SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  179
1
ตอนที่ 1
คาชี้แจงการจัดแผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
2
1. แนวทางการใช้แผนการจัดการเรียนรู้
คู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้ การอาชีพ เล่มนี้จัดทาขึ้นเพื่อเป็นแนวทางให้ครูใช้ประกอบการ
จัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ช่วงชั้นที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 46 ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็นหน่วยการเรียนรู้ 5
หน่วย สาหรับจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมง ซึ่งสามารถใช้ควบคู่กับสื่อการเรียนรู้ การอาชีพ
สมบูรณ์แบบ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 46 และหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน การอาชีพชั้นมัธยมศึกษาปีที่
46 ประกอบด้วยหน่วยการเรียนรู้ ดังนี้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เปิดโลกอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เส้นทางสู่งานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เทคโนโลยีเพื่อการทางานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ประสบการณ์วิชาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการทางาน
แผนการจัดการเรียนรู้นี้ได้นาเสนอรายละเอียดไว้ครบถ้วนตามแนวทางการจัดทาแผนการจัดการ
เรียนรู้ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนให้
นักเรียนได้พัฒนาองค์ความรู้ สมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้อย่างครบถ้วนตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งครูควรศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้นี้
ให้ละเอียด เพื่อปรับใช้ให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม สถานการณ์ และสภาพของนักเรียน
ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้จะแบ่งแผนการจัดการเรียนรู้ออกเป็นรายชั่วโมง ซึ่งมีจานวนชั่วโมง
มากน้อยไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับความยากง่ายของเนื้อหาสาระ และในแต่ละหน่วยการเรียนรู้มีองค์ประกอบ
ดังนี้
1. ผังมโนทัศน์เป้าหมายการเรียนรู้และขอบข่ายภาระงาน แสดงขอบข่ายเนื้อหาการจัดการเรียนรู้ที่
ครอบคลุมความรู้ ทักษะ/กระบวนการ คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม และภาระงาน/ชิ้นงาน
2. กรอบแนวคิดการออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบ BwD (Template Backward Design) เป็นผัง
แสดงแนวคิดในการจัดการเรียนรู้ของแต่ละหน่วยการเรียนรู้ แบ่งเป็น 3 ขั้น ได้แก่
ขั้นที่ 1 ผลลัพธ์ปลายทางที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับนักเรียน
ขั้นที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งเป็นหลักฐานที่แสดงว่านักเรียนมีผลการ
เรียนรู้ตามที่กาหนดไว้อย่างแท้จริง
ขั้นที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู้จะระบุว่าในหน่วยการเรียนรู้นี้แบ่งเป็นแผนการจัดการเรียนรู้กี่
แผน และแต่ละแผนใช้เวลาในการจัดกิจกรรมกี่ชั่วโมง
3. แผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมง เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ตามกรอบแนวคิดการออกแบบการ
จัดการเรียนรู้แบบ BwDประกอบด้วย
3.1 ชื่อแผนการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วยลาดับที่ของแผน ชื่อแผน และเวลาเรียน เช่น
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง อาชีพรับจ้าง เวลา 2 ชั่วโมง
3
3.2 สาระสาคัญ เป็นความคิดรวบยอดของเนื้อหาที่นามาจัดการเรียนรู้ในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้
3.3 ตัวชี้วัดช่วงชั้น เป็นตัวชี้วัดที่ใช้ตรวจสอบนักเรียนหลังจากเรียนจบเนื้อหาที่นาเสนอใน
แต่ละแผนการจัดการเรียนรู้นั้น ๆ ซึ่งสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตร
3.4 จุดประสงค์การเรียนรู้ เป็นส่วนที่บอกจุดมุ่งหมายที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับนักเรียนภาย
หลังจากการเรียนจบในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ ทั้งในด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม และ
ค่านิยม(A) ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) ซึ่งสอดคล้องสัมพันธ์กับตัวชี้วัดชั้นปีและเนื้อหาในแผนการ
จัดการเรียนรู้นั้น ๆ
3.5 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็นการตรวจสอบผลการจัดการเรียนรู้ว่าหลังจากจัดการ
เรียนรู้ในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้แล้ว นักเรียนมีพัฒนาการ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตามเป้าหมายที่
คาดหวังไว้หรือไม่ และมีสิ่งที่จะต้องได้รับการพัฒนา ปรับปรุง หรือส่งเสริมในด้านใดบ้าง ดังนั้น ในแต่
ละแผนการจัดการเรียนรู้จึงได้ออกแบบวิธีการและเครื่องมือในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านต่าง
ๆ ของนักเรียนไว้อย่างหลากหลาย เช่น การทาแบบทดสอบ การตอบคาถามสั้น ๆ การตรวจผลงาน การ
สังเกตพฤติกรรมทั้งที่เป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม เป็นต้นโดยเน้นการปฏิบัติให้
สอดคล้องและเหมาะสมกับตัวชี้วัดและมาตรฐานการเรียนรู้
วิธีการและเครื่องมือในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้เหล่านี้ครูสามารถนาไปใช้ประเมิน
นักเรียนได้ทั้งในระหว่างการจัดการเรียนรู้และการทากิจกรรมต่าง ๆ ตลอดจนการนาความรู้ไปใช้ใน
ชีวิตประจาวัน
3.6 สาระการเรียนรู้เป็นหัวข้อย่อยที่นามาจัดการเรียนรู้ในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ ซึ่ง
สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้แกนกลาง
3.7 แนวทางบูรณาการเป็นการเสนอแนะแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในเรื่องที่
เรียนรู้ของแต่ละแผนให้เชื่อมโยงสัมพันธ์กับสาระการเรียนรู้อื่น ๆ ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ และภาษาต่าง-
ประเทศ เพื่อให้การเรียนรู้สอดคล้องและครอบคลุมสถานการณ์จริง
3.8 กระบวนการจัดการเรียนรู้ เป็นการเสนอแนะแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในเนื้อหา
แต่ละเรื่อง โดยใช้แนวคิดและทฤษฎีการเรียนรู้ต่าง ๆ ตามความเหมาะสม ทั้งนี้เพื่อให้ครูนาไปใช้
ประโยชน์ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งกระบวนการจัดการเรียนรู้
ประกอบด้วย 5 ขั้น ได้แก่
ขั้นที่ 1 ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป
ขั้นที่ 4 ขั้นฝึกฝนนักเรียน
ขั้นที่ 5 ขั้นนาไปใช้
3.9 กิจกรรมเสนอแนะเพิ่มเติมสาหรับกลุ่มสนใจพิเศษและฝึกทักษะเพิ่มเติม เป็นกิจกรรม
เสนอแนะให้นักเรียนได้พัฒนาเพิ่มเติมในด้านต่าง ๆ นอกเหนือจากที่ได้จัดการเรียนรู้มาแล้วในชั่วโมง
4
เรียน กิจกรรมเสนอแนะมี 2 ลักษณะ คือ กิจกรรมสาหรับผู้ที่มีความสามารถพิเศษและต้องการศึกษา
ค้นคว้าในเนื้อหานั้นๆ ให้ลึกซึ้งกว้างขวางยิ่งขึ้น และกิจกรรมสาหรับการเรียนรู้ให้ครบตามเป้าหมาย ซึ่งมี
ลักษณะเป็นการซ่อมเสริมความรู้ให้แก่นักเรียน
3.10 สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ เป็นรายชื่อสื่อการเรียนรู้ทุกประเภทที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้
ซึ่งมีทั้งสื่อธรรมชาติ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยีและสื่อบุคคลเช่น หนังสือเอกสารความรู้ รูปภาพ
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต วีดิทัศน์ ปราชญ์ชาวบ้าน เป็นต้น
3.11 บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้เป็นส่วนที่ให้ครูบันทึกผลการจัดการเรียนรู้ว่าประสบ
ความสาเร็จหรือไม่ มีปัญหาหรืออุปสรรคอะไรเกิดขึ้นบ้าง ได้แก้ไขปัญหาและอุปสรรคนั้นอย่างไร และ
ข้อเสนอแนะสาหรับการจัดการเรียนรู้ครั้งต่อไป
นอกจากนี้ยังอานวยความสะดวกให้ครูโดยจัดทาแบบทดสอบแบบประเมินผลงาน แบบประเมิน
พฤติกรรมด้านต่างๆ ของนักเรียน และความรู้เสริมสาหรับครูบันทึกลงในซีดี (CD) ประกอบด้วย
1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน เป็นแบบทดสอบเพื่อใช้วัดและประเมินผลนักเรียน
ก่อนการจัดการเรียนรู้และหลังการจัดการเรียนรู้
2. แบบทดสอบปลายปี เป็นแบบทดสอบเพื่อใช้วัดและประเมินผลการเรียนรู้ปลายปี
ซึ่งประเมินผล 3 ด้าน ได้แก่
1) ด้านความรู้ มีแบบทดสอบทั้งที่เป็นแบบปรนัยและอัตนัย
2) ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม เป็นตารางการประเมิน
3) ด้านทักษะ/กระบวนการ เป็นตารางการประเมิน
3. แบบประเมินผลการจัดกิจกรรมต่าง ๆ เช่น แบบสารวจ แบบประเมินผลงาน
แบบบันทึกความรู้
4. ความรู้เสริมสาหรับครู เป็นการนาเสนอความรู้ในเรื่องต่างๆ แก่ครู เช่น
1) หลักการจัดทาแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) และวิธีการคัดเลือกผลงานเพื่อเก็บใน แฟ้ม
สะสมผลงาน
2) ความรู้เรื่องโครงงาน
5. แบบฟอร์มโครงสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบ
Backward Design ครูควรศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อเตรียมสอนอย่างมีประสิทธิภาพ จัดกิจกรรม
ให้นักเรียนได้พัฒนาครบทุกสมรรถนะสาคัญที่กาหนดไว้ในหลักสูตร กล่าวคือสมรรถนะในการสื่อสาร
การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต และการใช้เทคโนโลยี รวมถึงคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตาม
หลักสูตรและกิจกรรมเสนอแนะเพื่อการเรียนรู้เพิ่มเติมให้เต็มตามศักยภาพของนักเรียนแต่ละคน ซึ่ง
ได้กาหนดไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้นี้แล้ว
นอกจากนี้ ครูสามารถปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับสภาพความพร้อมของ
นักเรียนและสถานการณ์เฉพาะหน้าได้ ซึ่งจะใช้เป็นผลงานเพื่อเลื่อนวิทยฐานะได้ แผนการจัดการเรียนรู้นี้
ได้อานวยความสะดวกให้ครูโดยได้พิมพ์โครงสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ที่ออกแบบการจัดการเรียนรู้
แบบ Backward Design ให้ครูเพิ่มเติมเฉพาะส่วนที่ครูปรับปรุงเองไว้ด้วยแล้ว
5
2. สัญลักษณ์ลักษณะกิจกรรมการเรียนรู้
สัญลักษณ์ลักษณะกิจกรรมการเรียนรู้เป็นเครื่องหมายที่ปรากฏอยู่ในสื่อการเรียนรู้ การอาชีพ
สมบูรณ์แบบ และแบบฝึกทักษะ รายวิชาพื้นฐาน การอาชีพทุกเล่ม โดยกาหนดสัญลักษณ์กากับกิจกรรม
การเรียนรู้ไว้ทุกกิจกรรม เพื่อช่วยให้ครูและนักเรียนทราบลักษณะที่ต้องการเน้นของกิจกรรมนั้น ๆ
เพื่อที่จะจัดกิจกรรมให้บรรลุเป้าหมายสัญลักษณ์ลักษณะกิจกรรมการเรียนรู้มีดังนี้
1. สัญลักษณ์หลักของกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
โครงงาน เป็นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาการคิด การวางแผน และการแก้ปัญหา
การพัฒนากระบวนการคิด เป็นกิจกรรมที่กาหนดให้นักเรียนได้ใช้กระบวนการคิด
เพื่อเพิ่มพูนทักษะการคิดด้านต่าง ๆ ของตนเอง
การประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน เป็นกิจกรรมที่กาหนดให้นักเรียนนาความรู้
และทักษะไปใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์จริงในชีวิตประจาวัน
การปฏิบัติจริง/ฝึกทักษะ เป็นกิจกรรมที่กาหนดให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติเพื่อให้
เกิดทักษะซึ่งจะช่วยให้การเรียนรู้เป็นไปตามเป้าหมายและเกิดความเข้าใจที่คงทน
ความคิดสร้างสรรค์ เป็นกิจกรรมที่กาหนดให้นักเรียนได้พัฒนาความคิดสร้างสรรค์
ลักษณะต่าง ๆ ได้แก่ ความคิดริเริ่ม ความคล่องในการคิด ความยืดหยุ่นในการคิด
และความคิดละเอียดลออ
2. สัญลักษณ์เสริมของกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
การทาประโยชน์ให้สังคม เป็นกิจกรรมที่กาหนดให้นักเรียนนาความรู้ไปปฏิบัติ
ในการทาประโยชน์แก่ส่วนรวม เพื่อให้อยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข
การศึกษาค้นคว้า/สืบค้น เป็นกิจกรรมที่กาหนดให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าหรือ
สืบค้นข้อมูลจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
การสารวจ เป็นกิจกรรมที่กาหนดให้ผู้เรียนสารวจรวบรวมข้อมูลเพื่อนามาศึกษา
วิเคราะห์หาเหตุ หาผล และสรุปข้อมูล เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ด้วยตนเอง
06
01
02
03
04
05
19
07
6
การสังเกต เป็นกิจกรรมที่กาหนดให้นักเรียนรู้จักสังเกตสิ่งที่ต้องการเรียนรู้จน
สามารถสร้างองค์ความรู้ได้อย่างเป็นระบบและมีเหตุผล
ทักษะการพูด เป็นกิจกรรมที่กาหนดให้นักเรียนได้พัฒนาทักษะการพูดประเภทต่าง ๆ
กิจกรรมสาหรับกลุ่มพิเศษ เป็นกิจกรรมสาหรับให้นักเรียนใช้พัฒนาการเรียนรู้
เพื่อเติมเต็มศักยภาพการเรียนรู้ของตนเอง
กิจกรรมสาหรับซ่อมเสริม เป็นกิจกรรมสาหรับให้นักเรียนใช้เรียนซ่อมเสริม
เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ตามตัวชี้วัดชั้นปี
3. การออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบ Backward Design(BwD)
การจัดการเรียนรู้หรือการสอนเป็นงานที่ครูทุกคนต้องใช้กลวิธีต่าง ๆ มากมายเพื่อให้นักเรียน
สนใจที่จะเรียนรู้และเกิดผลตามที่ครูคาดหวัง การจัดการเรียนรู้จัดเป็นศาสตร์ที่ต้องใช้ความรู้
ความสามารถ ตลอดจนประสบการณ์อย่างมาก ครูบางคนอาจจะละเลยเรื่องของการออกแบบการจัดการ
เรียนรู้หรือการออกแบบการสอน ซึ่งเป็นงานที่ครูจะต้องทาก่อนการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ทาอย่างไร ทาไมจึงต้องออกแบบการจัดการเรียนรู้
ครูทุกคนผ่านการศึกษาและได้เรียนรู้เกี่ยวกับการออกแบบการจัดการเรียนรู้มาแล้ว ในอดีตการ
ออกแบบการจัดการเรียนรู้จะเริ่มต้นจากการกาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ การวางแผนการจัดการเรียนรู้
การดาเนินการจัดการเรียนรู้ และการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ปัจจุบันการเรียนรู้ได้มีการเปลี่ยนแปลง
ไปตามสภาพแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เข้า
มามีบทบาทต่อการเรียนรู้ของนักเรียน ซึ่งนักเรียนสามารถเรียนรู้ได้จากสื่อและแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ที่มีอยู่
รอบตัว ดังนั้นการออกแบบการจัดการเรียนรู้จึงเป็นกระบวนการสาคัญที่ครูจาเป็น
ต้องดาเนินการให้เหมาะสมกับศักยภาพของนักเรียนแต่ละบุคคล
วิกกินส์และแม็คไท นักการศึกษาชาวอเมริกันได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับการออกแบบการจัดการ
เรียนรู้ ซึ่งเขาเรียกว่า Backward Design ซึ่งเป็นการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่ครูจะต้องกาหนดผลลัพธ์
ปลายทางที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับนักเรียนก่อนโดยเขาทั้งสองให้ชื่อว่า ความเข้าใจที่คงทน (Enduring
Understandings) เมื่อกาหนดความเข้าใจที่คงทนได้แล้ว ครูจะต้องบอกให้ได้ว่าความเข้าใจที่คงทนของ
นักเรียนนี้เกิดจากอะไร นักเรียนจะต้องมีหรือแสดงพฤติกรรมอะไรบ้าง ครูมีหรือใช้วิธีการวัดอะไรบ้างที่
จะบอกว่านักเรียนมีหรือแสดงพฤติกรรมเหล่านั้นแล้ว จากนั้นครูจึงนึกถึงวิธีการจัดการเรียนรู้ที่จะทาให้
นักเรียนเกิดความเข้าใจที่คงทนต่อไป
12
17
18
09
7
แนวคิดของแนวคิดของ BBaacckkwwaarrdd DDeessiiggnn
Backward Design เป็นการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่ใช้ผลลัพธ์ปลายทางเป็นหลัก ซึ่งผลลัพธ์
ปลายทางนี้จะเกิดขึ้นกับนักเรียนก็ต่อเมื่อจบหน่วยการเรียนรู้ทั้งนี้ครูจะต้องออกแบบการจัดการเรียนรู้
โดยใช้กรอบความคิดที่เป็นเหตุเป็นผลมีความสัมพันธ์กัน จากนั้นจึงจะลงมือเขียนแผนการจัดการเรียนรู้
ขยายรายละเอียดเพิ่มเติมให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพต่อไป
กรอบความคิดหลักของการออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบ Backward Design มีขั้นตอนหลักที่
สาคัญ 3 ขั้นตอน คือ
ขั้นที่ 1 กาหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับนักเรียน
ขั้นที่ 2 กาหนดภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งเป็นหลักฐานที่แสดงว่านักเรียนมีผล
การเรียนรู้ตามที่กาหนดไว้อย่างแท้จริง
ขั้นที่ 3 วางแผนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ขั้นที่ 11 กาหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับนักเรียนกาหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับนักเรียน
ก่อนที่จะกาหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับนักเรียนนั้น ครูควรตอบคาถามสาคัญ
ต่อไปนี้
นักเรียนควรจะมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถทาสิ่งใดได้บ้าง
 เนื้อหาสาระใดบ้างที่มีความสาคัญต่อการสร้างความเข้าใจของนักเรียน และความเข้าใจ ที่
คงทน (Enduring Understandings) ที่ครูต้องการจัดการเรียนรู้ให้แก่นักเรียนมีอะไรบ้าง
เมื่อจะตอบคาถามสาคัญดังกล่าวข้างต้น ให้ครูนึกถึงเป้าหมายของการศึกษา มาตรฐานการเรียนรู้
ด้านเนื้อหาระดับชาติที่ปรากฏอยู่ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551รวมทั้งมาตรฐาน
การเรียนรู้ระดับเขตพื้นที่การศึกษาหรือท้องถิ่น
การทบทวนความคาดหวังของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน เนื่องจากมาตรฐานแต่ละระดับจะมี
ความสัมพันธ์กับเนื้อหาสาระต่างๆ ซึ่งมีความแตกต่างลดหลั่นกันไป ด้วยเหตุนี้ขั้นที่ 1 ของ Backward
Designครูจึงต้องจัดลาดับความสาคัญและเลือกผลลัพธ์ปลายทางของนักเรียน ซึ่งเป็นผลการเรียนรู้ที่เกิด
จากความเข้าใจที่คงทนต่อไป
ความเข้าใจที่คงทนของนักเรียนความเข้าใจที่คงทนของนักเรียน
ความเข้าใจที่คงทนคืออะไร ความเข้าใจที่คงทนเป็นความรู้ที่ลึกซึ้ง ได้แก่ ความคิดรวบยอด
ความสัมพันธ์ และหลักการของเนื้อหาและวิชาที่นักเรียนเรียนรู้ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งเป็นความรู้ที่อิง
เนื้อหาความรู้นี้เกิดจากการสะสมข้อมูลต่าง ๆและเป็นองค์ความรู้ที่นักเรียนสร้างขึ้นด้วยตนเอง
การเขียนความเข้าใจที่คงทนในการออกแบบการจัดการเรียนรู้
ถ้าความเข้าใจที่คงทนหมายถึงสาระสาคัญของสิ่งที่จะเรียนรู้แล้ว ครูควรจะรู้ว่าสาระสาคัญ
หมายถึงอะไร คาว่า สาระสาคัญ มาจากคาว่า Concept ซึ่งนักการศึกษาของไทยแปลเป็นภาษาไทยว่า
สาระสาคัญ ความคิดรวบยอด มโนทัศน์ มโนมติ และสังกัป ซึ่งการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้นิยมใช้คา
ว่า สาระสาคัญ
8
สาระสาคัญเป็นข้อความที่แสดงแก่นหรือเป้าหมายเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งเพื่อให้ได้ข้อสรุป
รวมและข้อแตกต่างเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยอาจครอบคลุมข้อเท็จจริง กฎ ทฤษฎี ประเด็น และการ
สรุปสาระสาคัญและข้อความที่มีลักษณะรวบยอดอย่างอื่น
ประเภทของสาระสาคัญ
1. ระดับกว้าง (BroadConcept)
2. ระดับการนาไปใช้ (Operative Concept หรือFunctionalConcept)
ตัวอย่างสาระสาคัญระดับกว้าง
การประกอบอาชีพควรเลือกตามความชอบ ความสามารถ ความสนใจ ความสามารถ
และความถนัดของแต่ละบุคคล
การประกอบอาชีพแต่ละประเภทจะต้องมีการเตรียมตนเองให้พร้อมที่จะทางาน
ตัวอย่างสาระสาคัญระดับนาไปใช้
การเลือกใช้เทคโนโลยีเพื่อการทางานมีความสาคัญ ได้แก่ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทางาน
ช่วยลดค่าใช้จ่ายหรืองบประมาณในการทางาน ทาให้งานมีความเรียบร้อยและสวยงาม ช่วยควบคุม
ปริมาณงาน ช่วยลดแรงงานในการทางานให้น้อยลงและช่วยให้เกิดความกระตือรือร้นในการทางาน
การจาลองอาชีพ ผู้ประกอบอาชีพอิสระจะต้องเตรียมความพร้อมในด้านต่าง ๆ ได้แก่ เงิน-
ลงทุน วัสดุ อุปกรณ์เครื่องมือ วิธีการดาเนินการ และแหล่งจาหน่าย
แนวทางการเขียนสาระสาคัญ
1. ให้เขียนสาระสาคัญของทุกเรื่อง โดยแยกเป็นข้อ ๆ (จานวนข้อของสาระสาคัญจะเท่ากับ
จานวนเรื่อง)
2. การเขียนสาระสาคัญที่ดีควรเป็นสาระสาคัญระดับการนาไปใช้
3. สาระสาคัญต้องครอบคลุมประเด็นสาคัญครบถ้วน เพราะหากขาดส่วนใดไปแล้วจะทาให้
นักเรียนรับสาระสาคัญที่ผิดไปทันที
4. การเขียนสาระสาคัญให้ครอบคลุมประเด็นอีกวิธีหนึ่งคือ การเขียนแผนผังสาระสาคัญ
9
ตัวอย่างการเขียนแผนผังสาระสาคัญ
สาระสาคัญของประเภทอาชีพ : อาชีพแบ่งออกเป็น 2 ประเภทได้แก่ อาชีพรับจ้างและอาชีพ
อิสระ
5. การเขียนสาระสาคัญเกี่ยวกับเรื่องใดควรเขียนลักษณะเด่นที่มองเห็นได้หรือนึกได้ออกมาเป็น
ข้อ ๆ แล้วจาแนกลักษณะเหล่านั้นเป็นลักษณะจาเพาะและลักษณะประกอบ
6. การเขียนข้อความที่เป็นสาระสาคัญ ควรใช้ภาษาที่มีการขัดเกลาอย่างดี เลี่ยงคาที่มีความหมาย
กากวมหรือฟุ่มเฟือย
ตัวอย่างการเขียนสาระสาคัญ เรื่อง สานักงานอัตโนมัติ
สานักงานอัตโนมัติ ลักษณะจาเพาะ ลักษณะประกอบ
ประหยัดงบประมาณค่าใช้จ่าย  
เพิ่มประสิทธิภาพในการทางาน  
ช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจได้
ถูกต้องและรวดเร็ว
 
หน่วยงานและสานักงานมีภาพลักษณ์ดี  
สาระสาคัญของสานักงานอัตโนมัติ : สานักงานอัตโนมัติมีประโยชน์หลายอย่างได้แก่ ประหยัด
งบประมาณค่าใช้จ่ายเพิ่มประสิทธิภาพในการทางาน ช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจได้อย่างรวดเร็ว
ทาให้หน่วยงานและสานักงานมีภาพลักษณ์ดี
ประเภทของอาชีพ
ธรรมในการ
ประกอบอาชีพ
อาชีพรับจ้าง
อาชีพอิสระ
ข้อดีและข้อเสียของอาชีพรับจ้าง
ความหมายของอาชีพรับจ้าง
ตัวอย่างอาชีพรับจ้าง
ความหมายของอาชีพอิสระ
ข้อดีและข้อเสียของอาชีพอิสระ
ตัวอย่างอาชีพรับอิสระ
10
ขั้นที่ขั้นที่ 2 กาหนดภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งเป็นหลักฐานที่แสดงว่านักเรียนมี2 กาหนดภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งเป็นหลักฐานที่แสดงว่านักเรียนมี
ผลการเรียนรู้ตามที่กาหนดไว้อย่างแท้จริงผลการเรียนรู้ตามที่กาหนดไว้อย่างแท้จริง
เมื่อครูกาหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนแล้ว ก่อนที่จะดาเนินการขั้นต่อไป
ขอให้ครูตอบคาถามสาคัญต่อไปนี้
นักเรียนมีพฤติกรรมหรือแสดงออกในลักษณะใด จึงทาให้ครูทราบว่า นักเรียนบรรลุผลลัพธ์
ปลายทางตามที่กาหนดไว้แล้ว
 ครูมีหลักฐานหรือใช้วิธีการใดที่สามารถระบุได้ว่านักเรียนมีพฤติกรรมหรือแสดงออกตาม
ผลลัพธ์ปลายทางที่กาหนดไว้
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ตามหลักการ Backward Design เน้นให้ครูรวบรวมหลักฐานการ
วัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่จาเป็นและมีหลักฐานเพียงพอที่จะกล่าวได้ว่า การจัดการเรียนรู้ทาให้
นักเรียนเกิดผลสัมฤทธิ์แล้วไม่ใช่เรียนแค่ให้จบตามหลักสูตรหรือเรียนตามชุดของกิจกรรมการเรียนรู้ที่ครู
กาหนดไว้เท่านั้น วิธีการของBackward Design ต้องการกระตุ้นให้ครูคิดล่วงหน้าว่า ครูควรจะกาหนด
และรวบรวมหลักฐานเชิงประจักษ์อะไรบ้างก่อนที่จะออกแบบหน่วยการเรียนรู้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
หลักฐานดังกล่าวควรจะเป็นหลักฐานที่สามารถใช้เป็นข้อมูลย้อนกลับ ที่มีประโยชน์สาหรับนักเรียนและ
ครูได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ผู้สอนควรใช้วิธีการวัดและประเมินแบบต่อเนื่องอย่างไม่เป็นทางการและเป็น
ทางการตลอดระยะเวลาที่ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้แก่นักเรียนเรียน ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดที่ต้องการ
ให้ครูทาการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เรียกว่า สอนไปวัดผลไป
จึงกล่าวได้ว่า ขั้นนี้ครูควรนึกถึงพฤติกรรมหรือการแสดงออกของนักเรียนโดยพิจารณาจาก
ผลงานหรือชิ้นงานที่เป็นหลักฐานเชิงประจักษ์ ซึ่งแสดงให้เห็นว่านักเรียนเกิดผลลัพธ์ปลายทางตามเกณฑ์
ที่กาหนดไว้แล้ว และเกณฑ์ที่ใช้ประเมินควรเป็นเกณฑ์คุณภาพในรูปของมิติคุณภาพ (Rubrics)อย่างไรก็
ตาม ครูอาจจะมีหลักฐานหรือใช้วิธีการอื่นๆ เช่น การทดสอบก่อนและหลังเรียน การสัมภาษณ์ การศึกษา
ค้นคว้า การฝึกปฏิบัติขณะเรียนรู้ประกอบด้วยก็ได้
การกาหนดภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งเป็นหลักฐานที่แสดงว่านักเรียนมีผลการกาหนดภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งเป็นหลักฐานที่แสดงว่านักเรียนมีผล
การเรียนรู้ตามผการเรียนรู้ตามผลลัพธ์ปลายทางที่กาหนดไว้แล้วลลัพธ์ปลายทางที่กาหนดไว้แล้ว
หลังจากที่ครูได้กาหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับนักเรียนแล้ว ครูควรกาหนด
ภาระงานและวิธีการประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งเป็นหลักฐานที่แสดงว่านักเรียนมีผลการเรียนรู้ตามผลลัพธ์
ปลายทางที่กาหนดไว้แล้ว
ภาระงานหมายถึงงานหรือกิจกรรมที่กาหนดให้นักเรียนปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุตามจุดประสงค์
การเรียนรู้/ตัวชี้วัดชั้นปี/มาตรฐานการเรียนรู้ที่กาหนดไว้ ลักษณะสาคัญของงานจะต้องเป็นงานที่
สอดคล้องกับชีวิตจริงในชีวิตประจาวันเป็นเหตุการณ์จริงมากกว่ากิจกรรมที่จาลองขึ้นเพื่อใช้ในการ
ทดสอบ ซึ่งเรียกว่า งานที่ปฏิบัติเป็นงานที่มีความหมายต่อนักเรียน (Meaningful Task) นอกจากนี้งานและ
11
กิจกรรมจะต้องมีขอบเขตที่ชัดเจนสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้/ตัวชี้วัดช่วงชั้น/มาตรฐานการ
เรียนรู้ที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับนักเรียน
ทั้งนี้เมื่อได้ภาระงานครบถ้วนตามที่ต้องการแล้ว ครูจะต้องนึกถึงวิธีการและเครื่องมือที่จะใช้วัด
และประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนซึ่งมีอยู่มากมายหลายประเภท ครูจะต้องเลือกให้เหมาะสมกับภาระ
งานที่นักเรียนปฏิบัติ
ตัวอย่างภาระงานเรื่องเทคโนโลยีที่ใช้เพื่อการทางานอาชีพ รวมทั้งการกาหนดวิธีการวัดและ
ประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียน (ดังตาราง)
12
ตัวอย่าง ภาระงาน/ผลงาน แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง เทคโนโลยีที่ใช้เพื่อการทางานอาชีพ
สาระที่ 4 การอาชีพ มาตรฐาน ง 4.1
จุดประสงค์
การเรียนรู้
สาระการ
เรียนรู้
กิจกรรมการ
เรียนรู้
ภาระงาน/ผลงาน การวัดและประเมินผล สื่อการเรียนรู้
วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
อธิบาย
วิธีการใช้
เทคโนโลยี
เพื่อการทางาน
อาชีพ
เทคโนโลยีที่ใช้
เพื่อการทางาน
อาชีพ
– ศึกษาค้นคว้า
ข้อมูลเกี่ยวกับ
เทคโนโลยี
เครื่องใช้
สานักงานและ
สานักงาน
อัตโนมัติ
– บอกประโยชน์
ของเทคโนโลยี
ที่ใช้เพื่อการ
ทางานอาชีพ
‟ รายงาน 1 ฉบับ
‟ ออกแบบเทคโนโลยี
เพื่อการทางานอาชีพ 1
อย่าง
‟ สาธิตวิธีใช้
เทคโนโลยีเพื่อการ
ทางานอาชีพ
 ซักถามความรู้
 ตรวจผลงาน
 ตรวจรายงาน
 สังเกตการ
ทางานกลุ่ม
 แบบบันทึกความรู้
 แบบประเมินการนาเสนอ
ผลงาน
 แบบสังเกตการทางานกลุ่ม
 แบบประเมินพฤติกรรมการ
ปฏิบัติกิจกรรม
 เกณฑ์คุณภาพ
4 ระดับ
1. บทความเกี่ยวกับเทคโนโลยี
เพื่อการทางานอาชีพ
2. แบบบันทึกข้อมูลการอภิปราย
จากประเด็นที่ศึกษา
3. แบบบันทึกความรู้
4. ใบกิจกรรมที่ 1 ศึกษาค้นคว้า
ข้อมูลเกี่ยวกับเทคโนโลยี
เครื่องใช้สานักงานและ
สานักงานอัตโนมัติ
5. ใบกิจกรรมที่ 2 ออกแบบ
เทคโนโลยีเพื่อการทางาน
อาชีพ
6. แบบทดสอบเกี่ยวกับเทคโนโลยี
เพื่อการทางานอาชีพ
13
การสร้างความเข้าใจที่คงทน
ความเข้าใจที่คงทนจะเกิดขึ้นได้ นักเรียนจะต้องมีความสามารถ 6 ประการ ได้แก่
1. การอธิบาย ชี้แจง เป็นความสามารถที่นักเรียนแสดงออกโดยการอธิบายหรือชี้แจงในสิ่งที่
เรียนรู้ได้อย่างถูกต้อง สอดคล้อง มีเหตุมีผล และเป็นระบบ
2. การแปลความและตีความ เป็นความสามารถที่นักเรียนแสดงออกโดยการแปลความและ
ตีความได้อย่างมีความหมาย ตรงประเด็น กระจ่างชัด และทะลุปรุโปร่ง
3. การประยุกต์ ดัดแปลง และนาไปใช้ เป็นความสามารถที่นักเรียนแสดงออกโดยการนาสิ่งที่ได้
เรียนรู้ไปสู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิผล มีประสิทธิภาพ และคล่องแคล่ว
4. การมีมุมมองที่หลากหลาย เป็นความสามารถที่นักเรียนแสดงออกโดยการมีมุมมองที่น่าเชื่อถือ
เป็นไปได้ มีความลึกซึ้ง แจ่มชัด และแปลกใหม่
5. การให้ความสาคัญใส่ใจในความรู้สึกของผู้อื่น เป็นความสามารถที่นักเรียนแสดงออกโดยการมี
ความละเอียดรอบคอบ เปิดเผยรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ระมัดระวังที่จะไม่ให้เกิดความ
กระทบกระเทือนต่อผู้อื่น
6. การรู้จักตนเอง เป็นความสามารถที่นักเรียนแสดงออกโดยการมีความตระหนักรู้ สามารถ
ประมวลผลข้อมูลจากแหล่งที่หลากหลาย ปรับตัวได้รู้จักใคร่ครวญ และมีความเฉลียวฉลาด
นอกจากนี้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กาหนดสมรรถนะ-
สาคัญของนักเรียนหลังจากสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตรไว้ 5ประการ ดังนี้
1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถของนักเรียนในการรับและส่งสาร การถ่ายทอด
ความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเอง เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลด
ปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกที่จะรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจน
การเลือกใช้วิธีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบต่อตนเองและสังคม
2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถของนักเรียนในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดเชิงคุณธรรม และการคิดอย่างเป็นระบบ เพื่อ
นาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคม ได้อย่าง
เหมาะสม
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถของนักเรียนในการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ
ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ใน
การป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อ
ตนเองสังคม และสิ่งแวดล้อม
14
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถของนักเรียนในการนากระบวนการ
ต่าง ๆ ไปใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวัน การทางาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริม
ความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้
ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ที่
ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถของนักเรียนในการเลือกและใช้
เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ ทั้งด้านวัตถุแนวคิด วิธีการ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการ
พัฒนาตนเองและสังคมในด้านความรู้ การสื่อสาร การทางานการแก้ปัญหา และการอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
อย่างถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม
นอกจากสมรรถนะสาคัญของนักเรียนหลังจากสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตรที่กล่าวข้างต้นแล้ว
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ยังได้กาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8
ประการ เพื่อให้นักเรียนสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุขทั้งในฐานะพลเมืองไทยและ
พลเมืองโลก ดังนี้
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซื่อสัตย์สุจริต
3. มีวินัย
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อยู่อย่างพอเพียง
6. มุ่งมั่นในการทางาน
7. รักความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ
ดังนั้นการกาหนดภาระงานให้ผู้เรียนปฏิบัติ รวมทั้งการเลือกวิธีการและเครื่องมือประเมินผล
การเรียนรู้นั้น ครูควรคานึงถึงความสามารถของนักเรียน 6 ประการ ตามแนวคิดของ Backward Design
สมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียนหลังจากสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตรที่ได้
กล่าวไว้ข้างต้น เพื่อให้ภาระงาน วิธีการ และเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ มีความ
ครอบคลุมสิ่งที่สะท้อนผลลัพธ์ปลายทางที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับนักเรียนอย่างแท้จริง
โดยสรุปการออกแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของ Backward design ในขั้นที่ 2 นี้ ครู
จะต้องคานึงถึงภาระงาน วิธีการ เครื่องวัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่มีความเที่ยงตรง ความเชื่อถือได้
มีประสิทธิภาพ ตรงกับสภาพจริง มีความยืดหยุ่น และให้ความสบายใจแก่นักเรียนเป็นสาคัญ
15
ขั้นที่ 3 วางแผนการจัดการเรียนรู้ขั้นที่ 3 วางแผนการจัดการเรียนรู้
เมื่อครูมีความรู้ความเข้าใจที่ชัดเจนเกี่ยวกับการกาหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับ
นักเรียนรวมทั้งกาหนดภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ ซึ่งเป็นหลักฐานที่แสดงว่านักเรียนเกิด
การเรียนรู้ตามที่กาหนดไว้อย่างแท้จริงแล้ว ขั้นต่อไปครูควรนึกถึงกิจกรรมการเรียนรู้
ต่าง ๆ ที่จะจัดให้แก่นักเรียน การที่นักเรียนจะนึกถึงกิจกรรมต่าง ๆ ที่จะจัดให้นักเรียนได้นั้น ครูควรตอบ
คาถามสาคัญต่อไปนี้
ถ้าครูต้องการจะจัดการเรียนรู้ให้นักเรียนเกิดความรู้เกี่ยวกับข้อเท็จจริง ความคิดรวบยอด
หลักการและทักษะกระบวนการต่าง ๆ ที่จาเป็นสาหรับนักเรียน ซึ่งจะทาให้นักเรียนเกิดผลลัพธ์
ปลายทางตามที่กาหนดไว้ รวมทั้งเกิดเป็นความเข้าใจที่คงทนต่อไปนั้น ครูสามารถจะใช้วิธีการง่าย ๆ
อะไรบ้าง
กิจกรรมการเรียนรู้ที่จะช่วยเป็นสื่อนาให้นักเรียนเกิดความรู้และทักษะที่จาเป็นมีอะไรบ้าง
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ที่เหมาะสมและดีที่สุด ซึ่งจะทาให้นักเรียนบรรลุตามมาตรฐานของ
หลักสูตรมีอะไรบ้าง
กิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ที่กาหนดไว้ควรจัดกิจกรรมใดก่อนและควรจัดกิจกรรมใน
ภายหลัง
กิจกรรมต่าง ๆ ออกแบบไว้เพื่อตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลของนักเรียนหรือไม่
เพราะเหตุใด
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อให้นักเรียนเกิดผลลัพธ์ปลายทางตามแนวคิดของ Backward
Design นั้น วิกกินส์และแม็คไทได้เสนอแนะให้ครูเขียนแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดของ
WHERE TO(ไปที่ไหน) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
Wแทน กิจกรรมการเรียนรู้ที่จัดให้นั้นจะต้องช่วยให้นักเรียนรู้ว่าหน่วยการเรียนรู้นี้จะดาเนินไป
ในทิศทางใด(Where) และสิ่งที่คาดหวังคืออะไร (What)มีอะไรบ้าง ช่วยให้ครูทราบว่านักเรียนมีความรู้
พื้นฐานและความสนใจอะไรบ้าง
H แทน กิจกรรมการเรียนรู้ควรดึงดูดความสนใจนักเรียนทุกคน (Hook)ทาให้นักเรียนเกิดความ
สนใจในสิ่งที่จะเรียนรู้ (Hold)และใช้สิ่งที่นักเรียนสนใจเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้
E แทน กิจกรรมการเรียนรู้ควรส่งเสริมและจัดให้ (Equip) นักเรียนได้มีประสบการณ์
(Experience) ในแนวคิดหลัก/ความคิดรวบยอด และสารวจ รวมทั้งวินิจฉัย (Explore) ในประเด็น ต่าง ๆ
ที่น่าสนใจ
R แทน กิจกรรมการเรียนรู้ควรเปิดโอกาสให้นักเรียนได้คิดทบทวน (Rethink) ปรับ (Revise)
ความเข้าใจในความรู้และงานที่ปฏิบัติ
16
E แทน กิจกรรมการเรียนรู้ควรเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ประเมิน (Evaluate) ผลงานและสิ่งที่
เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้
T แทน กิจกรรมการเรียนรู้ควรออกแบบ (Tailored) สาหรับผู้เรียนเป็นรายบุคคล เพื่อให้
สอดคล้องกับความต้องการ ความสนใจ และความสามารถที่แตกต่างกันของนักเรียน
O แทน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ให้เป็นระบบ (Organized) ตามลาดับการเรียนรู้ของ
นักเรียนและกระตุ้นให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการสร้างองค์ความรู้ตั้งแต่เริ่มแรกและตลอดไป ทั้งนี้เพื่อ
การเรียนรู้ที่มีประสิทธิผล
อย่างไรก็ตาม มีข้อสังเกตว่า การวางแผนการจัดการเรียนรู้ที่มีการกาหนดวิธีการจัดการเรียนรู้
การลาดับบทเรียนรวมทั้งสื่อและแหล่งการเรียนรู้ที่เฉพาะเจาะจงนั้นจะประสบผลสาเร็จได้ก็ต่อเมื่อ
ผู้สอนได้มีการกาหนดผลลัพธ์ปลายทาง หลักฐาน และวิธีการวัดและประเมินผลที่แสดงว่านักเรียนมีผล
การเรียนรู้ตามที่กาหนดไว้อย่างแท้จริงแล้ว การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เป็นเพียงสื่อที่จะนาไปสู่เป้าหมาย
ความสาเร็จที่ต้องการเท่านั้น ด้วยเหตุนี้ถ้าครูมีเป้าหมายที่ชัดเจนก็จะช่วยทาให้การวางแผนการจัดการ
เรียนรู้และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สามารถทาให้นักเรียนเกิดผลสัมฤทธิ์ตามที่กาหนดไว้ได้
โดยสรุปจึงกล่าวได้ว่า ขั้นนี้เป็นการค้นหาสื่อการเรียนรู้ แหล่งการเรียนรู้ และกิจกรรมการเรียนรู้ที่
สอดคล้องเหมาะสมกับนักเรียน กิจกรรมที่กาหนดขึ้นควรเป็นกิจกรรมที่จะส่งเสริมให้นักเรียนสามารถ
สร้างและสรุปเป็นความคิดรวบยอดและหลักการที่สาคัญของสาระที่เรียนรู้ ซึ่งก่อให้เกิดความเข้าใจที่
คงทน รวมทั้งความรู้สึกและค่านิยมที่ดีไปพร้อม ๆ กับทักษะความชานาญ
17
ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 ผลลัพธ์ปลายทางที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับนักเรียน
ตัวชี้วัดชั้นปี
ความเข้าใจที่คงทนของนักเรียน
นักเรียนจะเข้าใจว่า…
1.
2.
คาถามสาคัญที่ทาให้เกิดความเข้าใจที่คงทน


ความรู้ของนักเรียนที่นาไปสู่ความเข้าใจที่คงทน
นักเรียนจะรู้ว่า…
1.
2.
3.
ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนที่นาไปสู่
ความเข้าใจที่คงทน
นักเรียนจะสามารถ...
1.
2.
3.
ขั้นที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งเป็นหลักฐานที่แสดงว่านักเรียนมีผลการเรียนรู้
ตามที่กาหนดไว้อย่างแท้จริง
1. ภาระงานที่นักเรียนต้องปฏิบัติ


2. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้
วิธีการประเมินผลการเรียนรู้


เครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้


3. สิ่งที่มุ่งประเมิน


ขั้นที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู้


18
รูปแบบแผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมงจากการออกแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด
Backward Design เขียนโดยใช้รูปแบบของแผนการจัดการเรียนรู้แบบเรียงหัวข้อซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
ชื่อแผน...(ระบุชื่อและลาดับที่ของแผนการจัดการเรียนรู้)
ชื่อเรื่อง...(ระบุชื่อเรื่องที่จะทาแผนการจัดการเรียนรู้)
สาระที่...(ระบุสาระที่ใช้จัดการเรียนรู้)
เวลา...(ระบุระยะเวลาที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ต่อ 1 แผน)
ชั้น...(ระบุชั้นที่จัดการเรียนรู้)
หน่วยการเรียนรู้ที่...(ระบุชื่อและลาดับที่ของหน่วยการเรียนรู้)
สาระสาคัญ...(เขียนความคิดรวบยอดหรือมโนทัศน์ของหัวเรื่องที่จะจัดการเรียนรู้)
ตัวชี้วัดช่วงชั้น...(ระบุตัวชี้วัดช่วงชั้นที่ใช้เป็นเป้าหมายของแผนการจัดการเรียนรู้)
จุดประสงค์การเรียนรู้... (กาหนดให้สอดคล้องกับสมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะที่พึง-
ประสงค์ของนักเรียนหลังจากสาเร็จการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551ซึ่งประกอบด้วย
ด้านความรู้ (Knowledge: K)
ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม(Affective: A)
ด้านทักษะกระบวนการ (Performance: P))
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้... (ระบุวิธีการและเครื่องมือวัดและประเมินผลที่สอดคล้อง
กับจุดประสงค์การเรียนรู้ทั้ง 3 ด้าน)
สาระการเรียนรู้...(ระบุสาระและเนื้อหาที่นามาจัดการเรียนรู้ อาจเขียนเฉพาะหัวเรื่องก็ได้)
แนวทางบูรณาการ...(เสนอแนะและระบุกิจกรรมของกลุ่มสาระอื่นที่บูรณาการร่วมกัน)
กระบวนการจัดการเรียนรู้... (กาหนดให้สอดคล้องกับธรรมชาติของกลุ่มสาระและการ
บูรณาการข้ามกลุ่มสาระ)
กิจกรรมเสนอแนะ...(ระบุรายละเอียดของกิจกรรมที่นักเรียนควรปฏิบัติเพิ่มเติม)
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้...(ระบุสื่อ อุปกรณ์ และแหล่งการเรียนรู้ที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้)
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้...(ระบุรายละเอียดของผลการจัดการเรียนรู้ตามแผนที่กาหนดไว้
อาจนาเสนอข้อเด่นและข้อด้อยให้เป็นข้อมูลที่สามารถใช้เป็นส่วนหนึ่งของการทาวิจัยใน ชั้น
เรียนได้)
ในส่วนของการเขียนกิจกรรมการเรียนรู้นั้น ให้ครูนาขั้นตอนหลักของวิธีการจัดการเรียนรู้ ที่
เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญเช่น การเรียนแบบแก้ปัญหา การศึกษาเป็นรายบุคคล การอภิปรายกลุ่มย่อย/กลุ่ม
ใหญ่ การฝึกปฏิบัติ การสืบค้นข้อมูล ฯลฯ มาเขียนในขั้นสอน โดยคานึงถึงธรรมชาติของกลุ่มสาระการ
เรียนรู้เป็นสาคัญ
19
การใช้แนวคิดของการออกแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของ Backward Design จะช่วยให้
ผู้สอนมีความมั่นใจในการจัดการเรียนรู้และใช้แผนการจัดการเรียนรู้ของ บริษัท สานักพิมพ์วัฒนาพานิช
จากัด ในการจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป
4. เทคนิคและวิธีการจัดการเรียนรู้–การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 24 (2) และ (3) ได้ระบุแนวทางการจัดการ
เรียนรู้ โดยเน้นการฝึกทักษะกระบวนการคิด การฝึกทักษะการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากแหล่งเรียนรู้
ที่หลากหลาย การฝึกปฏิบัติจริง และการประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อการป้องกันและแก้ปัญหา ดังนั้น เพื่อให้
การจัดการเรียนรู้สอดคล้องกับนโยบายดังกล่าวนี้ การจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ใน คู่มือครู แผนการ
จัดการเรียนรู้ การอาชีพเล่มนี้ จึงยึดแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ (Child-Centered)
เน้นการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง และเน้นการเรียนรู้แบบบูรณาการที่ผสมผสานเชื่อมโยงสาระการเรียนรู้
ต่าง ๆ กับหัวข้อเรื่องหรือประเด็นที่สอดคล้องกับชีวิตจริง เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาในองค์รวม เป็น
ธรรมชาติ สอดคล้องกับสภาพและปัญหาที่เกิดในวิถีชีวิตของนักเรียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ได้เปลี่ยนแปลงบทบาทของครูจากการเป็น ผู้
ชี้นาหรือถ่ายทอดความรู้ ไปเป็นผู้ช่วยเหลือ อานวยความสะดวก และส่งเสริมสนับสนุนนักเรียนโดยใช้
วิธีการต่าง ๆ อย่างหลากหลายรูปแบบ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการสร้างสรรค์ความรู้และนาความรู้ไปใช้อย่างมี
ประสิทธิภาพ คู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้ การงานอาชีพเล่มนี้ จึงได้นาเสนอทฤษฎีและเทคนิควิธีการ
เรียนการสอนต่าง ๆ มาเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ เช่น
การจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน (Brain–Base Learning–BBL) ที่เป็นวิธีการจัดการเรียนรู้ที่
อิงผลการวิจัยทางประสาทวิทยา ซึ่งได้เสนอแนะไว้ว่า ตามธรรมชาตินั้นสมองเรียนรู้ได้อย่างไร โดยได้
กล่าวถึงโครงสร้างที่แท้จริงของสมองและการทางานของสมองมนุษย์ที่มีการแปรเปลี่ยนไปตามขั้นของ
การพัฒนา ซึ่งสามารถนามาใช้เป็นกรอบแนวคิดของการสร้างสรรค์การจัดการเรียนรู้ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem–Based Learning–PBL) เป็นวิธีการจัดการ
เรียนรู้ที่ใช้ปัญหาที่เกิดขึ้นเป็นจุดเริ่มต้นและเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดกระบวนการเรียนรู้โดยให้นักเรียน
ร่วมกันแก้ปัญหาภายใต้การแนะนาของครู ให้นักเรียนช่วยกันตั้งคาถามและช่วยกันค้นหาคาตอบ โดย
อาจใช้ความรู้เดิมมาแก้ปัญหา หรือศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมสาหรับการแก้ปัญหา นาข้อมูลที่ได้จากการ
ค้นคว้ามาสรุปเป็นข้อมูลในการแก้ปัญหา แล้วช่วยกันประเมินการแก้ปัญหาเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาครั้ง
ต่อไปสาหรับขั้นตอนการจัดการเรียนรู้
20
การจัดการเรียนรู้แบบพหุปัญญา (Multiple Intelligences) เป็นการพัฒนาองค์รวมของ
นักเรียน ทั้งสมองด้านซ้ายและสมองด้านขวา บนพื้นฐานความสามารถและสติปัญญาที่แตกต่างกัน
ของแต่ละบุคคล มุ่งหมายให้นักเรียนสามารถแก้ปัญหาหรือสร้างสรรค์สิ่งต่าง ๆ ภายใต้ความหลากหลาย
ของวัฒนธรรมหรือสภาพแวดล้อม
การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) เป็นการจัดสถานการณ์และบรรยากาศให้
นักเรียนเกิดการเรียนรู้ร่วมกัน ฝึกให้นักเรียนที่มีลักษณะแตกต่างกันทั้งสติปัญญาและความถนัดร่วมกัน
ทางานเป็นกลุ่ม ร่วมกันศึกษาค้นคว้า
การจัดการเรียนรู้แบบใช้หมวกความคิด 6 ใบ (Six ThinkingHats) ให้นักเรียนฝึกตั้งคาถามและ
ตอบคาถามที่ใช้ความคิดในลักษณะต่าง ๆโดยสามารถอธิบายเหตุผลประกอบหรือวิเคราะห์วิจารณ์ได้
การจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการแก้ปัญหา (Problem Solving) เป็นการฝึกให้นักเรียนเรียนรู้จาก
การแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น โดยการทาความเข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปัญหา ดาเนินการแก้ปัญหาและ
ตรวจสอบหรือมองย้อนกลับ
การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน (Project Work) ซึ่งเป็นวิธีการจัดการเรียนรู้รูปแบบหนึ่งที่
ส่งเสริมให้นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเองจากการลงมือปฏิบัติ โดยใช้กระบวนการแสวงหาความรู้หรือค้นคว้า
หาคาตอบในสิ่งที่ผู้เรียนอยากรู้หรือสงสัยด้วยวิธีการต่าง ๆ อย่างหลากหลาย
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นการปฏิบัติ (Active Learning) ให้นักเรียนได้ทดลองทาด้วยตนเอง เพื่อจะ
ได้เรียนรู้ขั้นตอนของงาน รู้จักวิธีแก้ปัญหาในการทางาน
การจัดการเรียนรู้แบบสร้างผังความคิด (Concept Mapping) เป็นการสอนด้วยวิธีการจัดกลุ่ม
ความคิดรวบยอดเพื่อให้เห็นความสัมพันธ์กันระหว่างความคิดหลักและความคิดรองลงไปโดยนาเสนอ
เป็นภาพหรือเป็นผัง
การจัดการเรียนรู้จากประสบการณ์ (Experience Learning) เป็นการจัดกิจกรรมหรือจัด
ประสบการณ์ให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้จากการปฏิบัติ แล้วกระตุ้นให้นักเรียนพัฒนาทักษะใหม่ ๆ เจต
คติใหม่ ๆ หรือวิธีการคิดใหม่ ๆ
การเรียนรู้โดยการแสดงบทบาทสมมุติ (Role Playing) เป็นการจัดกิจกรรมที่ให้นักเรียนได้แสดง
บทบาทในสถานการณ์ที่สมมุติขึ้น โดยอาจกาหนดให้แสดงบทบาทสมมุติที่เป็นพฤติกรรมของบุคคลอื่น
หรือแสดงพฤติกรรมในบทบาทของตนเองในสถานการณ์ต่างๆ
การเรียนรู้จากเกมจาลองสถานการณ์ (Simulation Gaming) เป็นเทคนิคการจัดการเรียนรู้ที่คล้ายกับ
การแสดงบทบาทสมมุติ แต่เป็นการให้เล่นเกมจาลองสถานการณ์โดยครูนาสถานการณ์จริงมาจาลองไว้
ในห้องเรียน โดยการกาหนดกฎกติกาเงื่อนไขสาหรับเกมนั้นๆ แล้วให้นักเรียนไปเล่นเกมหรือกิจกรรม
ในสถานการณ์จาลองนั้น
21
การจัดการเรียนรู้ต้องจัดควบคู่กับการวัดและการประเมินผลตามภาระและชิ้นงานที่
สอดคล้องกับตัวชี้วัด แผนการจัดการเรียนรู้นี้ได้เสนอการวัดและประเมินผลครบทั้ง 3 ด้าน คือ ด้าน
ความรู้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม และด้านทักษะ/กระบวนการ เน้นวิธีการวัดที่หลากหลาย
ตามสถานการณ์จริง การดูร่องรอยต่าง ๆ ควบคู่ไปกับการดูกระบวนการทางานและผลผลิตของงานโดย
ออกแบบการประเมินก่อนเรียน ระหว่างเรียน หลังเรียน และแบบทดสอบประจาหน่วย พร้อมแบบฟอร์ม
และเกณฑ์การประเมิน เพื่ออานวยความสะดวกให้ครูไว้พร้อม ทั้งนี้ครูอาจเพิ่มเติมโดยการออกแบบการ
วัดและประเมินด้วยมิติคุณภาพ(Rubrics)
22
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดช่วงชั้น
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี การอาชีพ ชั้น ม. 46
มาตรฐานการเรียนรู้
/ตัวชี้วัดชั้นปี
หน่วยการเรียนรู้
สาระที่ 1 สาระที่ 2 สาระที่ 3 สาระที่ 4
สรุปผลการ
ประเมิน
มฐ ง 1.1 มฐ ง 2.1 มฐ ง 3.1 มฐ ง 4.1 ผ่าน
ไม่
ผ่าน
1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 1 2 3 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เปิดโลกอาชีพ √
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เส้นทางสู่งานอาชีพ √
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เทคโนโลยีเพื่อการ
ทางานอาชีพ
√
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ประสบการณ์
วิชาชีพ
√ √
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 คุณธรรม
จริยธรรม และค่านิยมในการทางาน
√
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4
M4

Contenu connexe

Tendances

บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9kanwan0429
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11kanwan0429
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8kanwan0429
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
หลักสูตร51
หลักสูตร51หลักสูตร51
หลักสูตร51patchu0625
 
หลักสูตร51.pptx
หลักสูตร51.pptxหลักสูตร51.pptx
หลักสูตร51.pptxpatchu0625
 
Theoretical foundation by math ed kku sec2
Theoretical  foundation by math ed kku sec2Theoretical  foundation by math ed kku sec2
Theoretical foundation by math ed kku sec2chatruedi
 
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)sopa sangsuy
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...Nattapon
 
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551Panlop
 
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมPrasert Boon
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd aสื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd ajaacllassic
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd aสื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd ajaacllassic
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Dddสื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Dddjaacllassic
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานคนสวย ฉัน
 

Tendances (19)

บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
รายงานO
รายงานOรายงานO
รายงานO
 
หลักสูตร51
หลักสูตร51หลักสูตร51
หลักสูตร51
 
หลักสูตร51.pptx
หลักสูตร51.pptxหลักสูตร51.pptx
หลักสูตร51.pptx
 
Theoretical foundation by math ed kku sec2
Theoretical  foundation by math ed kku sec2Theoretical  foundation by math ed kku sec2
Theoretical foundation by math ed kku sec2
 
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
 
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551
 
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd aสื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd aสื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Dddสื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 

Similaire à M4

Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
สื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอสื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอrainacid
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1khuwawa
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4bbeammaebb
 
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5พิพัฒน์ ตะภา
 
4 MAT Leaning System DOC
4 MAT Leaning System DOC4 MAT Leaning System DOC
4 MAT Leaning System DOCPete Pitch
 
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภทประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภทmcf_cnx1
 
ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2Paranee Srikhampaen
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7Tsheej Thoj
 

Similaire à M4 (20)

01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
บทที่ 4
บทที่ 4 บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
สื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอสื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอ
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
 
4 MAT Leaning System DOC
4 MAT Leaning System DOC4 MAT Leaning System DOC
4 MAT Leaning System DOC
 
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภทประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
 
ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7
 

M4

  • 2. 2 1. แนวทางการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ คู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้ การอาชีพ เล่มนี้จัดทาขึ้นเพื่อเป็นแนวทางให้ครูใช้ประกอบการ จัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ช่วงชั้นที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 46 ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็นหน่วยการเรียนรู้ 5 หน่วย สาหรับจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมง ซึ่งสามารถใช้ควบคู่กับสื่อการเรียนรู้ การอาชีพ สมบูรณ์แบบ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 46 และหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน การอาชีพชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 46 ประกอบด้วยหน่วยการเรียนรู้ ดังนี้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เปิดโลกอาชีพ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เส้นทางสู่งานอาชีพ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เทคโนโลยีเพื่อการทางานอาชีพ หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ประสบการณ์วิชาชีพ หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการทางาน แผนการจัดการเรียนรู้นี้ได้นาเสนอรายละเอียดไว้ครบถ้วนตามแนวทางการจัดทาแผนการจัดการ เรียนรู้ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนให้ นักเรียนได้พัฒนาองค์ความรู้ สมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้อย่างครบถ้วนตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งครูควรศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้นี้ ให้ละเอียด เพื่อปรับใช้ให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม สถานการณ์ และสภาพของนักเรียน ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้จะแบ่งแผนการจัดการเรียนรู้ออกเป็นรายชั่วโมง ซึ่งมีจานวนชั่วโมง มากน้อยไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับความยากง่ายของเนื้อหาสาระ และในแต่ละหน่วยการเรียนรู้มีองค์ประกอบ ดังนี้ 1. ผังมโนทัศน์เป้าหมายการเรียนรู้และขอบข่ายภาระงาน แสดงขอบข่ายเนื้อหาการจัดการเรียนรู้ที่ ครอบคลุมความรู้ ทักษะ/กระบวนการ คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม และภาระงาน/ชิ้นงาน 2. กรอบแนวคิดการออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบ BwD (Template Backward Design) เป็นผัง แสดงแนวคิดในการจัดการเรียนรู้ของแต่ละหน่วยการเรียนรู้ แบ่งเป็น 3 ขั้น ได้แก่ ขั้นที่ 1 ผลลัพธ์ปลายทางที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับนักเรียน ขั้นที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งเป็นหลักฐานที่แสดงว่านักเรียนมีผลการ เรียนรู้ตามที่กาหนดไว้อย่างแท้จริง ขั้นที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู้จะระบุว่าในหน่วยการเรียนรู้นี้แบ่งเป็นแผนการจัดการเรียนรู้กี่ แผน และแต่ละแผนใช้เวลาในการจัดกิจกรรมกี่ชั่วโมง 3. แผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมง เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ตามกรอบแนวคิดการออกแบบการ จัดการเรียนรู้แบบ BwDประกอบด้วย 3.1 ชื่อแผนการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วยลาดับที่ของแผน ชื่อแผน และเวลาเรียน เช่น แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง อาชีพรับจ้าง เวลา 2 ชั่วโมง
  • 3. 3 3.2 สาระสาคัญ เป็นความคิดรวบยอดของเนื้อหาที่นามาจัดการเรียนรู้ในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ 3.3 ตัวชี้วัดช่วงชั้น เป็นตัวชี้วัดที่ใช้ตรวจสอบนักเรียนหลังจากเรียนจบเนื้อหาที่นาเสนอใน แต่ละแผนการจัดการเรียนรู้นั้น ๆ ซึ่งสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตร 3.4 จุดประสงค์การเรียนรู้ เป็นส่วนที่บอกจุดมุ่งหมายที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับนักเรียนภาย หลังจากการเรียนจบในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ ทั้งในด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม และ ค่านิยม(A) ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) ซึ่งสอดคล้องสัมพันธ์กับตัวชี้วัดชั้นปีและเนื้อหาในแผนการ จัดการเรียนรู้นั้น ๆ 3.5 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็นการตรวจสอบผลการจัดการเรียนรู้ว่าหลังจากจัดการ เรียนรู้ในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้แล้ว นักเรียนมีพัฒนาการ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตามเป้าหมายที่ คาดหวังไว้หรือไม่ และมีสิ่งที่จะต้องได้รับการพัฒนา ปรับปรุง หรือส่งเสริมในด้านใดบ้าง ดังนั้น ในแต่ ละแผนการจัดการเรียนรู้จึงได้ออกแบบวิธีการและเครื่องมือในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านต่าง ๆ ของนักเรียนไว้อย่างหลากหลาย เช่น การทาแบบทดสอบ การตอบคาถามสั้น ๆ การตรวจผลงาน การ สังเกตพฤติกรรมทั้งที่เป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม เป็นต้นโดยเน้นการปฏิบัติให้ สอดคล้องและเหมาะสมกับตัวชี้วัดและมาตรฐานการเรียนรู้ วิธีการและเครื่องมือในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้เหล่านี้ครูสามารถนาไปใช้ประเมิน นักเรียนได้ทั้งในระหว่างการจัดการเรียนรู้และการทากิจกรรมต่าง ๆ ตลอดจนการนาความรู้ไปใช้ใน ชีวิตประจาวัน 3.6 สาระการเรียนรู้เป็นหัวข้อย่อยที่นามาจัดการเรียนรู้ในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ ซึ่ง สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้แกนกลาง 3.7 แนวทางบูรณาการเป็นการเสนอแนะแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในเรื่องที่ เรียนรู้ของแต่ละแผนให้เชื่อมโยงสัมพันธ์กับสาระการเรียนรู้อื่น ๆ ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ และภาษาต่าง- ประเทศ เพื่อให้การเรียนรู้สอดคล้องและครอบคลุมสถานการณ์จริง 3.8 กระบวนการจัดการเรียนรู้ เป็นการเสนอแนะแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในเนื้อหา แต่ละเรื่อง โดยใช้แนวคิดและทฤษฎีการเรียนรู้ต่าง ๆ ตามความเหมาะสม ทั้งนี้เพื่อให้ครูนาไปใช้ ประโยชน์ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งกระบวนการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย 5 ขั้น ได้แก่ ขั้นที่ 1 ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ขั้นที่ 2 ขั้นสอน ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป ขั้นที่ 4 ขั้นฝึกฝนนักเรียน ขั้นที่ 5 ขั้นนาไปใช้ 3.9 กิจกรรมเสนอแนะเพิ่มเติมสาหรับกลุ่มสนใจพิเศษและฝึกทักษะเพิ่มเติม เป็นกิจกรรม เสนอแนะให้นักเรียนได้พัฒนาเพิ่มเติมในด้านต่าง ๆ นอกเหนือจากที่ได้จัดการเรียนรู้มาแล้วในชั่วโมง
  • 4. 4 เรียน กิจกรรมเสนอแนะมี 2 ลักษณะ คือ กิจกรรมสาหรับผู้ที่มีความสามารถพิเศษและต้องการศึกษา ค้นคว้าในเนื้อหานั้นๆ ให้ลึกซึ้งกว้างขวางยิ่งขึ้น และกิจกรรมสาหรับการเรียนรู้ให้ครบตามเป้าหมาย ซึ่งมี ลักษณะเป็นการซ่อมเสริมความรู้ให้แก่นักเรียน 3.10 สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ เป็นรายชื่อสื่อการเรียนรู้ทุกประเภทที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ ซึ่งมีทั้งสื่อธรรมชาติ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยีและสื่อบุคคลเช่น หนังสือเอกสารความรู้ รูปภาพ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต วีดิทัศน์ ปราชญ์ชาวบ้าน เป็นต้น 3.11 บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้เป็นส่วนที่ให้ครูบันทึกผลการจัดการเรียนรู้ว่าประสบ ความสาเร็จหรือไม่ มีปัญหาหรืออุปสรรคอะไรเกิดขึ้นบ้าง ได้แก้ไขปัญหาและอุปสรรคนั้นอย่างไร และ ข้อเสนอแนะสาหรับการจัดการเรียนรู้ครั้งต่อไป นอกจากนี้ยังอานวยความสะดวกให้ครูโดยจัดทาแบบทดสอบแบบประเมินผลงาน แบบประเมิน พฤติกรรมด้านต่างๆ ของนักเรียน และความรู้เสริมสาหรับครูบันทึกลงในซีดี (CD) ประกอบด้วย 1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน เป็นแบบทดสอบเพื่อใช้วัดและประเมินผลนักเรียน ก่อนการจัดการเรียนรู้และหลังการจัดการเรียนรู้ 2. แบบทดสอบปลายปี เป็นแบบทดสอบเพื่อใช้วัดและประเมินผลการเรียนรู้ปลายปี ซึ่งประเมินผล 3 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านความรู้ มีแบบทดสอบทั้งที่เป็นแบบปรนัยและอัตนัย 2) ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม เป็นตารางการประเมิน 3) ด้านทักษะ/กระบวนการ เป็นตารางการประเมิน 3. แบบประเมินผลการจัดกิจกรรมต่าง ๆ เช่น แบบสารวจ แบบประเมินผลงาน แบบบันทึกความรู้ 4. ความรู้เสริมสาหรับครู เป็นการนาเสนอความรู้ในเรื่องต่างๆ แก่ครู เช่น 1) หลักการจัดทาแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) และวิธีการคัดเลือกผลงานเพื่อเก็บใน แฟ้ม สะสมผลงาน 2) ความรู้เรื่องโครงงาน 5. แบบฟอร์มโครงสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบ Backward Design ครูควรศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อเตรียมสอนอย่างมีประสิทธิภาพ จัดกิจกรรม ให้นักเรียนได้พัฒนาครบทุกสมรรถนะสาคัญที่กาหนดไว้ในหลักสูตร กล่าวคือสมรรถนะในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต และการใช้เทคโนโลยี รวมถึงคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตาม หลักสูตรและกิจกรรมเสนอแนะเพื่อการเรียนรู้เพิ่มเติมให้เต็มตามศักยภาพของนักเรียนแต่ละคน ซึ่ง ได้กาหนดไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้นี้แล้ว นอกจากนี้ ครูสามารถปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับสภาพความพร้อมของ นักเรียนและสถานการณ์เฉพาะหน้าได้ ซึ่งจะใช้เป็นผลงานเพื่อเลื่อนวิทยฐานะได้ แผนการจัดการเรียนรู้นี้ ได้อานวยความสะดวกให้ครูโดยได้พิมพ์โครงสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ที่ออกแบบการจัดการเรียนรู้ แบบ Backward Design ให้ครูเพิ่มเติมเฉพาะส่วนที่ครูปรับปรุงเองไว้ด้วยแล้ว
  • 5. 5 2. สัญลักษณ์ลักษณะกิจกรรมการเรียนรู้ สัญลักษณ์ลักษณะกิจกรรมการเรียนรู้เป็นเครื่องหมายที่ปรากฏอยู่ในสื่อการเรียนรู้ การอาชีพ สมบูรณ์แบบ และแบบฝึกทักษะ รายวิชาพื้นฐาน การอาชีพทุกเล่ม โดยกาหนดสัญลักษณ์กากับกิจกรรม การเรียนรู้ไว้ทุกกิจกรรม เพื่อช่วยให้ครูและนักเรียนทราบลักษณะที่ต้องการเน้นของกิจกรรมนั้น ๆ เพื่อที่จะจัดกิจกรรมให้บรรลุเป้าหมายสัญลักษณ์ลักษณะกิจกรรมการเรียนรู้มีดังนี้ 1. สัญลักษณ์หลักของกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โครงงาน เป็นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาการคิด การวางแผน และการแก้ปัญหา การพัฒนากระบวนการคิด เป็นกิจกรรมที่กาหนดให้นักเรียนได้ใช้กระบวนการคิด เพื่อเพิ่มพูนทักษะการคิดด้านต่าง ๆ ของตนเอง การประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน เป็นกิจกรรมที่กาหนดให้นักเรียนนาความรู้ และทักษะไปใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์จริงในชีวิตประจาวัน การปฏิบัติจริง/ฝึกทักษะ เป็นกิจกรรมที่กาหนดให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติเพื่อให้ เกิดทักษะซึ่งจะช่วยให้การเรียนรู้เป็นไปตามเป้าหมายและเกิดความเข้าใจที่คงทน ความคิดสร้างสรรค์ เป็นกิจกรรมที่กาหนดให้นักเรียนได้พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ลักษณะต่าง ๆ ได้แก่ ความคิดริเริ่ม ความคล่องในการคิด ความยืดหยุ่นในการคิด และความคิดละเอียดลออ 2. สัญลักษณ์เสริมของกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี การทาประโยชน์ให้สังคม เป็นกิจกรรมที่กาหนดให้นักเรียนนาความรู้ไปปฏิบัติ ในการทาประโยชน์แก่ส่วนรวม เพื่อให้อยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข การศึกษาค้นคว้า/สืบค้น เป็นกิจกรรมที่กาหนดให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าหรือ สืบค้นข้อมูลจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง การสารวจ เป็นกิจกรรมที่กาหนดให้ผู้เรียนสารวจรวบรวมข้อมูลเพื่อนามาศึกษา วิเคราะห์หาเหตุ หาผล และสรุปข้อมูล เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ด้วยตนเอง 06 01 02 03 04 05 19 07
  • 6. 6 การสังเกต เป็นกิจกรรมที่กาหนดให้นักเรียนรู้จักสังเกตสิ่งที่ต้องการเรียนรู้จน สามารถสร้างองค์ความรู้ได้อย่างเป็นระบบและมีเหตุผล ทักษะการพูด เป็นกิจกรรมที่กาหนดให้นักเรียนได้พัฒนาทักษะการพูดประเภทต่าง ๆ กิจกรรมสาหรับกลุ่มพิเศษ เป็นกิจกรรมสาหรับให้นักเรียนใช้พัฒนาการเรียนรู้ เพื่อเติมเต็มศักยภาพการเรียนรู้ของตนเอง กิจกรรมสาหรับซ่อมเสริม เป็นกิจกรรมสาหรับให้นักเรียนใช้เรียนซ่อมเสริม เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ตามตัวชี้วัดชั้นปี 3. การออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบ Backward Design(BwD) การจัดการเรียนรู้หรือการสอนเป็นงานที่ครูทุกคนต้องใช้กลวิธีต่าง ๆ มากมายเพื่อให้นักเรียน สนใจที่จะเรียนรู้และเกิดผลตามที่ครูคาดหวัง การจัดการเรียนรู้จัดเป็นศาสตร์ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถ ตลอดจนประสบการณ์อย่างมาก ครูบางคนอาจจะละเลยเรื่องของการออกแบบการจัดการ เรียนรู้หรือการออกแบบการสอน ซึ่งเป็นงานที่ครูจะต้องทาก่อนการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ การออกแบบการจัดการเรียนรู้ทาอย่างไร ทาไมจึงต้องออกแบบการจัดการเรียนรู้ ครูทุกคนผ่านการศึกษาและได้เรียนรู้เกี่ยวกับการออกแบบการจัดการเรียนรู้มาแล้ว ในอดีตการ ออกแบบการจัดการเรียนรู้จะเริ่มต้นจากการกาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ การวางแผนการจัดการเรียนรู้ การดาเนินการจัดการเรียนรู้ และการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ปัจจุบันการเรียนรู้ได้มีการเปลี่ยนแปลง ไปตามสภาพแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เข้า มามีบทบาทต่อการเรียนรู้ของนักเรียน ซึ่งนักเรียนสามารถเรียนรู้ได้จากสื่อและแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ที่มีอยู่ รอบตัว ดังนั้นการออกแบบการจัดการเรียนรู้จึงเป็นกระบวนการสาคัญที่ครูจาเป็น ต้องดาเนินการให้เหมาะสมกับศักยภาพของนักเรียนแต่ละบุคคล วิกกินส์และแม็คไท นักการศึกษาชาวอเมริกันได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับการออกแบบการจัดการ เรียนรู้ ซึ่งเขาเรียกว่า Backward Design ซึ่งเป็นการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่ครูจะต้องกาหนดผลลัพธ์ ปลายทางที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับนักเรียนก่อนโดยเขาทั้งสองให้ชื่อว่า ความเข้าใจที่คงทน (Enduring Understandings) เมื่อกาหนดความเข้าใจที่คงทนได้แล้ว ครูจะต้องบอกให้ได้ว่าความเข้าใจที่คงทนของ นักเรียนนี้เกิดจากอะไร นักเรียนจะต้องมีหรือแสดงพฤติกรรมอะไรบ้าง ครูมีหรือใช้วิธีการวัดอะไรบ้างที่ จะบอกว่านักเรียนมีหรือแสดงพฤติกรรมเหล่านั้นแล้ว จากนั้นครูจึงนึกถึงวิธีการจัดการเรียนรู้ที่จะทาให้ นักเรียนเกิดความเข้าใจที่คงทนต่อไป 12 17 18 09
  • 7. 7 แนวคิดของแนวคิดของ BBaacckkwwaarrdd DDeessiiggnn Backward Design เป็นการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่ใช้ผลลัพธ์ปลายทางเป็นหลัก ซึ่งผลลัพธ์ ปลายทางนี้จะเกิดขึ้นกับนักเรียนก็ต่อเมื่อจบหน่วยการเรียนรู้ทั้งนี้ครูจะต้องออกแบบการจัดการเรียนรู้ โดยใช้กรอบความคิดที่เป็นเหตุเป็นผลมีความสัมพันธ์กัน จากนั้นจึงจะลงมือเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ ขยายรายละเอียดเพิ่มเติมให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพต่อไป กรอบความคิดหลักของการออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบ Backward Design มีขั้นตอนหลักที่ สาคัญ 3 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 กาหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับนักเรียน ขั้นที่ 2 กาหนดภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งเป็นหลักฐานที่แสดงว่านักเรียนมีผล การเรียนรู้ตามที่กาหนดไว้อย่างแท้จริง ขั้นที่ 3 วางแผนการจัดการเรียนรู้ ขั้นที่ขั้นที่ 11 กาหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับนักเรียนกาหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับนักเรียน ก่อนที่จะกาหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับนักเรียนนั้น ครูควรตอบคาถามสาคัญ ต่อไปนี้ นักเรียนควรจะมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถทาสิ่งใดได้บ้าง  เนื้อหาสาระใดบ้างที่มีความสาคัญต่อการสร้างความเข้าใจของนักเรียน และความเข้าใจ ที่ คงทน (Enduring Understandings) ที่ครูต้องการจัดการเรียนรู้ให้แก่นักเรียนมีอะไรบ้าง เมื่อจะตอบคาถามสาคัญดังกล่าวข้างต้น ให้ครูนึกถึงเป้าหมายของการศึกษา มาตรฐานการเรียนรู้ ด้านเนื้อหาระดับชาติที่ปรากฏอยู่ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551รวมทั้งมาตรฐาน การเรียนรู้ระดับเขตพื้นที่การศึกษาหรือท้องถิ่น การทบทวนความคาดหวังของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน เนื่องจากมาตรฐานแต่ละระดับจะมี ความสัมพันธ์กับเนื้อหาสาระต่างๆ ซึ่งมีความแตกต่างลดหลั่นกันไป ด้วยเหตุนี้ขั้นที่ 1 ของ Backward Designครูจึงต้องจัดลาดับความสาคัญและเลือกผลลัพธ์ปลายทางของนักเรียน ซึ่งเป็นผลการเรียนรู้ที่เกิด จากความเข้าใจที่คงทนต่อไป ความเข้าใจที่คงทนของนักเรียนความเข้าใจที่คงทนของนักเรียน ความเข้าใจที่คงทนคืออะไร ความเข้าใจที่คงทนเป็นความรู้ที่ลึกซึ้ง ได้แก่ ความคิดรวบยอด ความสัมพันธ์ และหลักการของเนื้อหาและวิชาที่นักเรียนเรียนรู้ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งเป็นความรู้ที่อิง เนื้อหาความรู้นี้เกิดจากการสะสมข้อมูลต่าง ๆและเป็นองค์ความรู้ที่นักเรียนสร้างขึ้นด้วยตนเอง การเขียนความเข้าใจที่คงทนในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ ถ้าความเข้าใจที่คงทนหมายถึงสาระสาคัญของสิ่งที่จะเรียนรู้แล้ว ครูควรจะรู้ว่าสาระสาคัญ หมายถึงอะไร คาว่า สาระสาคัญ มาจากคาว่า Concept ซึ่งนักการศึกษาของไทยแปลเป็นภาษาไทยว่า สาระสาคัญ ความคิดรวบยอด มโนทัศน์ มโนมติ และสังกัป ซึ่งการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้นิยมใช้คา ว่า สาระสาคัญ
  • 8. 8 สาระสาคัญเป็นข้อความที่แสดงแก่นหรือเป้าหมายเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งเพื่อให้ได้ข้อสรุป รวมและข้อแตกต่างเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยอาจครอบคลุมข้อเท็จจริง กฎ ทฤษฎี ประเด็น และการ สรุปสาระสาคัญและข้อความที่มีลักษณะรวบยอดอย่างอื่น ประเภทของสาระสาคัญ 1. ระดับกว้าง (BroadConcept) 2. ระดับการนาไปใช้ (Operative Concept หรือFunctionalConcept) ตัวอย่างสาระสาคัญระดับกว้าง การประกอบอาชีพควรเลือกตามความชอบ ความสามารถ ความสนใจ ความสามารถ และความถนัดของแต่ละบุคคล การประกอบอาชีพแต่ละประเภทจะต้องมีการเตรียมตนเองให้พร้อมที่จะทางาน ตัวอย่างสาระสาคัญระดับนาไปใช้ การเลือกใช้เทคโนโลยีเพื่อการทางานมีความสาคัญ ได้แก่ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทางาน ช่วยลดค่าใช้จ่ายหรืองบประมาณในการทางาน ทาให้งานมีความเรียบร้อยและสวยงาม ช่วยควบคุม ปริมาณงาน ช่วยลดแรงงานในการทางานให้น้อยลงและช่วยให้เกิดความกระตือรือร้นในการทางาน การจาลองอาชีพ ผู้ประกอบอาชีพอิสระจะต้องเตรียมความพร้อมในด้านต่าง ๆ ได้แก่ เงิน- ลงทุน วัสดุ อุปกรณ์เครื่องมือ วิธีการดาเนินการ และแหล่งจาหน่าย แนวทางการเขียนสาระสาคัญ 1. ให้เขียนสาระสาคัญของทุกเรื่อง โดยแยกเป็นข้อ ๆ (จานวนข้อของสาระสาคัญจะเท่ากับ จานวนเรื่อง) 2. การเขียนสาระสาคัญที่ดีควรเป็นสาระสาคัญระดับการนาไปใช้ 3. สาระสาคัญต้องครอบคลุมประเด็นสาคัญครบถ้วน เพราะหากขาดส่วนใดไปแล้วจะทาให้ นักเรียนรับสาระสาคัญที่ผิดไปทันที 4. การเขียนสาระสาคัญให้ครอบคลุมประเด็นอีกวิธีหนึ่งคือ การเขียนแผนผังสาระสาคัญ
  • 9. 9 ตัวอย่างการเขียนแผนผังสาระสาคัญ สาระสาคัญของประเภทอาชีพ : อาชีพแบ่งออกเป็น 2 ประเภทได้แก่ อาชีพรับจ้างและอาชีพ อิสระ 5. การเขียนสาระสาคัญเกี่ยวกับเรื่องใดควรเขียนลักษณะเด่นที่มองเห็นได้หรือนึกได้ออกมาเป็น ข้อ ๆ แล้วจาแนกลักษณะเหล่านั้นเป็นลักษณะจาเพาะและลักษณะประกอบ 6. การเขียนข้อความที่เป็นสาระสาคัญ ควรใช้ภาษาที่มีการขัดเกลาอย่างดี เลี่ยงคาที่มีความหมาย กากวมหรือฟุ่มเฟือย ตัวอย่างการเขียนสาระสาคัญ เรื่อง สานักงานอัตโนมัติ สานักงานอัตโนมัติ ลักษณะจาเพาะ ลักษณะประกอบ ประหยัดงบประมาณค่าใช้จ่าย   เพิ่มประสิทธิภาพในการทางาน   ช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจได้ ถูกต้องและรวดเร็ว   หน่วยงานและสานักงานมีภาพลักษณ์ดี   สาระสาคัญของสานักงานอัตโนมัติ : สานักงานอัตโนมัติมีประโยชน์หลายอย่างได้แก่ ประหยัด งบประมาณค่าใช้จ่ายเพิ่มประสิทธิภาพในการทางาน ช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจได้อย่างรวดเร็ว ทาให้หน่วยงานและสานักงานมีภาพลักษณ์ดี ประเภทของอาชีพ ธรรมในการ ประกอบอาชีพ อาชีพรับจ้าง อาชีพอิสระ ข้อดีและข้อเสียของอาชีพรับจ้าง ความหมายของอาชีพรับจ้าง ตัวอย่างอาชีพรับจ้าง ความหมายของอาชีพอิสระ ข้อดีและข้อเสียของอาชีพอิสระ ตัวอย่างอาชีพรับอิสระ
  • 10. 10 ขั้นที่ขั้นที่ 2 กาหนดภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งเป็นหลักฐานที่แสดงว่านักเรียนมี2 กาหนดภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งเป็นหลักฐานที่แสดงว่านักเรียนมี ผลการเรียนรู้ตามที่กาหนดไว้อย่างแท้จริงผลการเรียนรู้ตามที่กาหนดไว้อย่างแท้จริง เมื่อครูกาหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนแล้ว ก่อนที่จะดาเนินการขั้นต่อไป ขอให้ครูตอบคาถามสาคัญต่อไปนี้ นักเรียนมีพฤติกรรมหรือแสดงออกในลักษณะใด จึงทาให้ครูทราบว่า นักเรียนบรรลุผลลัพธ์ ปลายทางตามที่กาหนดไว้แล้ว  ครูมีหลักฐานหรือใช้วิธีการใดที่สามารถระบุได้ว่านักเรียนมีพฤติกรรมหรือแสดงออกตาม ผลลัพธ์ปลายทางที่กาหนดไว้ การออกแบบการจัดการเรียนรู้ตามหลักการ Backward Design เน้นให้ครูรวบรวมหลักฐานการ วัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่จาเป็นและมีหลักฐานเพียงพอที่จะกล่าวได้ว่า การจัดการเรียนรู้ทาให้ นักเรียนเกิดผลสัมฤทธิ์แล้วไม่ใช่เรียนแค่ให้จบตามหลักสูตรหรือเรียนตามชุดของกิจกรรมการเรียนรู้ที่ครู กาหนดไว้เท่านั้น วิธีการของBackward Design ต้องการกระตุ้นให้ครูคิดล่วงหน้าว่า ครูควรจะกาหนด และรวบรวมหลักฐานเชิงประจักษ์อะไรบ้างก่อนที่จะออกแบบหน่วยการเรียนรู้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หลักฐานดังกล่าวควรจะเป็นหลักฐานที่สามารถใช้เป็นข้อมูลย้อนกลับ ที่มีประโยชน์สาหรับนักเรียนและ ครูได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ผู้สอนควรใช้วิธีการวัดและประเมินแบบต่อเนื่องอย่างไม่เป็นทางการและเป็น ทางการตลอดระยะเวลาที่ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้แก่นักเรียนเรียน ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดที่ต้องการ ให้ครูทาการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เรียกว่า สอนไปวัดผลไป จึงกล่าวได้ว่า ขั้นนี้ครูควรนึกถึงพฤติกรรมหรือการแสดงออกของนักเรียนโดยพิจารณาจาก ผลงานหรือชิ้นงานที่เป็นหลักฐานเชิงประจักษ์ ซึ่งแสดงให้เห็นว่านักเรียนเกิดผลลัพธ์ปลายทางตามเกณฑ์ ที่กาหนดไว้แล้ว และเกณฑ์ที่ใช้ประเมินควรเป็นเกณฑ์คุณภาพในรูปของมิติคุณภาพ (Rubrics)อย่างไรก็ ตาม ครูอาจจะมีหลักฐานหรือใช้วิธีการอื่นๆ เช่น การทดสอบก่อนและหลังเรียน การสัมภาษณ์ การศึกษา ค้นคว้า การฝึกปฏิบัติขณะเรียนรู้ประกอบด้วยก็ได้ การกาหนดภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งเป็นหลักฐานที่แสดงว่านักเรียนมีผลการกาหนดภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งเป็นหลักฐานที่แสดงว่านักเรียนมีผล การเรียนรู้ตามผการเรียนรู้ตามผลลัพธ์ปลายทางที่กาหนดไว้แล้วลลัพธ์ปลายทางที่กาหนดไว้แล้ว หลังจากที่ครูได้กาหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับนักเรียนแล้ว ครูควรกาหนด ภาระงานและวิธีการประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งเป็นหลักฐานที่แสดงว่านักเรียนมีผลการเรียนรู้ตามผลลัพธ์ ปลายทางที่กาหนดไว้แล้ว ภาระงานหมายถึงงานหรือกิจกรรมที่กาหนดให้นักเรียนปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุตามจุดประสงค์ การเรียนรู้/ตัวชี้วัดชั้นปี/มาตรฐานการเรียนรู้ที่กาหนดไว้ ลักษณะสาคัญของงานจะต้องเป็นงานที่ สอดคล้องกับชีวิตจริงในชีวิตประจาวันเป็นเหตุการณ์จริงมากกว่ากิจกรรมที่จาลองขึ้นเพื่อใช้ในการ ทดสอบ ซึ่งเรียกว่า งานที่ปฏิบัติเป็นงานที่มีความหมายต่อนักเรียน (Meaningful Task) นอกจากนี้งานและ
  • 11. 11 กิจกรรมจะต้องมีขอบเขตที่ชัดเจนสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้/ตัวชี้วัดช่วงชั้น/มาตรฐานการ เรียนรู้ที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับนักเรียน ทั้งนี้เมื่อได้ภาระงานครบถ้วนตามที่ต้องการแล้ว ครูจะต้องนึกถึงวิธีการและเครื่องมือที่จะใช้วัด และประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนซึ่งมีอยู่มากมายหลายประเภท ครูจะต้องเลือกให้เหมาะสมกับภาระ งานที่นักเรียนปฏิบัติ ตัวอย่างภาระงานเรื่องเทคโนโลยีที่ใช้เพื่อการทางานอาชีพ รวมทั้งการกาหนดวิธีการวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียน (ดังตาราง)
  • 12. 12 ตัวอย่าง ภาระงาน/ผลงาน แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง เทคโนโลยีที่ใช้เพื่อการทางานอาชีพ สาระที่ 4 การอาชีพ มาตรฐาน ง 4.1 จุดประสงค์ การเรียนรู้ สาระการ เรียนรู้ กิจกรรมการ เรียนรู้ ภาระงาน/ผลงาน การวัดและประเมินผล สื่อการเรียนรู้ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ อธิบาย วิธีการใช้ เทคโนโลยี เพื่อการทางาน อาชีพ เทคโนโลยีที่ใช้ เพื่อการทางาน อาชีพ – ศึกษาค้นคว้า ข้อมูลเกี่ยวกับ เทคโนโลยี เครื่องใช้ สานักงานและ สานักงาน อัตโนมัติ – บอกประโยชน์ ของเทคโนโลยี ที่ใช้เพื่อการ ทางานอาชีพ ‟ รายงาน 1 ฉบับ ‟ ออกแบบเทคโนโลยี เพื่อการทางานอาชีพ 1 อย่าง ‟ สาธิตวิธีใช้ เทคโนโลยีเพื่อการ ทางานอาชีพ  ซักถามความรู้  ตรวจผลงาน  ตรวจรายงาน  สังเกตการ ทางานกลุ่ม  แบบบันทึกความรู้  แบบประเมินการนาเสนอ ผลงาน  แบบสังเกตการทางานกลุ่ม  แบบประเมินพฤติกรรมการ ปฏิบัติกิจกรรม  เกณฑ์คุณภาพ 4 ระดับ 1. บทความเกี่ยวกับเทคโนโลยี เพื่อการทางานอาชีพ 2. แบบบันทึกข้อมูลการอภิปราย จากประเด็นที่ศึกษา 3. แบบบันทึกความรู้ 4. ใบกิจกรรมที่ 1 ศึกษาค้นคว้า ข้อมูลเกี่ยวกับเทคโนโลยี เครื่องใช้สานักงานและ สานักงานอัตโนมัติ 5. ใบกิจกรรมที่ 2 ออกแบบ เทคโนโลยีเพื่อการทางาน อาชีพ 6. แบบทดสอบเกี่ยวกับเทคโนโลยี เพื่อการทางานอาชีพ
  • 13. 13 การสร้างความเข้าใจที่คงทน ความเข้าใจที่คงทนจะเกิดขึ้นได้ นักเรียนจะต้องมีความสามารถ 6 ประการ ได้แก่ 1. การอธิบาย ชี้แจง เป็นความสามารถที่นักเรียนแสดงออกโดยการอธิบายหรือชี้แจงในสิ่งที่ เรียนรู้ได้อย่างถูกต้อง สอดคล้อง มีเหตุมีผล และเป็นระบบ 2. การแปลความและตีความ เป็นความสามารถที่นักเรียนแสดงออกโดยการแปลความและ ตีความได้อย่างมีความหมาย ตรงประเด็น กระจ่างชัด และทะลุปรุโปร่ง 3. การประยุกต์ ดัดแปลง และนาไปใช้ เป็นความสามารถที่นักเรียนแสดงออกโดยการนาสิ่งที่ได้ เรียนรู้ไปสู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิผล มีประสิทธิภาพ และคล่องแคล่ว 4. การมีมุมมองที่หลากหลาย เป็นความสามารถที่นักเรียนแสดงออกโดยการมีมุมมองที่น่าเชื่อถือ เป็นไปได้ มีความลึกซึ้ง แจ่มชัด และแปลกใหม่ 5. การให้ความสาคัญใส่ใจในความรู้สึกของผู้อื่น เป็นความสามารถที่นักเรียนแสดงออกโดยการมี ความละเอียดรอบคอบ เปิดเผยรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ระมัดระวังที่จะไม่ให้เกิดความ กระทบกระเทือนต่อผู้อื่น 6. การรู้จักตนเอง เป็นความสามารถที่นักเรียนแสดงออกโดยการมีความตระหนักรู้ สามารถ ประมวลผลข้อมูลจากแหล่งที่หลากหลาย ปรับตัวได้รู้จักใคร่ครวญ และมีความเฉลียวฉลาด นอกจากนี้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กาหนดสมรรถนะ- สาคัญของนักเรียนหลังจากสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตรไว้ 5ประการ ดังนี้ 1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถของนักเรียนในการรับและส่งสาร การถ่ายทอด ความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเอง เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลด ปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกที่จะรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจน การเลือกใช้วิธีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบต่อตนเองและสังคม 2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถของนักเรียนในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดเชิงคุณธรรม และการคิดอย่างเป็นระบบ เพื่อ นาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคม ได้อย่าง เหมาะสม 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถของนักเรียนในการแก้ปัญหาและอุปสรรค ต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ใน การป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อ ตนเองสังคม และสิ่งแวดล้อม
  • 14. 14 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถของนักเรียนในการนากระบวนการ ต่าง ๆ ไปใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวัน การทางาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริม ความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ที่ ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถของนักเรียนในการเลือกและใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ ทั้งด้านวัตถุแนวคิด วิธีการ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการ พัฒนาตนเองและสังคมในด้านความรู้ การสื่อสาร การทางานการแก้ปัญหา และการอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม นอกจากสมรรถนะสาคัญของนักเรียนหลังจากสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตรที่กล่าวข้างต้นแล้ว หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ยังได้กาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ เพื่อให้นักเรียนสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุขทั้งในฐานะพลเมืองไทยและ พลเมืองโลก ดังนี้ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทางาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ ดังนั้นการกาหนดภาระงานให้ผู้เรียนปฏิบัติ รวมทั้งการเลือกวิธีการและเครื่องมือประเมินผล การเรียนรู้นั้น ครูควรคานึงถึงความสามารถของนักเรียน 6 ประการ ตามแนวคิดของ Backward Design สมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียนหลังจากสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตรที่ได้ กล่าวไว้ข้างต้น เพื่อให้ภาระงาน วิธีการ และเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ มีความ ครอบคลุมสิ่งที่สะท้อนผลลัพธ์ปลายทางที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับนักเรียนอย่างแท้จริง โดยสรุปการออกแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของ Backward design ในขั้นที่ 2 นี้ ครู จะต้องคานึงถึงภาระงาน วิธีการ เครื่องวัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่มีความเที่ยงตรง ความเชื่อถือได้ มีประสิทธิภาพ ตรงกับสภาพจริง มีความยืดหยุ่น และให้ความสบายใจแก่นักเรียนเป็นสาคัญ
  • 15. 15 ขั้นที่ 3 วางแผนการจัดการเรียนรู้ขั้นที่ 3 วางแผนการจัดการเรียนรู้ เมื่อครูมีความรู้ความเข้าใจที่ชัดเจนเกี่ยวกับการกาหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับ นักเรียนรวมทั้งกาหนดภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ ซึ่งเป็นหลักฐานที่แสดงว่านักเรียนเกิด การเรียนรู้ตามที่กาหนดไว้อย่างแท้จริงแล้ว ขั้นต่อไปครูควรนึกถึงกิจกรรมการเรียนรู้ ต่าง ๆ ที่จะจัดให้แก่นักเรียน การที่นักเรียนจะนึกถึงกิจกรรมต่าง ๆ ที่จะจัดให้นักเรียนได้นั้น ครูควรตอบ คาถามสาคัญต่อไปนี้ ถ้าครูต้องการจะจัดการเรียนรู้ให้นักเรียนเกิดความรู้เกี่ยวกับข้อเท็จจริง ความคิดรวบยอด หลักการและทักษะกระบวนการต่าง ๆ ที่จาเป็นสาหรับนักเรียน ซึ่งจะทาให้นักเรียนเกิดผลลัพธ์ ปลายทางตามที่กาหนดไว้ รวมทั้งเกิดเป็นความเข้าใจที่คงทนต่อไปนั้น ครูสามารถจะใช้วิธีการง่าย ๆ อะไรบ้าง กิจกรรมการเรียนรู้ที่จะช่วยเป็นสื่อนาให้นักเรียนเกิดความรู้และทักษะที่จาเป็นมีอะไรบ้าง สื่อและแหล่งการเรียนรู้ที่เหมาะสมและดีที่สุด ซึ่งจะทาให้นักเรียนบรรลุตามมาตรฐานของ หลักสูตรมีอะไรบ้าง กิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ที่กาหนดไว้ควรจัดกิจกรรมใดก่อนและควรจัดกิจกรรมใน ภายหลัง กิจกรรมต่าง ๆ ออกแบบไว้เพื่อตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลของนักเรียนหรือไม่ เพราะเหตุใด การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อให้นักเรียนเกิดผลลัพธ์ปลายทางตามแนวคิดของ Backward Design นั้น วิกกินส์และแม็คไทได้เสนอแนะให้ครูเขียนแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดของ WHERE TO(ไปที่ไหน) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ Wแทน กิจกรรมการเรียนรู้ที่จัดให้นั้นจะต้องช่วยให้นักเรียนรู้ว่าหน่วยการเรียนรู้นี้จะดาเนินไป ในทิศทางใด(Where) และสิ่งที่คาดหวังคืออะไร (What)มีอะไรบ้าง ช่วยให้ครูทราบว่านักเรียนมีความรู้ พื้นฐานและความสนใจอะไรบ้าง H แทน กิจกรรมการเรียนรู้ควรดึงดูดความสนใจนักเรียนทุกคน (Hook)ทาให้นักเรียนเกิดความ สนใจในสิ่งที่จะเรียนรู้ (Hold)และใช้สิ่งที่นักเรียนสนใจเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ E แทน กิจกรรมการเรียนรู้ควรส่งเสริมและจัดให้ (Equip) นักเรียนได้มีประสบการณ์ (Experience) ในแนวคิดหลัก/ความคิดรวบยอด และสารวจ รวมทั้งวินิจฉัย (Explore) ในประเด็น ต่าง ๆ ที่น่าสนใจ R แทน กิจกรรมการเรียนรู้ควรเปิดโอกาสให้นักเรียนได้คิดทบทวน (Rethink) ปรับ (Revise) ความเข้าใจในความรู้และงานที่ปฏิบัติ
  • 16. 16 E แทน กิจกรรมการเรียนรู้ควรเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ประเมิน (Evaluate) ผลงานและสิ่งที่ เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ T แทน กิจกรรมการเรียนรู้ควรออกแบบ (Tailored) สาหรับผู้เรียนเป็นรายบุคคล เพื่อให้ สอดคล้องกับความต้องการ ความสนใจ และความสามารถที่แตกต่างกันของนักเรียน O แทน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ให้เป็นระบบ (Organized) ตามลาดับการเรียนรู้ของ นักเรียนและกระตุ้นให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการสร้างองค์ความรู้ตั้งแต่เริ่มแรกและตลอดไป ทั้งนี้เพื่อ การเรียนรู้ที่มีประสิทธิผล อย่างไรก็ตาม มีข้อสังเกตว่า การวางแผนการจัดการเรียนรู้ที่มีการกาหนดวิธีการจัดการเรียนรู้ การลาดับบทเรียนรวมทั้งสื่อและแหล่งการเรียนรู้ที่เฉพาะเจาะจงนั้นจะประสบผลสาเร็จได้ก็ต่อเมื่อ ผู้สอนได้มีการกาหนดผลลัพธ์ปลายทาง หลักฐาน และวิธีการวัดและประเมินผลที่แสดงว่านักเรียนมีผล การเรียนรู้ตามที่กาหนดไว้อย่างแท้จริงแล้ว การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เป็นเพียงสื่อที่จะนาไปสู่เป้าหมาย ความสาเร็จที่ต้องการเท่านั้น ด้วยเหตุนี้ถ้าครูมีเป้าหมายที่ชัดเจนก็จะช่วยทาให้การวางแผนการจัดการ เรียนรู้และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สามารถทาให้นักเรียนเกิดผลสัมฤทธิ์ตามที่กาหนดไว้ได้ โดยสรุปจึงกล่าวได้ว่า ขั้นนี้เป็นการค้นหาสื่อการเรียนรู้ แหล่งการเรียนรู้ และกิจกรรมการเรียนรู้ที่ สอดคล้องเหมาะสมกับนักเรียน กิจกรรมที่กาหนดขึ้นควรเป็นกิจกรรมที่จะส่งเสริมให้นักเรียนสามารถ สร้างและสรุปเป็นความคิดรวบยอดและหลักการที่สาคัญของสาระที่เรียนรู้ ซึ่งก่อให้เกิดความเข้าใจที่ คงทน รวมทั้งความรู้สึกและค่านิยมที่ดีไปพร้อม ๆ กับทักษะความชานาญ
  • 17. 17 ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 ผลลัพธ์ปลายทางที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับนักเรียน ตัวชี้วัดชั้นปี ความเข้าใจที่คงทนของนักเรียน นักเรียนจะเข้าใจว่า… 1. 2. คาถามสาคัญที่ทาให้เกิดความเข้าใจที่คงทน   ความรู้ของนักเรียนที่นาไปสู่ความเข้าใจที่คงทน นักเรียนจะรู้ว่า… 1. 2. 3. ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนที่นาไปสู่ ความเข้าใจที่คงทน นักเรียนจะสามารถ... 1. 2. 3. ขั้นที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งเป็นหลักฐานที่แสดงว่านักเรียนมีผลการเรียนรู้ ตามที่กาหนดไว้อย่างแท้จริง 1. ภาระงานที่นักเรียนต้องปฏิบัติ   2. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้ วิธีการประเมินผลการเรียนรู้   เครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้   3. สิ่งที่มุ่งประเมิน   ขั้นที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู้  
  • 18. 18 รูปแบบแผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมงจากการออกแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Backward Design เขียนโดยใช้รูปแบบของแผนการจัดการเรียนรู้แบบเรียงหัวข้อซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ ชื่อแผน...(ระบุชื่อและลาดับที่ของแผนการจัดการเรียนรู้) ชื่อเรื่อง...(ระบุชื่อเรื่องที่จะทาแผนการจัดการเรียนรู้) สาระที่...(ระบุสาระที่ใช้จัดการเรียนรู้) เวลา...(ระบุระยะเวลาที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ต่อ 1 แผน) ชั้น...(ระบุชั้นที่จัดการเรียนรู้) หน่วยการเรียนรู้ที่...(ระบุชื่อและลาดับที่ของหน่วยการเรียนรู้) สาระสาคัญ...(เขียนความคิดรวบยอดหรือมโนทัศน์ของหัวเรื่องที่จะจัดการเรียนรู้) ตัวชี้วัดช่วงชั้น...(ระบุตัวชี้วัดช่วงชั้นที่ใช้เป็นเป้าหมายของแผนการจัดการเรียนรู้) จุดประสงค์การเรียนรู้... (กาหนดให้สอดคล้องกับสมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะที่พึง- ประสงค์ของนักเรียนหลังจากสาเร็จการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551ซึ่งประกอบด้วย ด้านความรู้ (Knowledge: K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม(Affective: A) ด้านทักษะกระบวนการ (Performance: P)) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้... (ระบุวิธีการและเครื่องมือวัดและประเมินผลที่สอดคล้อง กับจุดประสงค์การเรียนรู้ทั้ง 3 ด้าน) สาระการเรียนรู้...(ระบุสาระและเนื้อหาที่นามาจัดการเรียนรู้ อาจเขียนเฉพาะหัวเรื่องก็ได้) แนวทางบูรณาการ...(เสนอแนะและระบุกิจกรรมของกลุ่มสาระอื่นที่บูรณาการร่วมกัน) กระบวนการจัดการเรียนรู้... (กาหนดให้สอดคล้องกับธรรมชาติของกลุ่มสาระและการ บูรณาการข้ามกลุ่มสาระ) กิจกรรมเสนอแนะ...(ระบุรายละเอียดของกิจกรรมที่นักเรียนควรปฏิบัติเพิ่มเติม) สื่อ/แหล่งการเรียนรู้...(ระบุสื่อ อุปกรณ์ และแหล่งการเรียนรู้ที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้) บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้...(ระบุรายละเอียดของผลการจัดการเรียนรู้ตามแผนที่กาหนดไว้ อาจนาเสนอข้อเด่นและข้อด้อยให้เป็นข้อมูลที่สามารถใช้เป็นส่วนหนึ่งของการทาวิจัยใน ชั้น เรียนได้) ในส่วนของการเขียนกิจกรรมการเรียนรู้นั้น ให้ครูนาขั้นตอนหลักของวิธีการจัดการเรียนรู้ ที่ เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญเช่น การเรียนแบบแก้ปัญหา การศึกษาเป็นรายบุคคล การอภิปรายกลุ่มย่อย/กลุ่ม ใหญ่ การฝึกปฏิบัติ การสืบค้นข้อมูล ฯลฯ มาเขียนในขั้นสอน โดยคานึงถึงธรรมชาติของกลุ่มสาระการ เรียนรู้เป็นสาคัญ
  • 19. 19 การใช้แนวคิดของการออกแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของ Backward Design จะช่วยให้ ผู้สอนมีความมั่นใจในการจัดการเรียนรู้และใช้แผนการจัดการเรียนรู้ของ บริษัท สานักพิมพ์วัฒนาพานิช จากัด ในการจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป 4. เทคนิคและวิธีการจัดการเรียนรู้–การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 24 (2) และ (3) ได้ระบุแนวทางการจัดการ เรียนรู้ โดยเน้นการฝึกทักษะกระบวนการคิด การฝึกทักษะการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากแหล่งเรียนรู้ ที่หลากหลาย การฝึกปฏิบัติจริง และการประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อการป้องกันและแก้ปัญหา ดังนั้น เพื่อให้ การจัดการเรียนรู้สอดคล้องกับนโยบายดังกล่าวนี้ การจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ใน คู่มือครู แผนการ จัดการเรียนรู้ การอาชีพเล่มนี้ จึงยึดแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ (Child-Centered) เน้นการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง และเน้นการเรียนรู้แบบบูรณาการที่ผสมผสานเชื่อมโยงสาระการเรียนรู้ ต่าง ๆ กับหัวข้อเรื่องหรือประเด็นที่สอดคล้องกับชีวิตจริง เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาในองค์รวม เป็น ธรรมชาติ สอดคล้องกับสภาพและปัญหาที่เกิดในวิถีชีวิตของนักเรียน แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ได้เปลี่ยนแปลงบทบาทของครูจากการเป็น ผู้ ชี้นาหรือถ่ายทอดความรู้ ไปเป็นผู้ช่วยเหลือ อานวยความสะดวก และส่งเสริมสนับสนุนนักเรียนโดยใช้ วิธีการต่าง ๆ อย่างหลากหลายรูปแบบ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการสร้างสรรค์ความรู้และนาความรู้ไปใช้อย่างมี ประสิทธิภาพ คู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้ การงานอาชีพเล่มนี้ จึงได้นาเสนอทฤษฎีและเทคนิควิธีการ เรียนการสอนต่าง ๆ มาเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ เช่น การจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน (Brain–Base Learning–BBL) ที่เป็นวิธีการจัดการเรียนรู้ที่ อิงผลการวิจัยทางประสาทวิทยา ซึ่งได้เสนอแนะไว้ว่า ตามธรรมชาตินั้นสมองเรียนรู้ได้อย่างไร โดยได้ กล่าวถึงโครงสร้างที่แท้จริงของสมองและการทางานของสมองมนุษย์ที่มีการแปรเปลี่ยนไปตามขั้นของ การพัฒนา ซึ่งสามารถนามาใช้เป็นกรอบแนวคิดของการสร้างสรรค์การจัดการเรียนรู้ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem–Based Learning–PBL) เป็นวิธีการจัดการ เรียนรู้ที่ใช้ปัญหาที่เกิดขึ้นเป็นจุดเริ่มต้นและเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดกระบวนการเรียนรู้โดยให้นักเรียน ร่วมกันแก้ปัญหาภายใต้การแนะนาของครู ให้นักเรียนช่วยกันตั้งคาถามและช่วยกันค้นหาคาตอบ โดย อาจใช้ความรู้เดิมมาแก้ปัญหา หรือศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมสาหรับการแก้ปัญหา นาข้อมูลที่ได้จากการ ค้นคว้ามาสรุปเป็นข้อมูลในการแก้ปัญหา แล้วช่วยกันประเมินการแก้ปัญหาเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาครั้ง ต่อไปสาหรับขั้นตอนการจัดการเรียนรู้
  • 20. 20 การจัดการเรียนรู้แบบพหุปัญญา (Multiple Intelligences) เป็นการพัฒนาองค์รวมของ นักเรียน ทั้งสมองด้านซ้ายและสมองด้านขวา บนพื้นฐานความสามารถและสติปัญญาที่แตกต่างกัน ของแต่ละบุคคล มุ่งหมายให้นักเรียนสามารถแก้ปัญหาหรือสร้างสรรค์สิ่งต่าง ๆ ภายใต้ความหลากหลาย ของวัฒนธรรมหรือสภาพแวดล้อม การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) เป็นการจัดสถานการณ์และบรรยากาศให้ นักเรียนเกิดการเรียนรู้ร่วมกัน ฝึกให้นักเรียนที่มีลักษณะแตกต่างกันทั้งสติปัญญาและความถนัดร่วมกัน ทางานเป็นกลุ่ม ร่วมกันศึกษาค้นคว้า การจัดการเรียนรู้แบบใช้หมวกความคิด 6 ใบ (Six ThinkingHats) ให้นักเรียนฝึกตั้งคาถามและ ตอบคาถามที่ใช้ความคิดในลักษณะต่าง ๆโดยสามารถอธิบายเหตุผลประกอบหรือวิเคราะห์วิจารณ์ได้ การจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการแก้ปัญหา (Problem Solving) เป็นการฝึกให้นักเรียนเรียนรู้จาก การแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น โดยการทาความเข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปัญหา ดาเนินการแก้ปัญหาและ ตรวจสอบหรือมองย้อนกลับ การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน (Project Work) ซึ่งเป็นวิธีการจัดการเรียนรู้รูปแบบหนึ่งที่ ส่งเสริมให้นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเองจากการลงมือปฏิบัติ โดยใช้กระบวนการแสวงหาความรู้หรือค้นคว้า หาคาตอบในสิ่งที่ผู้เรียนอยากรู้หรือสงสัยด้วยวิธีการต่าง ๆ อย่างหลากหลาย การจัดการเรียนรู้ที่เน้นการปฏิบัติ (Active Learning) ให้นักเรียนได้ทดลองทาด้วยตนเอง เพื่อจะ ได้เรียนรู้ขั้นตอนของงาน รู้จักวิธีแก้ปัญหาในการทางาน การจัดการเรียนรู้แบบสร้างผังความคิด (Concept Mapping) เป็นการสอนด้วยวิธีการจัดกลุ่ม ความคิดรวบยอดเพื่อให้เห็นความสัมพันธ์กันระหว่างความคิดหลักและความคิดรองลงไปโดยนาเสนอ เป็นภาพหรือเป็นผัง การจัดการเรียนรู้จากประสบการณ์ (Experience Learning) เป็นการจัดกิจกรรมหรือจัด ประสบการณ์ให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้จากการปฏิบัติ แล้วกระตุ้นให้นักเรียนพัฒนาทักษะใหม่ ๆ เจต คติใหม่ ๆ หรือวิธีการคิดใหม่ ๆ การเรียนรู้โดยการแสดงบทบาทสมมุติ (Role Playing) เป็นการจัดกิจกรรมที่ให้นักเรียนได้แสดง บทบาทในสถานการณ์ที่สมมุติขึ้น โดยอาจกาหนดให้แสดงบทบาทสมมุติที่เป็นพฤติกรรมของบุคคลอื่น หรือแสดงพฤติกรรมในบทบาทของตนเองในสถานการณ์ต่างๆ การเรียนรู้จากเกมจาลองสถานการณ์ (Simulation Gaming) เป็นเทคนิคการจัดการเรียนรู้ที่คล้ายกับ การแสดงบทบาทสมมุติ แต่เป็นการให้เล่นเกมจาลองสถานการณ์โดยครูนาสถานการณ์จริงมาจาลองไว้ ในห้องเรียน โดยการกาหนดกฎกติกาเงื่อนไขสาหรับเกมนั้นๆ แล้วให้นักเรียนไปเล่นเกมหรือกิจกรรม ในสถานการณ์จาลองนั้น
  • 21. 21 การจัดการเรียนรู้ต้องจัดควบคู่กับการวัดและการประเมินผลตามภาระและชิ้นงานที่ สอดคล้องกับตัวชี้วัด แผนการจัดการเรียนรู้นี้ได้เสนอการวัดและประเมินผลครบทั้ง 3 ด้าน คือ ด้าน ความรู้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม และด้านทักษะ/กระบวนการ เน้นวิธีการวัดที่หลากหลาย ตามสถานการณ์จริง การดูร่องรอยต่าง ๆ ควบคู่ไปกับการดูกระบวนการทางานและผลผลิตของงานโดย ออกแบบการประเมินก่อนเรียน ระหว่างเรียน หลังเรียน และแบบทดสอบประจาหน่วย พร้อมแบบฟอร์ม และเกณฑ์การประเมิน เพื่ออานวยความสะดวกให้ครูไว้พร้อม ทั้งนี้ครูอาจเพิ่มเติมโดยการออกแบบการ วัดและประเมินด้วยมิติคุณภาพ(Rubrics)
  • 22. 22 ตารางวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดช่วงชั้น กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี การอาชีพ ชั้น ม. 46 มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวชี้วัดชั้นปี หน่วยการเรียนรู้ สาระที่ 1 สาระที่ 2 สาระที่ 3 สาระที่ 4 สรุปผลการ ประเมิน มฐ ง 1.1 มฐ ง 2.1 มฐ ง 3.1 มฐ ง 4.1 ผ่าน ไม่ ผ่าน 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 1 2 3 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เปิดโลกอาชีพ √ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เส้นทางสู่งานอาชีพ √ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เทคโนโลยีเพื่อการ ทางานอาชีพ √ หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ประสบการณ์ วิชาชีพ √ √ หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการทางาน √