SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  4
Télécharger pour lire hors ligne
โจทย์ปญหา PBL 4.2
                                   ั
                    เรือง การเขียนอัลกอริทมแบบโฟลว์ชาร์ต
                       ่                  ึ        ชาร์




ภารกิจ
1. โปรแกรมที่นักเรียนวิเคราะห์ขึ้นมามีวัตถุประสงค์เพื่ออะไร สามารถนามาใช้แก้ปัญหาใน
   ชีวิตประจาวันได้หรือไม่
2. นักเรียนและสมาชิกในกลุ่ม ออกแบบขั้นตอนการทางานของโปรแกรมนี้ว่าควรจะมี
   ขั้นตอนการทางานอย่างไร จะต้องมีข้อมูลนาเข้าหรือไม่ จะต้องมีการประมวลผลอย่างไร
   และข้อมูลที่ได้หรือแสดงออกมานั้นควรจะมีลักษณะอย่างไร โดยเขียนขั้นตอนการทางาน
   เป็นลาดับ และเขียนเป็นแผนภาพอธิบายขั้นตอนการทางานตามที่ได้ออกแบบไว้
                                                                   ออกแบบไว้
แบบบันทึกการศึกษาค้นคว้าและการแก้ปัญหา
         โจทย์ปญหา PBL 4.2 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลว์ชาร์ต
                ั
  รายวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง30201 ระดับชันมัธยมศึกษาปีที่ 4
                                                      ้


   สมาชิกในกลุ่ม
   1.     นายนัฐพล อาษาพนม                   เลขที่ 5
   2. นางสาวยลยุพา ลานนท์                    เลขที่ 13
   3. นางสาวนิตยา หงษ์ทอง                    เลขที่ 15

   ตอนที่ 1
      หัวข้อปัญหา การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลว์ชาร์ต     ชาร์
      ทาความเข้าใจปัญหา
      - สิ่ ง ที่ ต้ อ งการรู้ ขั้ น ตอนการท างานและการเขี ย นแผนภาพอธิ บ าย การท างานของ
          โปรแกรม
      - วิธีการหาคาตอบ                     1.ปรึกษากันภายในกลุ่ม แล้วแบ่งหน้าที่กันทา
                                           2.สืบค้นข้อตามเว็บไซต์ต่างๆ
      การศึกษาค้นคว้า / แก้ปัญหา
                  ชื่อสมาชิก                   การแบ่งหน้าที่          แหล่งข้อมูล/อ้างอิง
   นายนัฐพล อาษาพนม                        จัดเรียง,ตรวจทาน       www.e-learning.snru.ac.th
   นางสาวยลยุพา ลานนท์                     สืบค้นข้อมูล           -
   นางสาวนิตา หงษ์ทอง                      พิมพ์                  www.lks.ac.th/kuanjit/c_pa
                                                                  ge01.htm

   ตอนที่ 2 สรุปผลการศึกษาค้นคว้า / แก้ปัญหาตามภารกิจ
1. โปรแกรมทีนกเรียนวิเคราะห์ขนมามีวตถุประสงค์เพื่ออะไร สามารถนามาใช้แก้ปญหาใน
              ่ ั              ึ้     ั                                         ั
   ชีวตประจาวันได้หรือไม่
      ิ
   ตอบ โปรแกรมที่วิเคราะห์ขึ้นมามีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยในการหาค่าเงินกู้ที่รวมอัตราดอกเบี้ย
                                                เพื
   เรียบร้อย โปรแกรมมีวิธีการคานวณอย่างง่ายดาย เพียงป้อนข้อมูล จานวนเงินกู้ และอัตรา
   ดอกเบี้ย สรุปคือ โปรแกรมที่วิเคราะห์ขึ้น มีประโยชน์ในชีวิตประจาวัน โดยเฉพาะเรื่องเงินที่
   เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนในปัจจุบัน
2. นักเรียนและสมาชิกในกลุม ออกแบบขันตอนการทางานของโปรแกรมนีว่าควรจะมีขั้นตอน
                            ่         ้                            ้
   การทางานอย่างไร จะต้องมีขอมูลนาเข้าหรือไม่ จะต้องมีการประมวลผลอย่างไร และข้อมูลที่
                                ้
   ได้หรือแสดงออกมานันควรจะมีลักษณะอย่างไร โดยเขียนขันตอนการทางานเป็นลาดับ และ
                       ้                               ้
   เขียนเป็นแผนภาพอธิบายขันตอนการทางานตามทีได้ออกแบบไว้
                              ้                 ่ ออกแบบไว้
   ตอบ การทางานของโปรแกรมจะมีขั้นตอน ดังนี้
          -    มีข้อมูลนาเข้าโดยโปรแกรมจะรับค่า จานวนเงินที่กู้ (Amount), ค่าของอัตรา
                 ข้
               ดอกเบี้ย (Interest)
          -    การประมวลผล Pay = Amount* Interest
          -    ข้อมูลที่ได้หรือแสดงออกมาควรจะมีลักษณะ เป็นค่าเฉลี่ยของจานวนเงินกู้ที่
               ต้องชาระ(Pay)


         Input= จานวนเงินที่กู้ (Amount), ค่าของอัตราดอกเบี้ย (Interest)
         Process= Interest=3/100 *ดอกเบี้ยร้อยละสาม
                      Pay = Amount* Interest
         Output= ค่าจานวนเงินกู้ที่ต้องชาระ (Pay)

                                    แผนผังการทางาน

                                          เริ่มต้น


                                   รับ Amount,Interest


                                Pay = Amount* Interest


                              แสดงค่าจานวนเงินกู้ที่ต้องชาระ
                              (Pay)
                                       จบการทางาน
เกณฑ์การให้คะแนน
คะแนนรวมได้ระหว่าง 5     คะแนน   หมายถึง   ดีมาก
คะแนนรวมได้ระหว่าง 3 - 4 คะแนน   หมายถึง   ดี
คะแนนรวมได้ระหว่าง 1 - 2 คะแนน   หมายถึง   ปานกลาง
คะแนนรวมได้ระหว่าง 0     คะแนน   หมายถึง   ควรปรับปรุง

Contenu connexe

Similaire à โจทย์ปัญหา Pbl 4.2 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลวชาร์ต

โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม nattapon Arsapanom
 
โจทย์ปัญหา Pbl 8.1เรื่อง การรับข้อมู]ทางคีย์บอร์ด
โจทย์ปัญหา Pbl 8.1เรื่อง  การรับข้อมู]ทางคีย์บอร์ดโจทย์ปัญหา Pbl 8.1เรื่อง  การรับข้อมู]ทางคีย์บอร์ด
โจทย์ปัญหา Pbl 8.1เรื่อง การรับข้อมู]ทางคีย์บอร์ดnattapon Arsapanom
 
งาน Pbl4.1
งาน Pbl4.1งาน Pbl4.1
งาน Pbl4.1Naynoyjolii
 
งาน Pbl4.2
งาน Pbl4.2งาน Pbl4.2
งาน Pbl4.2Naynoyjolii
 
โจทย์ปัญหา Pbl 4
โจทย์ปัญหา Pbl 4โจทย์ปัญหา Pbl 4
โจทย์ปัญหา Pbl 4anusong
 
โจทย์ปัญหา Pbl4.1
โจทย์ปัญหา Pbl4.1โจทย์ปัญหา Pbl4.1
โจทย์ปัญหา Pbl4.1siriyaporn20099
 
โจทย์ปัญหา Pbl4.1
โจทย์ปัญหา Pbl4.1โจทย์ปัญหา Pbl4.1
โจทย์ปัญหา Pbl4.1siriyaporn20099
 
โจทย์ปัญหา Pbl4.1
โจทย์ปัญหา Pbl4.1โจทย์ปัญหา Pbl4.1
โจทย์ปัญหา Pbl4.1siriyaporn20099
 
โจทย์ปัญหา Pbl 4.1 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลวชาร์ต
โจทย์ปัญหา Pbl 4.1 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลวชาร์ตโจทย์ปัญหา Pbl 4.1 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลวชาร์ต
โจทย์ปัญหา Pbl 4.1 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลวชาร์ตnattapon Arsapanom
 
โจทย์ปัญหา Pbl4.2
โจทย์ปัญหา Pbl4.2โจทย์ปัญหา Pbl4.2
โจทย์ปัญหา Pbl4.2anusong
 
โจทย์ปัญหา Pbl 7.2เรื่อง การแสดงผลออกทางหน้าจอ
โจทย์ปัญหา Pbl 7.2เรื่อง  การแสดงผลออกทางหน้าจอโจทย์ปัญหา Pbl 7.2เรื่อง  การแสดงผลออกทางหน้าจอ
โจทย์ปัญหา Pbl 7.2เรื่อง การแสดงผลออกทางหน้าจอnattapon Arsapanom
 

Similaire à โจทย์ปัญหา Pbl 4.2 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลวชาร์ต (20)

Pbl 3
Pbl 3Pbl 3
Pbl 3
 
โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
 
Pbl 3
Pbl 3Pbl 3
Pbl 3
 
Pbl4.2
Pbl4.2Pbl4.2
Pbl4.2
 
โจทย์ปัญหา Pbl 8.1เรื่อง การรับข้อมู]ทางคีย์บอร์ด
โจทย์ปัญหา Pbl 8.1เรื่อง  การรับข้อมู]ทางคีย์บอร์ดโจทย์ปัญหา Pbl 8.1เรื่อง  การรับข้อมู]ทางคีย์บอร์ด
โจทย์ปัญหา Pbl 8.1เรื่อง การรับข้อมู]ทางคีย์บอร์ด
 
งาน Pbl4.1
งาน Pbl4.1งาน Pbl4.1
งาน Pbl4.1
 
งาน Pbl4.1
งาน Pbl4.1งาน Pbl4.1
งาน Pbl4.1
 
งาน Pbl4.2
งาน Pbl4.2งาน Pbl4.2
งาน Pbl4.2
 
งาน Pbl4.2
งาน Pbl4.2งาน Pbl4.2
งาน Pbl4.2
 
โจทย์ปัญหา Pbl 4
โจทย์ปัญหา Pbl 4โจทย์ปัญหา Pbl 4
โจทย์ปัญหา Pbl 4
 
โจทย์ปัญหา Pbl4.1
โจทย์ปัญหา Pbl4.1โจทย์ปัญหา Pbl4.1
โจทย์ปัญหา Pbl4.1
 
โจทย์ปัญหา Pbl4.1
โจทย์ปัญหา Pbl4.1โจทย์ปัญหา Pbl4.1
โจทย์ปัญหา Pbl4.1
 
โจทย์ปัญหา Pbl4.1
โจทย์ปัญหา Pbl4.1โจทย์ปัญหา Pbl4.1
โจทย์ปัญหา Pbl4.1
 
โจทย์ปัญหา Pbl 4.1 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลวชาร์ต
โจทย์ปัญหา Pbl 4.1 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลวชาร์ตโจทย์ปัญหา Pbl 4.1 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลวชาร์ต
โจทย์ปัญหา Pbl 4.1 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลวชาร์ต
 
Pbl7.1
Pbl7.1Pbl7.1
Pbl7.1
 
โจทย์ปัญหา Pbl4.2
โจทย์ปัญหา Pbl4.2โจทย์ปัญหา Pbl4.2
โจทย์ปัญหา Pbl4.2
 
Pbl4.1
Pbl4.1 Pbl4.1
Pbl4.1
 
Pbl4.2
Pbl4.2Pbl4.2
Pbl4.2
 
Pbl3
Pbl3 Pbl3
Pbl3
 
โจทย์ปัญหา Pbl 7.2เรื่อง การแสดงผลออกทางหน้าจอ
โจทย์ปัญหา Pbl 7.2เรื่อง  การแสดงผลออกทางหน้าจอโจทย์ปัญหา Pbl 7.2เรื่อง  การแสดงผลออกทางหน้าจอ
โจทย์ปัญหา Pbl 7.2เรื่อง การแสดงผลออกทางหน้าจอ
 

โจทย์ปัญหา Pbl 4.2 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลวชาร์ต

  • 1. โจทย์ปญหา PBL 4.2 ั เรือง การเขียนอัลกอริทมแบบโฟลว์ชาร์ต ่ ึ ชาร์ ภารกิจ 1. โปรแกรมที่นักเรียนวิเคราะห์ขึ้นมามีวัตถุประสงค์เพื่ออะไร สามารถนามาใช้แก้ปัญหาใน ชีวิตประจาวันได้หรือไม่ 2. นักเรียนและสมาชิกในกลุ่ม ออกแบบขั้นตอนการทางานของโปรแกรมนี้ว่าควรจะมี ขั้นตอนการทางานอย่างไร จะต้องมีข้อมูลนาเข้าหรือไม่ จะต้องมีการประมวลผลอย่างไร และข้อมูลที่ได้หรือแสดงออกมานั้นควรจะมีลักษณะอย่างไร โดยเขียนขั้นตอนการทางาน เป็นลาดับ และเขียนเป็นแผนภาพอธิบายขั้นตอนการทางานตามที่ได้ออกแบบไว้ ออกแบบไว้
  • 2. แบบบันทึกการศึกษาค้นคว้าและการแก้ปัญหา โจทย์ปญหา PBL 4.2 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลว์ชาร์ต ั รายวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง30201 ระดับชันมัธยมศึกษาปีที่ 4 ้ สมาชิกในกลุ่ม 1. นายนัฐพล อาษาพนม เลขที่ 5 2. นางสาวยลยุพา ลานนท์ เลขที่ 13 3. นางสาวนิตยา หงษ์ทอง เลขที่ 15 ตอนที่ 1 หัวข้อปัญหา การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลว์ชาร์ต ชาร์ ทาความเข้าใจปัญหา - สิ่ ง ที่ ต้ อ งการรู้ ขั้ น ตอนการท างานและการเขี ย นแผนภาพอธิ บ าย การท างานของ โปรแกรม - วิธีการหาคาตอบ 1.ปรึกษากันภายในกลุ่ม แล้วแบ่งหน้าที่กันทา 2.สืบค้นข้อตามเว็บไซต์ต่างๆ การศึกษาค้นคว้า / แก้ปัญหา ชื่อสมาชิก การแบ่งหน้าที่ แหล่งข้อมูล/อ้างอิง นายนัฐพล อาษาพนม จัดเรียง,ตรวจทาน www.e-learning.snru.ac.th นางสาวยลยุพา ลานนท์ สืบค้นข้อมูล - นางสาวนิตา หงษ์ทอง พิมพ์ www.lks.ac.th/kuanjit/c_pa ge01.htm ตอนที่ 2 สรุปผลการศึกษาค้นคว้า / แก้ปัญหาตามภารกิจ 1. โปรแกรมทีนกเรียนวิเคราะห์ขนมามีวตถุประสงค์เพื่ออะไร สามารถนามาใช้แก้ปญหาใน ่ ั ึ้ ั ั ชีวตประจาวันได้หรือไม่ ิ ตอบ โปรแกรมที่วิเคราะห์ขึ้นมามีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยในการหาค่าเงินกู้ที่รวมอัตราดอกเบี้ย เพื เรียบร้อย โปรแกรมมีวิธีการคานวณอย่างง่ายดาย เพียงป้อนข้อมูล จานวนเงินกู้ และอัตรา ดอกเบี้ย สรุปคือ โปรแกรมที่วิเคราะห์ขึ้น มีประโยชน์ในชีวิตประจาวัน โดยเฉพาะเรื่องเงินที่ เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนในปัจจุบัน
  • 3. 2. นักเรียนและสมาชิกในกลุม ออกแบบขันตอนการทางานของโปรแกรมนีว่าควรจะมีขั้นตอน ่ ้ ้ การทางานอย่างไร จะต้องมีขอมูลนาเข้าหรือไม่ จะต้องมีการประมวลผลอย่างไร และข้อมูลที่ ้ ได้หรือแสดงออกมานันควรจะมีลักษณะอย่างไร โดยเขียนขันตอนการทางานเป็นลาดับ และ ้ ้ เขียนเป็นแผนภาพอธิบายขันตอนการทางานตามทีได้ออกแบบไว้ ้ ่ ออกแบบไว้ ตอบ การทางานของโปรแกรมจะมีขั้นตอน ดังนี้ - มีข้อมูลนาเข้าโดยโปรแกรมจะรับค่า จานวนเงินที่กู้ (Amount), ค่าของอัตรา ข้ ดอกเบี้ย (Interest) - การประมวลผล Pay = Amount* Interest - ข้อมูลที่ได้หรือแสดงออกมาควรจะมีลักษณะ เป็นค่าเฉลี่ยของจานวนเงินกู้ที่ ต้องชาระ(Pay) Input= จานวนเงินที่กู้ (Amount), ค่าของอัตราดอกเบี้ย (Interest) Process= Interest=3/100 *ดอกเบี้ยร้อยละสาม Pay = Amount* Interest Output= ค่าจานวนเงินกู้ที่ต้องชาระ (Pay) แผนผังการทางาน เริ่มต้น รับ Amount,Interest Pay = Amount* Interest แสดงค่าจานวนเงินกู้ที่ต้องชาระ (Pay) จบการทางาน
  • 4. เกณฑ์การให้คะแนน คะแนนรวมได้ระหว่าง 5 คะแนน หมายถึง ดีมาก คะแนนรวมได้ระหว่าง 3 - 4 คะแนน หมายถึง ดี คะแนนรวมได้ระหว่าง 1 - 2 คะแนน หมายถึง ปานกลาง คะแนนรวมได้ระหว่าง 0 คะแนน หมายถึง ควรปรับปรุง