun22)_20220621.pdfEIC-Note_Fed-Hike-(Jun22)_20220621.pdf
EIC-Note_Fed-Hike-(Jun22)_20220621.pdf
 
Power point feanix
Power point feanixPower point feanix
Power point feanix
 

More from KBank Fx Dealing Room

KBank Capital Market perspectives May 18 markets wrap up - positioning for ...
KBank Capital Market perspectives   May 18 markets wrap up - positioning for ...KBank Capital Market perspectives   May 18 markets wrap up - positioning for ...
KBank Capital Market perspectives May 18 markets wrap up - positioning for ...KBank Fx Dealing Room
 
KBank Capital Market perspective May 18 greece
KBank Capital Market perspective May 18 greeceKBank Capital Market perspective May 18 greece
KBank Capital Market perspective May 18 greeceKBank Fx Dealing Room
 
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 04-19
KBank CMB Seminar  Khun Kitti  2012 04-19KBank CMB Seminar  Khun Kitti  2012 04-19
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 04-19KBank Fx Dealing Room
 
KBank CMB Seminar Khun Kobsidthi 2012 04-19
KBank CMB Seminar Khun Kobsidthi 2012 04-19KBank CMB Seminar Khun Kobsidthi 2012 04-19
KBank CMB Seminar Khun Kobsidthi 2012 04-19KBank Fx Dealing Room
 
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 04-19
KBank CMB Seminar  Khun Kitti  2012 04-19KBank CMB Seminar  Khun Kitti  2012 04-19
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 04-19KBank Fx Dealing Room
 
KBank Capital Market perspectives Portugal in focus
KBank Capital Market perspectives   Portugal in focusKBank Capital Market perspectives   Portugal in focus
KBank Capital Market perspectives Portugal in focusKBank Fx Dealing Room
 
KBank Capital Market perspectives Apr 26 fomc
KBank Capital Market perspectives Apr 26  fomcKBank Capital Market perspectives Apr 26  fomc
KBank Capital Market perspectives Apr 26 fomcKBank Fx Dealing Room
 
KBank Capital Market perspective, FATFs slap on the wrist
KBank Capital Market perspective, FATFs slap on the wristKBank Capital Market perspective, FATFs slap on the wrist
KBank Capital Market perspective, FATFs slap on the wristKBank Fx Dealing Room
 
KBank Capital Market Perspective Feb 20 - gdp q4
KBank Capital Market Perspective   Feb 20 - gdp q4KBank Capital Market Perspective   Feb 20 - gdp q4
KBank Capital Market Perspective Feb 20 - gdp q4KBank Fx Dealing Room
 
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 02-17
KBank CMB Seminar Khun Kitti  2012 02-17KBank CMB Seminar Khun Kitti  2012 02-17
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 02-17KBank Fx Dealing Room
 
KฺฺฺBank CMB seminar Khun Kobsidthi 2012 02-17
KฺฺฺBank CMB seminar Khun Kobsidthi 2012 02-17KฺฺฺBank CMB seminar Khun Kobsidthi 2012 02-17
KฺฺฺBank CMB seminar Khun Kobsidthi 2012 02-17KBank Fx Dealing Room
 
KBank Multi Asset Strategies Jan 2012
KBank Multi Asset Strategies   Jan 2012KBank Multi Asset Strategies   Jan 2012
KBank Multi Asset Strategies Jan 2012KBank Fx Dealing Room
 
KBank Capital Market perspectives Dec 30 flooding and economic slowdown in n...
KBank Capital Market perspectives Dec 30  flooding and economic slowdown in n...KBank Capital Market perspectives Dec 30  flooding and economic slowdown in n...
KBank Capital Market perspectives Dec 30 flooding and economic slowdown in n...KBank Fx Dealing Room
 
KBank capital market perspectives dec 20 trade
KBank capital market perspectives dec 20   tradeKBank capital market perspectives dec 20   trade
KBank capital market perspectives dec 20 tradeKBank Fx Dealing Room
 
Cmb seminar khun kobsidthi 2011 12-15
Cmb seminar khun kobsidthi 2011 12-15Cmb seminar khun kobsidthi 2011 12-15
Cmb seminar khun kobsidthi 2011 12-15KBank Fx Dealing Room
 

More from KBank Fx Dealing Room (20)

KBank Capital Market perspectives May 18 markets wrap up - positioning for ...
KBank Capital Market perspectives   May 18 markets wrap up - positioning for ...KBank Capital Market perspectives   May 18 markets wrap up - positioning for ...
KBank Capital Market perspectives May 18 markets wrap up - positioning for ...
 
KBank Capital Market perspective May 18 greece
KBank Capital Market perspective May 18 greeceKBank Capital Market perspective May 18 greece
KBank Capital Market perspective May 18 greece
 
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 04-19
KBank CMB Seminar  Khun Kitti  2012 04-19KBank CMB Seminar  Khun Kitti  2012 04-19
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 04-19
 
KBank CMB Seminar Khun Kobsidthi 2012 04-19
KBank CMB Seminar Khun Kobsidthi 2012 04-19KBank CMB Seminar Khun Kobsidthi 2012 04-19
KBank CMB Seminar Khun Kobsidthi 2012 04-19
 
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 04-19
KBank CMB Seminar  Khun Kitti  2012 04-19KBank CMB Seminar  Khun Kitti  2012 04-19
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 04-19
 
KBank Capital Market perspectives Portugal in focus
KBank Capital Market perspectives   Portugal in focusKBank Capital Market perspectives   Portugal in focus
KBank Capital Market perspectives Portugal in focus
 
KBank Capital Market perspectives Apr 26 fomc
KBank Capital Market perspectives Apr 26  fomcKBank Capital Market perspectives Apr 26  fomc
KBank Capital Market perspectives Apr 26 fomc
 
KBank CMB's event mar (Thai)
KBank CMB's event mar (Thai)KBank CMB's event mar (Thai)
KBank CMB's event mar (Thai)
 
KBank Economics update Mar 2012
KBank Economics update   Mar 2012KBank Economics update   Mar 2012
KBank Economics update Mar 2012
 
KBank Capital Market perspective, FATFs slap on the wrist
KBank Capital Market perspective, FATFs slap on the wristKBank Capital Market perspective, FATFs slap on the wrist
KBank Capital Market perspective, FATFs slap on the wrist
 
KBank Capital Market Perspective Feb 20 - gdp q4
KBank Capital Market Perspective   Feb 20 - gdp q4KBank Capital Market Perspective   Feb 20 - gdp q4
KBank Capital Market Perspective Feb 20 - gdp q4
 
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 02-17
KBank CMB Seminar Khun Kitti  2012 02-17KBank CMB Seminar Khun Kitti  2012 02-17
KBank CMB Seminar Khun Kitti 2012 02-17
 
KฺฺฺBank CMB seminar Khun Kobsidthi 2012 02-17
KฺฺฺBank CMB seminar Khun Kobsidthi 2012 02-17KฺฺฺBank CMB seminar Khun Kobsidthi 2012 02-17
KฺฺฺBank CMB seminar Khun Kobsidthi 2012 02-17
 
Prariwat feb23
Prariwat feb23Prariwat feb23
Prariwat feb23
 
KBank Multi Asset Strategies Jan 2012
KBank Multi Asset Strategies   Jan 2012KBank Multi Asset Strategies   Jan 2012
KBank Multi Asset Strategies Jan 2012
 
KBank Econ update jan 2012
KBank Econ update   jan 2012KBank Econ update   jan 2012
KBank Econ update jan 2012
 
KBank Capital Market perspectives Dec 30 flooding and economic slowdown in n...
KBank Capital Market perspectives Dec 30  flooding and economic slowdown in n...KBank Capital Market perspectives Dec 30  flooding and economic slowdown in n...
KBank Capital Market perspectives Dec 30 flooding and economic slowdown in n...
 
KBank capital market perspectives dec 20 trade
KBank capital market perspectives dec 20   tradeKBank capital market perspectives dec 20   trade
KBank capital market perspectives dec 20 trade
 
Cmb seminar khun kobsidthi 2011 12-15
Cmb seminar khun kobsidthi 2011 12-15Cmb seminar khun kobsidthi 2011 12-15
Cmb seminar khun kobsidthi 2011 12-15
 
Cmb seminar khun kitti 2011 12-15
Cmb seminar khun kitti  2011 12-15Cmb seminar khun kitti  2011 12-15
Cmb seminar khun kitti 2011 12-15
 

sept 2011 thai

  • 1. .Mean S Multi Asset Strategies KBank Strategies Macro / Multi Asset ถนนทุกสายมุงหนาสูกรุงโรม September 2011 Volume 52 ตัว เลขการประมาณการเศรษฐกิ จ ในช ว งนี้สะทอ นวา ตลาดยัง มองวา จะไมเ กิด ภาวะ ถดถอยทางเศรษฐกิจครั้งที่สอง Kobsidthi Silpachai, CFA –Kasikornbank kobsidthi.s@kasikornbank.com ECBพยายามกดผลตอบแทนพันธบัตรอิตาลีลง แตยังดูเหมือนไรประโยชนและเยอรมนี อาจจําเปนใหเงินชวยเหลือยุโรปตอไป ความฝนของฮิตเลอรจะเริ่มเปนจริงหรือ? KResearch kr.bd@kasikornresearch.com Price to book ratio ของหุนกลุมธนาคารที่ลดลงต่ํากวา 0.5 เปนสัญญาณเตือนวิกฤต การเงินซึ่งเกิดขึ้นแลวในป1997 และ2008 เราเห็นความเสี่ยงแบบเดียวกันในป 2011 Disclaimer: This report หากนโยบายการคลังมีขอจํากัดในสหรัฐฯและสหภาพยุโรป การผอนคลายเชิงปริมาณ must be read with the ทางการเงิ น จึ ง เป น ทางเลื อ กเดี ย วที่ อ าจช ว ยลดภาระหนี้ รั ฐ บาล ผ า นกลไกอั ต รา Disclaimer on page 9 that forms part of it แลกเปลี่ยน เราคงเปาหมาย USD/THBที่ 29.00 ชวงปลายป และที่ 28.00 สําหรับปลายป 2012 “KBank Multi Asset Strategies” ในส ว นของตลาดหุ น เราคงเป า หมายดั ช นีหุ น ไทยที่ ร ะดับ 1250 ในปนี้ และคาดว า can now be accessed on Bloomberg: KBCM <GO> เปาหมายในปหนาจะอยูท่ี 1320 Key Parameters & Forecasts at Year-end 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 2011E 2012E GDP, % YoY 6.3 4.6 5.2 4.9 2.5 -2.3 7.8 3.8 5.0 Consumption, % YoY 6.2 4.6 3.0 1.6 2.7 -1.1 4.8 3.6 4.0 Investment Spending, % YoY 13.2 10.5 3.9 1.3 1.2 -9.2 9.4 6.6 7.0 Govt Budget / GDP % -0.2 0.3 -0.7 -1.5 -1.0 -5.6 -3.2 -4 -4.5 Export, % YoY 21.6 15.2 17.0 17.3 15.9 -14.0 28.5 20 12 Import, % YoY 25.7 25.8 7.9 9.1 26.5 -25.2 36.8 26.5 13.5 Current Account (USD bn) 2.77 -7.6 2.3 14.1 1.6 21.9 14.8 7 4.3 CPI % YoY, average 2.8 4.5 4.6 2.3 5.5 -0.9 3.3 3.9 4.0 USD/THB 38.9 41.0 36.1 33.7 34.8 33.3 31.4 29.0 28.0 Fed Funds, % year-end 2.25 4.25 5.25 4.25 0.25 0.25 0.25 0.25 0.25 BOT repo, % year-end 2.00 4.00 5.00 3.25 2.75 1.25 2.00 4.00 4.25 Bond Yields 2yr, % year-end 2.78 4.94 5.02 3.91 1.98 2.17 2.35 4.2 4.4 5yr, % year-end 4.0 5.3 5.1 4.5 2.2 3.6 2.75 4.3 4.5 10yr, % year-end 4.9 5.5 5.4 4.9 2.7 4.3 3.25 4.4 4.6 USD/JPY 102.5 118.0 119.1 111.8 90.7 93.0 82.0 78 84 EUR/USD 1.36 1.18 1.32 1.46 1.40 1.43 1.40 1.43 1.43 SET Index 668.1 713.7 679.8 858.1 450.0 734.5 1040 1250 1320 Source: Bloomberg, CEIC, KBank, KResearch, KSecurities 11 1 WWW.KASIKORNBANKGROUP.COM
  • 2. KBank Thai Government Bond Rich / Cheap model Bps (actual YTM vs. model) 20.00 15.00 10.00 5.00 0.00 -5.00 -10.00 -15.00 3 mth avg Now -20.00 LB296A LB123A LB133A LB137A LB145B LB14DA LB155A LB15DA LB167A LB16NA LB175A LB183B LB191A LB196A LB198A LB19DA LB213A LB24DA LB267A LB283A LB396A Source: Bloomberg, KBank KBank THB NEER Index KBank USD/THB – FX Reserves / USD Majors model Jan 1995 = 100 KBank THB Trade Weighted Index KBank USD/THB model 48 105 46 44 100 + 1 std 42 d 40 95 38 36 90 average 34 32 85 30 80 -1 std dev 28 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12 75 00 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 actual model Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, KBank FX reserves – USD/THB model DXY – USD/THB model USD/THB USD/THB since 2001 48 50 46 y = -7.4436Ln(x) + 69.146 44 2 45 42 R = 0.8869 40 40 38 36 35 y = 29.133Ln(x) - 92.911 2 34 R = 0.7626 32 30 30 28 25 26 70 75 80 85 90 95 100 105 110 115 120 125 25 50 75 100 125 150 175 200 225 250 DXY FX reserves to USD/THB mapping current 2011 forecast FX reserves, USD bn DXY to USD/THB mapping current Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, KBank 22 2
  • 3. KBank BOT repo model SET forward dividend yield vs. 10yr bond yield % % 5.5 9 5.0 8 4.5 7 4.0 6 3.5 3.0 5 2.5 4 2.0 3 1.5 2 1.0 0.5 1 0.0 0 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12 13 00 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 actual model 10yr yields SET forward dividend yields Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, KBank Thai inflation parameters Thai contribution to GDP growth 10% % yoy 15 8% 6% 10 4% 5 2% 0 0% -5 -2% -10 -4% -15 -6% 1Q09 3Q09 1Q10 3Q10 1Q11 Jan-05 Jan-06 Jan-07 Jan-08 Jan-09 Jan-10 Jan-11 Private consumption Government Consumption Gross fixed capital formation CPI yoy Core CPI yoy Inventory change Net exports GDP yoy Source: CEIC, KBank Source: NESDB, KBank Implied forward curve: swaps Implied forward curve: TGBs % Implied forward rate shifts (IRS) % Implied bond yield curve shifts 4.00 4.00 3.80 3.80 3.60 3.60 3.40 3.20 3.40 3.00 3.20 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 Sep-11 Dec-11 Mar-12 Sep-12 tenor (yrs) Sep-11 Dec-11 Mar-12 Sep-12 tenor (yrs) Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, KBank US 2yr yields and implied forward US 5yr yields and implied forward 7.0 8 6.0 7 5.0 6 5 4.0 4 3.0 3 2.0 2 1.0 1 0.0 0 00 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12 13 14 15 16 00 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12 13 14 15 16 2yr yields, % implied forwards 5yr yields, % implied forwards Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, KBank 33 3
  • 4. KBank EUR/THB model KBank JPY/THB model EUR/THB JPY/THB 43.0 56.0 54.0 41.0 52.0 39.0 50.0 37.0 48.0 46.0 35.0 44.0 33.0 42.0 31.0 40.0 29.0 38.0 36.0 27.0 34.0 25.0 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12 actual model actual model Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, KBank KBank GBP/THB model KBank CNY/THB model GBP/THB CNY/THB 5.8 78.0 5.6 73.0 5.4 68.0 5.2 63.0 5.0 58.0 4.8 4.6 53.0 4.4 48.0 4.2 43.0 4.0 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12 actual model actual model Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, KBank KBank THB/VND model KBank AUD/THB model THB/VND AUD/THB 800 35.0 750 700 33.0 650 31.0 600 29.0 550 500 27.0 450 25.0 400 350 23.0 300 21.0 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12 actual model actual model Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, KBank 44 4
  • 5. ถนนทุกสายมุงหนาสูกรุงโรม ความฝนของฮิตเลอรตอการยึดครองยุโรปไดถกจุดขึ้นอีกครั้ง ู Kobsidthi Silpachai, CFA - Kasikornbank สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 อดอลฟ ฮิตเลอรพยายามที่จะควบคุมยุโรปและทั่วทุกภูมิภาคในโลก แผนการ kobsidthi.s@kasikornbank.com Nalin Chutchotitham – Kasikornbank รุกรานของนาซีเยอรมันเกิดขึ้นที่โปแลนดเปนแหงแรก และตามดวยเบลเยียมและเนเธอรแลนด การรุกราน nalin.c@kasikornbank.com ของฝายอักษะ (Axis) ทางตอนใตนําโดย เบนิโต มุสโสลินีผูปกครองอิตาลี แตกองกําลังของอิตาลีไดพบกับ Amonthep Chawla, Ph.D. – Kasikornbank Amonthep.c@kasikornbank.com ความยากลําบากที่จะยึดพื้นที่ในลิเบียเพื่อใชเปนกันชนกับการบุกรุกของฝายสัมพันธมิตร(Allies) สูยุโรป เนื่องจากนายพลมอนตโกเมอรร่ของกองกําลังภาคพื้นดินของอังกฤษกําลังเคลื่อนตัวใกลเขามา ในที่สุด ฮิต ี เลอรตองสงนายพลคนสําคัญที่สุดคนหนึ่ง คือนายพลเออรวิน รอมเมล (ฉายาจิ้งจอกทะเลทราย) เพื่อชวย ฝายอักษะควบคุมแอฟริกาเหนือไว โดยหวังที่จะบุกสหภาพโซเวียตจากทางใต ดวยการสนับสนุนทางทหาร จากสหรัฐอเมริกาที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ฝายพันธมิตรไดชัยชนะเหนือฝายอักษะในแอฟริกาเหนือมากขึ้น และในที่สุดไดนําไปสูการบุกเขาสูอิตาลี การปลดปลอยกรุงโรม และการลมสลายของฝายอักษะในยุโรป ในศตวรรษที่ 21 ฉากการตอสูของยุโรปไมใชดานการทหาร (อยางนอยก็ยังไมถึงเวลา) แตเปนการกระจาย อํานาจทางเศรษฐกิจ และการดํารงไวซึ่งยูโรโซนตลอดชวง /ปที่ผานมาก็ถือเปนความสําเร็จในการรวมกลุม ทางการเงินครั้งยิ่งใหญครั้งหนึ่ง อยางไรก็ตาม จุดออนของยูโรโซนคือการขาดการรวมตัวทางการคลัง หลักฐานบางสวนของความรวมมือ ทางการคลังคือสนธิสัญญามาสตริกซ (Maastricht Treaty) ซึ่งสมาชิกไมไดมีการบังคับใชอยางจริงจัง ตราบใดที่สถานการณเศรษฐกิจยังดูดี ตัวอยางการรักษาวินัยทางการคลังของประเทศกลุมสมาชิกหนึ่ง อยางในสนธิสญญามาสตริกซ คือ การกําหนดเพดานหนี้สาธารณะตอจีดีพีที่ 60% สําหรับการรวมตัวของ ั ประเทศในยุโรปนั้น เกอรฮารด ชรอยเดอร นายกรัฐมนตรีของเยอรมันีคนกอนไดใหวลีครั้งหนึ่งวา ถึงเวลา แลวที่จะสราง "สหรัฐยุโรป" ทั้งนี้ในรายงาน Multi Asset Strategies เดือนพฤษภาคม 2010 เราไดต้ัง ขอสังเกตวาหนึ่งในแรงจูงใจหรือแมแบบสําหรับยูโรโซนก็คอสหรัฐอเมริกานี่เอง: ื ขณะที่การกอตั้งสหภาพยุโรปใชเวลาไมมากนักโดยเพิ่งเริ่มตนในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เทานั้น อีกประเด็นที่มีความแตกตางกันคือ ในแงของการปกครอง โดยการปกครองของสหรัฐฯ ประกอบด ว ยรั ฐ บาลท อ งถิ่ น และรั ฐ บาลกลางที่ มี ก ระบวนการและผ า นบททดสอบมาในระดั บ หนึ่ ง โดยเฉพาะในชวงที่เกิดสงครามกลางเมืองในสหรัฐฯ อเมริกา ในขณะที่สถาบันหรือองคกรกึ่งรัฐของยุโรป ยังไมเคยเผชิญกับความทาทายในลักษณะดังกลาวนับจากที่เริ่มกอตั้งมาจนถึงปจจุบัน 55 5
  • 6. ในสวนของการจัดตั้งหรือใชสกุลเงินยูโรรวมกันของกลุมประเทศสมาชิกยูโรโซนมีขอกําหนด ภายใตสนธิสัญญามาสตริกซ 4 ขอ ไดแก 1. ประเทศสมาชิกตองรักษาวินัยทางการคลังใหอยูในระดับที่กําหนดไว โดยตองดูแลไมให การขาดดุลงบประมาณรายปสูงเกินรอยละ 3 ของ GDP ขณะที่หนี้ภาครัฐตองไมเกิน รอยละ 60 ของ GDP 2. ในสวนของอัตราเงินเฟอ ตองดูแลไมใหอัตราเงินเฟอของประเทศปรับตัวขึ้นสูงกวารอยละ 1.5 ของอัตราเงินเฟอเฉลี่ยของ 3 ประเทศสมาชิกที่มีอัตราเงินเฟออยูในระดับต่ําสุด 3. คาเงินในแตละประเทศจะตองมีการปรับตัวหรือมีความผันผวนอยูในกรอบปกติของระบบ การเงินยุโรปเปนเวลาอยางนอย 2 ป ซึ่งเปนขอบังคับเพิ่มเติมสําหรับสมาชิกใหม 4. ดานอัตราดอกเบี้ยกําหนดวา อัตราดอกเบี้ยระยะยาวจะตอ งไมสูง เกิน รอ ยละ 2 ของ คาเฉลี่ยของ 3 ประเทศสมาชิกที่มีอัตราดอกเบี้ยอยูในระดับต่ําที่สุด เมื่อเร็ว ๆ นี้ตลาดการเงินผอนคลายความกังวลลงหลังจากศาลรัฐธรรมนูญของเยอรมันนีตัดสินวา การให ความชวยเหลือทางการเงินแกกรีซของรัฐบาลเยอรมันไมผิดกฎหมาย อยางไรก็ดี การกาวไปสูการรวมศูนย ทางการคลัง เชนการออกพันธบัตรยูโร (eurobonds) เปนสิ่งที่ไมถูกตองตามกฎหมาย รูปที่ 1. หนี้สาธารณะตอขนาดเศรษฐกิจ (จีดีพี) ของประเทศ PIIGS รูปที่ 2. การจัดอันดับความสามารถในการแขงขัน ป 2011 % EUR inception public debt to GDP 180 5.5 5.3 160 5.1 140 4.9 4.7 120 4.5 100 4.3 80 4.1 3.9 60 3.7 95 96 97 40 98 99 00 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12 3.5 Netherlands Portugal Austria Estonia Malta Belgium Germany Italy Finland France Luxembourg Ireland Spain Greece Cyprus Slovenia Slovakia 20 Portugal Ireland Italy Greece Spain Source: Bloomberg, CEIC, KBank Source: World Economic Forum จะเกิดอะไรขึ้น หากการประเมินสถานการณเศรษฐกิจในป 2012 ของตลาดนั้นผิดพลาด ในเดือนกันยายนปค.ศ. 2001 เหตุการณ 9/11 เพิ่มแรงกดดันใหภาวะเศรษฐกิจของสหรัฐฯแยลงไปอีก ในชวงที่เศรษฐกิจใกลเขาสูภาวะถดถอยทางเทคนิคจากภาวะฟองสบูแตกในภาคเทคโนโลยีสาระสนเทศ (tech bubble) ในป 2000 ตอมาในเดือนกันยายนป ค.ศ. 2006 ประเทศไทยไดเห็นการปฏิวัติรัฐประหาร และลาสุดในเดือนกันยายนปค.ศ. 2008 บริษัท เลหแมนบราเดอรส ลมลงและยืนยันการสิ้นสุดของฟองสบู ซับพรามหรือฟองสบูในภาคอสังหาริมทรัพยของสหรัฐฯ เมื่อไมนานมานี้ ซีอีโอของ ดอยซแบงก เอจี โจเสฟ แอคเคอรแมนน กลาวถึงบรรยากาศทางการเงินขณะนี้วา ... "สถานการณขณะนี้กําลังรื้อฟนสถานการณ ชวงป 2008 แมวาภาคธนาคารของยุโรปมีฐานะการเงินที่แข็งแกรงมากขึ้นและพึ่งพาสภาพคลองระยะสั้น จากธนาคารกลางนอยลง" ในขณะนี้ ทุกคนเห็นพรองกันวา ภาวะเศรษฐกิจยังคงสดใสในป 2012 เศรษฐกิจ 66 6
  • 7. สหรัฐฯคาดวาจะเติบโต 2.4% ยูโรโซนที่ 1.4% ประเทศไทยจะเห็นการเติบโตที่ 4.9% ในป 2012 ซึ่งเปนปที่ นอสตราดามูส และปฏิทินมายันไดทํานายไววาเปนวันสิ้นโลก รูปที่ 3. การประมาณการของตลาด - การขยายตัวทางเศรษฐกิจและอัตราเงินเฟอป 2012 current 1mth 3mth 6mth current 1mth 3mth 6mth 2012e GDP ago ago ago 2012e CPI ago ago ago AUSTRALIA 4.3 4.0 4.0 4.0 2.7 3.0 3.0 2.8 BRAZIL 3.9 4.1 4.1 4.5 5.3 5.0 5.0 4.6 CHINA 8.8 8.8 N/A N/A 4.3 4.0 N/A N/A COLOMBIA 5.1 5.1 5.0 4.9 3.5 3.5 3.6 3.6 EUROZONE 1.4 1.7 1.7 1.7 2.0 2.0 2.0 2.0 FRANCE 1.7 1.7 1.7 1.8 1.8 1.8 1.8 1.6 GERMANY 1.7 2.0 2.0 2.0 1.8 1.9 1.9 1.8 GREECE 0.1 0.1 0.9 -0.1 1.4 1.4 0.5 0.7 HONG KONG 4.9 4.7 4.7 4.5 4.5 4.5 4.0 3.2 HUNGARY 3.0 3.0 3.2 2.8 3.6 3.6 3.0 3.6 INDONESIA 6.7 6.5 6.5 6.3 6.3 6.1 5.5 6.1 IRELAND 1.9 1.9 1.9 2.3 1.4 1.4 1.6 1.7 ISRAEL 4.0 4.0 3.9 3.8 2.8 2.8 3.0 2.5 ITALY 0.9 1.1 1.2 1.3 2.0 2.1 2.0 1.9 JAPAN 2.8 2.9 1.9 1.8 0.2 0.3 0.3 0.3 KUWAIT 4.0 4.0 4.5 4.4 5.0 5.0 4.8 4.3 MALAYSIA 5.2 5.7 5.7 4.8 3.0 3.1 2.9 2.5 MEXICO 3.9 3.8 3.9 3.8 3.9 3.9 3.9 3.7 PHILIPPINES 5.7 5.8 5.8 5.4 4.5 4.5 4.5 4.5 PORTUGAL -1.8 -1.7 0.8 0.6 1.8 1.8 1.8 2.3 RUSSIA 4.5 4.5 4.4 4.4 7.7 7.7 7.5 7.8 SAUDI ARABIA 4.1 4.1 4.6 4.5 5.5 5.5 5.3 4.7 SINGAPORE 4.9 5.1 5.1 5.8 2.9 2.5 3.0 3.0 SOUTH AFRICA 3.7 4.0 4.0 4.0 6.2 5.7 5.7 5.8 SOUTH KOREA 4.6 4.6 4.4 4.8 3.2 3.3 3.1 3.3 SPAIN 1.4 1.4 1.3 1.4 1.9 2.0 2.1 1.9 SWITZERLAND 1.4 2.1 2.1 2.3 0.6 1.2 1.2 1.3 TAIWAN 5.0 5.0 5.0 N/A 2.2 2.2 N/A N/A THAILAND 4.9 4.9 4.9 5.3 3.9 3.2 3.2 3.6 TURKEY 4.0 4.5 4.5 5.0 6.0 6.6 6.6 6.4 BRITAIN 1.8 1.9 2.0 2.1 2.6 2.5 2.3 2.0 UNITED STATES 2.4 2.9 3.1 3.2 2.1 2.1 2.1 2.0 Source: Bloomberg, CEIC, KBank เหตุการณที่คลายกับปค.ศ. 2008 กําลังกลับมาอีกครั้ง สังเกตจากความแตกตางระหวางสิ่งที่เราเคยคาดวา จะเกิดในป 2009 กับสิ่งที่เกิดขึ้นจริง และสามารถชี้ใหเห็นวาวานักเศรษฐศาสตรก็เปนเพียงมนุษยคนหนึ่ง ที่ยอมทําผิดพลาดได และการผิดพลาดในปค.ศ. 2009 ก็ถือเปนการผิดพลาดครั้งใหญ  77 7
  • 8. รูปที่ 4. การประมาณการของตลาด - การขยายตัวทางเศรษฐกิจและอัตราเงินเฟอป 2009 2009 GDP estimates 2009 actual GDP 2009 inflation 2009 actual inflation pre Lehmans reading estimates pre reading Lehmans AUSTRALIA 2.8 1.4 3.2 1.9 BRAZIL 3.5 -0.6 4.9 4.9 CHINA 9.4 9.2 5.1 -0.7 COLOMBIA 4.5 1.5 4.8 4.2 EUROZONE 1.1 -4.2 2.4 0.3 FRANCE 1.2 -2.7 N/A 0.1 GERMANY 1.0 -5.1 N/A 0.2 GREECE N/A -2.4 N/A 1.3 HONG KONG 4.5 -2.7 4.4 0.5 HUNGARY N/A -6.6 N/A 4.2 INDONESIA 6.1 4.6 7.8 4.9 IRELAND N/A -7.0 N/A -1.7 ISRAEL N/A 0.8 N/A 3.3 ITALY 0.6 -5.2 2.5 0.8 JAPAN 1.2 -6.3 N/A -1.3 KUWAIT N/A N/A N/A N/A MALAYSIA N/A -1.6 N/A 0.7 MEXICO 2.9 -6.1 3.9 5.3 PHILIPPINES N/A 1.1 N/A 4.2 PORTUGAL N/A -2.5 N/A -0.9 RUSSIA 7.0 -7.8 11.3 11.7 SAUDI ARABIA N/A 0.6 N/A 5.1 SINGAPORE 5.8 -0.8 3.0 0.6 SOUTH AFRICA 3.2 -1.7 7.4 7.1 SOUTH KOREA 4.6 0.3 3.7 2.8 SPAIN 0.1 -3.7 2.8 -0.2 SWITZERLAND 1.5 -1.9 1.7 -0.5 TAIWAN N/A -1.9 N/A -0.9 THAILAND 5.1 -2.3 4.0 -0.8 TURKEY 4.5 3.9 8.5 6.3 BRITAIN 0.9 -4.9 2.6 2.2 UNITED STATES 1.5 -3.5 2.8 -0.4 Source: Bloomberg, CEIC, KBank รูปที่ 4. เปนสัญญาณเตือนวาสถานการณป 2012 อาจจะคลายกับป 2009 (แมตลาดยังมองวาการเกิด ภาวะทดถอยทางเศรษฐกิจยังมีความเปนไปไดที่จํากัด) โดยบงชี้วาเศรษฐกิจประเทศใดจะมีภูมตานทานที่ ิ ดีกวาในสภาวะที่ภาวะเศรษฐกิจโลกชะลอตัว เศรษฐกิจที่ไมไดเผชิญกับการหดตัวทางเศรษฐกิจในป 2009 ไดแก ออสเตรเลีย จีน โคลัมเบีย อินโดนีเซีย อิสราเอล ฟลิปปนส ซาอุดิอาระเบีย เกาหลีใต และตุรกี 88 8
  • 9. รูปที่ 5. การประเมินสถานการณเศรษฐกิจสหรัฐฯป 2009 ของตลาด ณ ป รูปที่ 6. การประเมินสถานการณเศรษฐกิจยุโรปป 2009 ของตลาด ณ ป 2008 2008 ผิดพลาด ผิดพลาดเชนกัน 4 3 3 2 2 1 1 0 0 Jan-08 -1 Apr-08 Jul-08 Oct-08 Jan-09 Apr-09 Jul-09 Oct-09 Jan-10 Jan-08 -1 Apr-08 Jul-08 Oct-08 Jan-09 Apr-09 Jul-09 Oct-09 Jan-10 -2 -2 -3 -3 -4 -4 -5 Consensus estimate for 2009 US GDP, pre Lehman post Lehman Consensus estimate for 2009 EU GDP, pre Lehman post Lehman Source: Bloomberg, CEIC, KBank Source: Bloomberg, CEIC, KBank อะไรคือสัญญาณที่ชี้วาจะเกิดวิกฤติเศรษฐกิจอีกครั้ง วิกฤตการเงินมีแนวโนมที่จะสงสัญญาณใหกับเรากอนที่จะเกิดขึ้นจริง นอกจากอัตราผลตอบแทนพันธบัตร ที่เพิ่มขึ้นสูงและการเพิ่มขึ้นของคาประกันการผิดชําระหนี้ ตัววัดแบบดั้งเดิมอีกอยางหนึ่งคือ ราคาตอมูลคา ทางบัญชี (Price to book value หรือ PBR) ของธนาคารพาณิชย เมื่อไปตรวจสอบขอมูล PBR ของ ธนาคารพาณิชยที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยในชวงที่เกิดวิกฤติการเงินของประเทศไทย เราพบวาคา ของสินทรัพยของธนาคารพาณิชยไดถูกปรับลดลง (written down) เมื่อคุณภาพของสินเชื่อดอยคาลง รูปที่ 8. แสดงใหเห็น PBR ที่ลดลงไปถึง 0.5 สาเหตุอ่ืนที่ทําใหราคาหุนของธนาคารลดลงคือนักลงทุนคาด วาจะมีการเพิ่มทุนเพื่อปรับปรุงงบดุลของธนาคาร ซึ่งจะไปลดสัดสวนการถือหุนของผูถือหุนเดิม สําหรับ สถาบันการเงินที่ไมมีศักยภาพไดถูกบังคับใหปดกิจการ และในที่สุดหนี้ของภาคเอกชนก็จะถูกโอนไปยัง รัฐบาล อันเปนการเพิ่มหนี้สาธารณะ รูปที่ 7. ใครจะเปนเลหแมนบราเดอรส (ภาคยุโรป) รายตอไป รูปที่ 8. price to book ratio ของธนาคารไทยชวงวิกฤตป 1997 3.50 3.00 2.50 2.00 1.50 1.00 96 97 98 99 00 0.50 0.00 Thai SET Bank index, price to book ratio Source: cagle.com Source: Bloomberg, CEIC, KBank 99 9
  • 10. ในชวงที่กําลังจะเกิดการลมสลายของเลหแมนบราเดอร ขาวแตละวันไดกระทบตอการประเมินมูลคาของ ธนาคารสหรัฐฯ อาทิเชน การเพิ่มขึ้นของหนี้สูญที่ไดจากการจํานองบาน ราคาบานที่ลดลง และบริษัท แบร สเตอรนสท่ีถูกควบรวมกิจการกับ เจพี มอรแกน เชส นอกเหนือจาก QE1 แลว รัฐบาลสหรัฐฯยังไดเริ่ม มาตรการทารป (TARP) มูลคา 700 พันลานบาท เรียกวา โครงการบรรเทาสินทรัพยทีมีปญหา (Trouble Asset Relief Program) เพื่อใหความชวยเหลือทางการเงินแกธนาคาร ในรูปที่ 9 เราจะเห็นรูปแบบ คลายกันของราคาหุนตอมูลคาทางบัญชีของธนาคารสหรัฐฯที่ลดลงไปประมาณ 0.5 เทา และแสดงใหเห็น ถึงปญหาทางการเงิน ดัชนี KBW (รหัสบลูมเบิรก: BKX Index) ณ ปจจุบันประกอบดวยสถาบันการเงิน 24 แหง รูปที่ 9. price to book ratio ของธนาคารในสหรัฐฯ รูปที่ 10. price to book ratio ของธนาคารในยุโรป 3.50 2.50 3.00 2.00 2.50 2.00 1.50 1.50 1.00 1.00 98 99 00 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 98 99 00 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 0.50 0.50 0.00 0.00 KBW Bank index, price to book ratio Euro Stoxx Bank index, price to book ratio Source: Bloomberg, CEIC, KBank Source: Bloomberg, CEIC, KBank รู ป ที่ 10 แสดงให เ ห็ น ถึ ง เรื่ อ งเดี ย วกั น ที่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ ดั ช นี ธ นาคารในกลุ ม ยู โ ร (ธนาคารยู โ ร STOXX, รหัสบลูมเบิรก: SX7E Index) ซึ่งประกอบดวย 33 สถาบันการเงิน ปจจุบันสัดสวนระหวางราคาหุนตอ มูลคาทางบัญชีของดัชนี STOXX ธนาคารพาณิชยยูโร อยูที่ 0.41 เทา ภาพที่ 11 ใหรายละเอียดที่แสดงวาธนาคารใดที่ตลาดมองวามีความเสี่ยง ตลาดจะตองใหความสนใจอยาง พิเศษตอธนาคารขนาดใหญเชน Banco Santander BNP Paribas Credit Agricole Deutsche Bank และ Societe Generale 1010 10
  • 11. รูปที่ 11. สถิติและดัชนีสําคัญเกี่ยวกับธนาคารในยุโรป (สวนของธนาคารทีอยูในดัชนีหุน Euro Stoxx Bank Index ณ วันที่ 9 ก.ย. 2011) ่ Bank Country price to CDS total assets, Total risk capital book, spread, EUR mn based adequacy times bps capital ratio, % ratio, % ALPHA BANK A.E. GREECE 0.19 1,448 66,798 13.5 9.0 BANCA CARIGE SPA ITALY 0.63 N/A 40,010 9.1 N/A BANCA MONTE DEI PASCHI SIENA ITALY 0.16 465 244,279 12.95 N/A BANCA POPOL EMILIA ROMAGNA ITALY 0.54 N/A 58,498 10.55 6.8 BANCA POPOLARE DI MILANO ITALY 0.15 491 54,053 10.83 7.1 BANCA POPOLARE DI SONDRIO ITALY 0.91 N/A 26,282 9.48 N/A BANCO BILBAO VIZCAYA ARGENTA SPAIN 0.72 317 552,738 13.7 9.6 BANCO COMERCIAL PORTUGUES-R PORTUGAL 0.19 1,514 100,010 10.3 6.7 BANCO DE SABADELL SA SPAIN 0.61 817 97,099 11.08 8.2 BANCO ESPIRITO SANTO-REG PORTUGAL 0.43 974 83,655 11.3 7.9 BANCO POPOLARE SCARL ITALY 0.16 651 135,156 10.7 N/A BANCO POPULAR ESPANOL SPAIN 0.64 N/A 130,140 9.66 9.4 BANCO SANTANDER SA SPAIN 0.66 312 1,217,501 13.1 8.8 BANKINTER SA SPAIN 0.58 N/A 54,152 9.59 N/A BNP PARIBAS FRANCE 0.55 245 1,998,158 14.5 9.2 COMMERZBANK AG GERMANY 0.39 267 754,299 15.3 3.9 CREDIT AGRICOLE SA FRANCE 0.32 256 1,593,529 12.8 8.4 DEUTSCHE BANK AG-REGISTERED GERMANY 0.45 182 1,905,630 14.1 8.7 DEXIA SA BELGIUM 0.42 N/A 566,735 14.7 12.1 EFG EUROBANK ERGASIAS GREECE 0.16 N/A 87,188 11.7 9.1 ERSTE GROUP BANK AG AUSTRIA 0.61 243 205,938 13.5 9.2 BANK OF IRELAND IRELAND 0.06 1,661 167,473 11 9.7 INTESA SANPAOLO ITALY 0.29 370 658,757 13.2 7.9 KBC GROEP NV BELGIUM 0.50 N/A 320,823 16.5 10.5 MEDIOBANCA SPA ITALY 0.74 340 76,501 12.97 N/A NATIONAL BANK OF GREECE GREECE 0.35 1,518 120,745 13.7 12.0 NATIXIS FRANCE 0.46 236 458,009 15.7 7.9 PIRAEUS BANK S.A. GREECE 0.22 N/A 57,680 9.3 7.6 POHJOLA BANK PLC-A SHS FINLAND 1.02 N/A 36,184 13.3 N/A RAIFFEISEN BANK INTERNATIONA AUSTRIA 0.55 N/A 131,173 13.3 8.9 SOCIETE GENERALE FRANCE 0.33 332 1,132,072 12.1 8.5 UNICREDIT SPA ITALY 0.24 406 929,488 12.68 8.6 UBI BANCA SCPA ITALY 0.15 401 130,559 11.17 7.0 Source: Bloomberg, CEIC, KBank 1111 11
  • 12. ถนนทุกเสน (สําหรับ ECB) มุงหนาสูกรุงโรม อาจมีการกลาววาเลข 7 เปนเลขนําโชค แตสําหรับประเทศยูโรโซน เลข 7คงเปนโชคราย ชวงที่ผานมา ประเทศยูโรโซนที่มีอัตราผลตอบแทนพันธบัตรอายุ 10 ปเกิน 7% ตองขอรับความชวยเหลือจากกองทุน การเงินระหวางประเทศ (IMF) และเยอรมันนี เมื่อเร็วๆ นี้ ECB มีความพยายามที่จะระงับการแพรของ ปญหาเมื่อตลาดเกิดความกลัวตอการเพิ่มขึ้นของอัตราผลตอบแทนพันธบัตร โดยเฉพาะจากอิตาลี ตลาด ตราสารหนี้ของอิตาลีเปนตลาดที่ใหญที่สุดอันดับสามรองจากญี่ปุนและสหรัฐอเมริกา โดยมีมูลคาอยูที่ 2.179 ลานลานดอลลารสหรัฐฯ หากอัตราผลตอบแทนพันธบัตรของอิตาลีเพิ่มขึ้น ราคาพันธบัตรก็จะลดลง และผูถือพันธบัตรหรือนักลงทุนจะขาดทุน การขาดทุนนั้นหมายถึงการสูญเสียเงินทุน และในที่สุดปญหา ดังกลาวอาจมีเปลี่ยนสภาพจากวิกฤติสภาพคลองเปนประเด็นดานการลมละลาย(solvency) หรือ เจง นั่นเอง! รูปที่ 12. อัตราผลตอบแทนพันธบัตรอายุ 10 ปของรัฐบาล PIIGSและเสน รูปที่ 13. ธนาคารกลางยุโรป (อีซีบี) พยายามไมใหอัตราผลตอบแทน สําคัญเชิงจิตวิทยา ที่ 7% พันธบัตรอายุ 10 ปของอิตาลีแตะ 7% % Portugal Ireland Italy Greece 25 530 4.5 Spain Germany 7% line 520 4.7 4.9 20 510 5.1 500 5.3 15 490 5.5 5.7 10 480 5.9 470 6.1 5 460 6.3 Mar-11 Apr-11 May-11 Jun-11 Jul-11 Aug-11 Sep-11 0 Jan-09 Jul-09 Jan-10 Jul-10 Jan-11 Jul-11 ECB holding in Euro bonds, EUR bn Italy 10yr yields, % , right, inverted Source: Bloomberg, CEIC, KBank Source: Bloomberg, CEIC, KBank รูปที่ 13. แสดงใหเห็นวา ECB พยายามที่จะระงับการเพิ่มขึ้นของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรอายุ 10 ปของ อิตาลีเพื่อไมใหเขาใกล 7% ในชวงตนเดือนสิงหาคม ECB เพิ่มการถือครองพันธบัตรของยุโรปจากเดิมที่ 4.69 แสนลานยูโร เปน 5.23 แสนลานยูโร แตดูเหมือนวา วิธีนี้ใ ชไดเพียง 2-3 สัปดาหกอนที่อัตรา ผลตอบแทนพันธบัตรอิตาลีจะเริ่มปรับตัวเพิ่มขึ้นอีกครั้ง ซึ่งทําใหเงินทุนของธนาคาร (ธนาคารยุโรปเปน หลัก) ซึ่งถือครองพันธบัตรเหลานั้นมีมูลคาลดลง สิ่งที่จะกอใหเกิดความตื่นตระหนกของตลาดครั้งตอไปคง เปนเวลาที่ผลตอบแทนพันธบัตร 10 ป ไปอยูที่ระดับใกล 7% มากขึ้น ยังเหลือทางเลือกอยูหรือไม สามปหลังจากเกิดวิกฤติการเงินป 2008 การดําเนินนโยบายการคลังและนโยบายการเงินพรอมๆกันเพื่อ ฟนฟูเศรษฐกิจดูเหมือนจะชวยบรรเทาปญหา อยางไรก็ดี การใชนโยบายการคลังกระตุนเศรษฐกิจมาก เกินไป (โดยเฉพาะการเพิ่มรายจายภาครัฐ) ไดเปลี่ยนสภาพมาตรการภาครัฐฯจากยารักษาไขเศรษฐกิจให เปนยาพิษ ในชวงตนไตรมาสที่ 3 ปนี้ สิ่งที่ไมคาดคิดก็ไดเกิดขึ้น นั่นคือการปรับลดอันดับความนาเชื่อถือ 1212 12
  • 13. ของรัฐบาลสหรัฐฯ เหตุการณดังกลาวสะทอนใหเห็นวาการใชนโยบายการคลังมากเกินไปไมเปนสิ่งที่ยั่งยืน ดังนั้นเราคาดวา วิกฤติหนี้ของยุโรปยังคงยืดเยื้อตอไป รูปที่ 14. อัตราดอกเบี้ยนโยบายของประเทศสหรัฐฯ ยุโรปและญี่ปุน รูปที่ 15. งบดุลของเฟดและอีซีบี % 7 3,000 6 2,500 5 2,000 4 1,500 3 1,000 2 1 500 0 - 00 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 02 03 04 05 06 07 08 09 10 US UK Europe Japan Fed's balance sheet, USD bn ECB balance sheet, EUR bn Source: Bloomberg, CEIC, KBank Source: Bloomberg, CEIC, KBank รูปที่ 16. ฮิวสตัน... เศรษฐกิจของเราจะทะยานขึ้นไดหรือไม? Source: cagle.com ดังเชนที่รายงานไปในฉบับกอนหนา การอัดฉีดเงินเพื่อลดมูลคาหนี้ของประเทศในตะวันตกจะดําเนินตอไป ดวยการพิมพเงินกระดาษออกมาเพื่อที่จะลดคาเงินของสกุลเงินของพวกเขา ซึ่งก็เปนการลดหนี้ของพวก เขาเอง คงไม มี ข อ สงสั ย ต อ การกระทํ า ของเฟดและ ECB ที่ ช ว ยรั ก ษาระบบการเงิ น ของพวกเขาจะมี ผลกระทบตอเศรษฐกิจทั่วโลก ซึ่งดูไดจากขนาดของเศรษฐกิจประเทศเหลานั้น ในกรณีอื่นที่ “ใหญเกินกวา ที่จะลมได” ไดลมลงจริง เราอาจเห็นเหตุการณใน 2008-2009 ซ้ําอีกครั้ง 1313 13
  • 14. รูปที่ 18. KBank USD/Asia index เมื่อเปน ตัวแปรของปริมาณเงินความหมายแคบ รูปที่ 17. KBank USD/Asia index หรือ M1 ของสหรัฐฯ ตั้งแตป 2009 KBank USD/Asia index 120 120 115 115 110 110 105 y = -0.0269x + 150.11 105 2 R = 0.7498 100 100 00 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12 95 95 90 90 1500 1600 1700 1800 1900 2000 2100 2200 USD/Asia index, Jan 2000 = base based on consensus estimates USD M1money supply, bn Source: Bloomberg, CEIC, KBank Source: Bloomberg, CEIC, KBank รูปที่ 17 แสดงใหเห็นวาในชวงที่ตลาดตกใจหลังการลมสลายของเลหแมนบราเดอร ไดนําไปสูการติดขัดใน การกูยืมระหวางธนาคาร และการขาดแคลนเงินดอลลารสหรัฐฯ คาเงินดอลลารสหรัฐฯ และดัชนีดอลลาร สหรัฐฯ/ เอเชียของเรา ทะยานขึ้นสูง (ดัชนีดอลลารสหรัฐฯ/เอเชียของเราคือการจัดทําดัชนีถวงน้ําหนักแบบ งายของคาเงินดอลลารสหรัฐฯ/เอเชียสิบเอ็ดคู) ในขณะนี้ ทางเฟด และECB ไดดําเนินการมากเกินพอแลวที่ จะสรางความมั่นใจตอภาวะสภาพคลองของตลาด การเคลื่อนไหวอยางไรทิศทางของเงินดอลลารสหรัฐฯ เปนสิ่งที่คาดการณไดในชวงที่ตลาดเกิดการตื่นตระหนก อยางไรก็ดี ภายหลังที่ตลาดหายตื่นตระหนก การ เพิ่มขึ้นของปริมาณกระดาษในรูปดอลลารสหรัฐฯ จะกดดันใหคาเงินดอลลารสหรัฐฯออนคาลงดังที่เห็นใน ไตรมาสที่สองของป 2009 1414 14
  • 15. รูปแบบเศรษฐกิจอินโดนีเซีย กับการฟนฝาพายุทางเศรษฐกิจลูกใหม ฝนรายทางเศรษฐกิจยังไมสิ้นสุด ประเทศไทยยังคงมีความเสี่ยงจากเศรษฐกิจที่ ชะลอตัวในประเทศตะวันตก จนกวาเราจะปรับรูปแบบเศรษฐกิจของเราใหเนน การบริโภคภายในประเทศ แมวาการสงออก และนําเขาจะหดตัว เศรษฐกิจอินโดนีเซียไมไดถูกกระทบมาก จากการที่ไมไดพึ่งพิงการคาระหวางประเทศมากนัก ดังที่พบวาการผลิตสินคา และบริการถึง 85% เปนไปเพื่อการบริโภคภายในประเทศ ประเทศไทยนาจะไดประโยชนจากการเปลี่ยนตลาดการสงออกจากประเทศใน ตะวันตกมาเปนประเทศอินโดนีเซียมากขึ้น เนื่องจากประเทศอินโดนีเซียกําลัง จะเปนตลาดใหญในภูมภาคที่ชวยบรรเทาการชะลอตัวทางเศรษฐกิจ ิ สินคาสงออกของไทยที่สําคัญไปยังอินโดนีเซียไดแก รถยนต น้ําตาล และ ขาว ซึ่งผูสงออกไทยมีศักยภาพในการเขาสูตลาดนี้  รูปแบบเศรษฐกิจที่ไดประโยชนจากโลกาภิวัตนสูงสุด หลังจากการลมสลายของเลหแมนบราเดอร ที่เขยาเศรษฐกิจโลกโดยสภาพคลองที่จางหายไปในภาคธุรกิจ ที่นําไปสูการหดตัวในการลงทุนและการผลิต เอเชียไมไดปลอดภัยจากวิกฤติเศรษฐกิจในประเทศตะวันตก หลายประเทศอาศัยการสงออกเพื่อสรางรายไดและการจางงานอยางมาก การที่ประเทศไทยมีเศรษฐกิจ แบบเปดขนาดเล็ก จึงไดรับผลกระทบอยางรุนแรงจากภาวะเศรษฐกิจถดถอยทั่วโลก โชคดีที่ประเทศไทยมี แรงงานนอกระบบที่ มี ข นาดใหญ โดยเฉพาะภาคเกษตรที่ ช ว ยในการดู ด ซั บ การว า งงาน อย า งไรก็ ดี เศรษฐกิจของเราไดหดตัวลง ซึ่งนําไปสูการลดลงของรายไดของครัวเรือน และระดับความยากจนที่สูงขึ้น โลกาภิวัตนเปนตนเหตุสําหรับภาวะเศรษฐกิจถดถอยหรือไม เราไมควรลืมวาเศรษฐกิจไทยไดพัฒนาขึ้น เพราะโลกาภิวัตนเชนกัน เศรษฐกิจไทยไดปรับเปลี่ยนจากการผลิตเพื่อทดแทนการนําเขา เปนการผลิตเพื่อ การสงออก ในชวงเริ่มตนของการพัฒนาเราพยายามที่จะทดแทนการนําเขาสินคาอุตสาหกรรม ดวยการ ผลิตสินคาอุตสาหกรรมที่ไมใชแรงงานเขมขน ซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อลดการพึ่งพาตางประเทศ อยางไรก็ตาม นโยบายทางเศรษฐกิจที่ผานมาที่กอใหเกิดการแทรกแซงอัตราแลกเปลี่ยน และอัตราภาษีนําเขาไดนําไปสู การขาดดุลการคาที่สงผลใหประสิทธิภาพการผลิตลดลง ตอมารัฐบาลไดเปลี่ยนเปนอุตสาหกรรมสงออกที่ เนนการผลิตสินคาอุตสาหกรรมที่ใชแรงงานมาก เศรษฐกิจในประเทศไทยและในเอเชียตะวันออกอื่น ๆ ได เติบโตอยางรวดเร็วโดยอาศัยความตองการจากตางประเทศ อยางไรก็ตามการชะลอตัวของเศรษฐกิจใน สหรัฐฯ ยูโรโซน และญี่ปุนไดกดดันเศรษฐกิจของเรา เนื่องจากการผลิตภาคอุตสาหกรรมของเราไดลดลง จากความตองการการสง ออกที่ลดลง ฝน รายทางเศรษฐกิ จยัง ไมจบ และมี แ นวโนมที่จ ะดํา เนิน ตอ ไป 1515 15