SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  8
Télécharger pour lire hors ligne
บทที่ 2
                                     วงจรการวิเคราะห์ระบบงาน
 ในการพัฒนาระบบนั้น ได้มีการกาหนดให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน และกาหนดขึ้นตอนที่เป็นแนวทาง
ในนักวิเคราะห์ระบบปฏิบัติงานได้โดยมีข้อบกพร่องน้อยที่สุด เพราะงานการวิเคราะห์ระบบในปัจจุบันมีความ
ซับซ้อนของงานมากกว่าสมัยก่อน นักวิเคราะห์ระบบจึงต้องการมาตรฐานในการพัฒนาระบบดังกล่าว จึงได้มี
การคิดค้นวงจรการพัฒนาระบบงานขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการของนักวิเคราะห์ระบบ                 (System
Analysis:SA)

   วงจรการพัฒนาระบบงานสาหรับระบบงาน
        วงจรการพัฒนาระบบงาน (System Development Life Cycle : SDLC) สาหรับระบบทั่วไปที่ได้มี
                      ทั่วไป
การคิดค้นขึ้นมา สามารถแบ่งออกเป็นลาดับขั้นได้ 4 ขั้นตอน คือ

      1.การวิเคราะห์ระบบงาน เป็นขึ้นตอนของการศึกษาระบบงานเดิมที่ใช้ในปัจจุบัน         (Current
System) ปัญหาที่เกิดจากระบบงานเดิม ตลอดจนการศึกษาถึงความต้องการของธุรกิจ (Business Needs
and Requirements) พร้อมกับการประเมินเหตุการณ์ต่าง ๆ เพื่อหาทางเลือกที่เหมาะสมมาแก้ปัญหา

         2.การออกแบบและวางระบบงาน เป็นขึ้นตอนหลังจากการวิเคราะห์ระบบงานซึ่งเป็นขึ้นตอนที่
นักวิเคราะห์ระบบจะต้องวางโครงสร้างของระบบงาน ในรูปลักษณะทั่ว ๆ ไปและในรูปลักษณะเฉพาะโดยมี
การแจกแจงรายละเอียดที่แน่ชัดของแต่ละงาน หรือระบบงานย่อยของระบบที่ได้ออกแบบขึ้นจะถูกส่งต่อไป
ให้กับโปรแกรมเมอร์เพื่อจะได้ทาการเขียนโปรแกรมให้เป็นระบบที่ปฏิบัติงานได้จริงในขึ้นตอนต่อไป

         3.การนาระบบเข้าสู่ธุรกิจหรือผู้ใช้ เป็นขึ้นตอนที่นาเอาระบบงานมาติดตั้ง (Install) ให้กับผู้ใช้ และ
เพื่อให้แน่ใจว่าระบบงานสามารถปฏิบัติงานได้ตรงตามวัตถุประสงค์ระบบงานจะต้องถูกทาการตรวจสอบมา
อย่างดี พร้อมกับการฝึกอบรม (Education and Training) ให้ผู้ใช้ระบบสามารถใช้ระบบงานได้อย่างมี
ประสิทธิภาพและถูกต้อง

          4.การดาเนินการสนับสนุนภายหลังการติดตั้งระบบงาน เป็นขั้นตอนที่ระบบงานใหม่ได้ถูกนามา
ติดตั้งแล้วผู้ใช้ระบบอาจจะยังไม่คุ้นเคยกับการทางานในระบบใหม่นักวิเคราะห์ระบบควรจะให้คาแนะนาอย่าง
ต่อเนื่อง เพื่อช่วยเหลือผู้ใช้ระบบในการปฏิบัติงานทั้งนี้รวมถึงความต้องการต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นหรือ
เปลี่ยนแปลงไปภายหลังจากระบบได้ถูกติดตั้ง ซึ่งนักจะเกี่ยวข้องกับการบารุงรักษาระบบงาน                (System
Maintenance) และการปรับปรุงระบบงาน (System Improvement)

         เมื่อความต้องการเปลี่ยนแปลงไป และระบบงานที่กาลังปฏิบัติอยู่เป็นประจา จาเป็นต้องปรับปรุงใหม่
นักวิเคราะห์ระบบจะต้องกลับไปเริ่มต้นที่ขั้นที่ 1 ใหม่ และจะเป็นเช่นนี้เรื่อย ๆ ไป ถ้าเกิดความเปลี่ยนแปลง
ของระบบ
วงจรการพัฒนาระบบงานสาหรับระบบ
 วงจรการพัฒนาระบบงาน สารสนเทศ (System Development Life Cycle : SDLC) ของระบบสารสนเทศ ได้มี
การคิดค้นขึ้นมาโดยมีขึ้นตอนที่แตกต่างไปจากวงจรการพัฒนาระบบงานสาหรับระบบงานทั่วไป ตรงที่มี
ขั้นตอนในการพัฒนาระบบงานที่ละเอียดว่าถึง 7 ขั้นตอน ซึ่งนักวิเคราะห์ระบบต้องทาความเข้าใจว่าในแต่ละ
ขั้นตอนว่าทาอะไรและทาอย่างไรสามารถแบ่งออกเป็นลาดับขั้นตอนดังนี้คือ



         1. ค้นหาปัญหา โอกาสและเป้าหมาย                           2. ศึกษาความเป็นไปได้


 7. ดาเนินการและประเมินผล                                                 3. วิเคราะห์ความต้องการของระบบ


         6. ทดสอบและบารุงรักษาระบบ                                4. ออกแบบระบบ


                                  5. พัฒนาซอฟแวร์และจัดทาเอกสาร

ภาพที่ 2.1แสดงวงจรกิจกรรมต่าง ๆ ในแต่ละขั้นตอน ตั้งแต่ต้นจนเสร็จเป็นระบบงานที่ใช้ได้

        1. ค้นหาปัญหา โอกาสและเป้าหมาย (Identifying Problems, Opportunityand Objective)
        2. ศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study)
3. วิเคราะห์ความต้องการของระบบ            (Analyzing System Needs)
4. การออกแบบระบบ            (Designing the Recommended System)
5. พัฒนาซอฟต์แวร์และจัดทาเอกสาร             (Developing and Documenting Software)
6. ทดสอบและบารุงรักษาระบบ             (Testing and Maintaining the System)
7. ดาเนินงานและประเมินผล           (Implementing and evaluating the System)



        1. ค้นหาปัญหา โอกาสและเป้าหมาย (Identifying Problems, Opportunity and Objective)
 ระบบสารสนเทศจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อผู้บริหารหรือผู้ใช้ตระหนักว่าต้องการระบบสารสนเทศ หรือต้อง
แก้ไขระบบเดิม โดยมีขั้นตอนดังนี้
  1.1นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ ต้องศึกษาระบบโดยละเอียด เพื่อให้เข้าใจถึงปัญหาที่เกิดขึ้นใน
องค์กร ตัวอย่างปัญหา เช่น
                    บริษัท ก เปิดสาขาเพิ่มมากขึ้น ระบบเดิมไม่ได้ครอบคลุมถึงการขยายตัวของบริษัท
                    บริษัท ข เก็บข้อมูลผู้ขายได้เพียง 1 ,000 ราย แต่ปัจจุบันระบบนี้มีข้อมูลผู้ขาย 900
                        ราย และในอนาคตจะมีเกิน 1,000 ราย
 ระบบสารสนเทศในองค์กรหลาย ๆ แห่งในปัจจุบัน ที่ใช้มานานแล้วและใช้เพื่อ
                               ติดตามเรื่องการเงินเท่านั้น ไม่ได้มีจุดประสงค์เพื่อให้เป็นสารสนเทศเพื่อตัดสินใจ
   1.2พยายามหาโอกาสในการปรับปรุงวิธีการทางานโดยการใช้ระบบคอมพิวเตอร์
   1.3นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ ต้องมองเป้าหมายให้ชัดเจน เพื่อจะได้รู้ทิศทางของการทาระบบ
ให้เป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ เช่น ต้องการแข่งขันกับคู่แข่งในเรื่องการลดต้นทุนในการผลิตสินค้า โดยการ
ลดจานวนการสต็อกวัตถุดิบ ดังนั้น นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ จะเห็นถึงปัญหา โอกาส และเป้าหมายใน
การนาระบบคอมพิวเตอร์เข้าไปใช้ในการเก็บข้อมูลสต็อกวัตถุดิบ และประมวลผลการสั่งวัตถุดิบ เป็นต้น
           2.ศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study)
   2.1กาหนดว่าปัญหาคืออะไร และตัดสินใจว่าจะพัฒนาสร้างระบบสารสนเทศใหม่หรือการแก้ไขระบบ
สารสนเทศเดิมมีความเป็นไปได้หรือไม่ โดยเสียค่าใช้จ่ายและเวลาน้อยที่สุด
   2.2นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ ต้องกาหนดให้ได้ว่าการแก้ปัญหานั้น
   2.2.1มีความเป็นไปได้ทางเทคนิคหรือไม่ เช่น จานวนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีอยู่เพียงพอ
หรือไม่ ซอฟต์แวร์แก้ไขได้หรือไม่
   2.2.2มีความเป็นไปได้ทางบุคลากรหรือไม่ เช่น มีบุคคลที่เหมาะสมที่จะพัฒนาและติดตั้ง
ระบบหรือไม่ ผู้ใช้มีความคิดเห็นอย่างไรกับการเปลี่ยนแปลง
   2.2.3มีความเป็นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์หรือไม่ เช่น มีเงินลงทุนหรือไม่ค่าใช้จ่ายในการ
วิเคราะห์และออกแบบ ค่าใช้จ่ายในด้านเวลาที่ต้องใช้ในการพัฒนาระบบ
   ดังนั้นในการศึกษาความเป็นไปได้นั้นสามารถสรุปได้ดังต่อไปนี้ คือ
                หน้าที่ : กาหนดปัญหาและศึกษาว่าเป็นไปได้หรือไม่ที่จะเปลี่ยนแปลงระบบ
                ผลลัพธ์: รายงานความเป็นไปได้
                เครื่องมือ: เก็บรวบรวมข้อมูลของระบบและคาดคะเนความต้องการของระบบ
                บุคลากรและหน้าที่รับผิดชอบ:
                นักวิเคราะห์และออกแบบระบบต้องเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งหมดที่จาเป็น
                นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ ต้องคาดคะเนความต้องการของระบบและแนวทางแก้ไข
                    ปัญหา
                นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ กาหนดความต้องการที่แน่ชัด เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ระบบ
                    โดยที่ผู้บริหารจะตัดสินใจว่าจะดาเนินโครงการต่อไปหรือไม่หรือยกเลิกโครงการ
           3.วิเคราะห์ความต้องการของระบบ (Analyzing System Needs)
                    3.1เริ่มตั้งแต่ศึกษาการทางานของธุรกิจเดิมว่าทางานอย่างไร
                    3.2กาหนดความต้องการของระบบใหม่
                    3.3เครื่องมือ : Data Dictionary, DFD, Process Specification, Data Model,
P                r              o            t             o             t              y         p            e
                    3.4บุคลากรและหน้าที่ : ผู้ใช้ต้องให้ความร่วมมือ
                    3.5นักวิเคราะห์และออกแบบระบบศึกษาเอกสารที่มีอยู่ และศึกษาระบบเดิมเพื่อให้เข้าใจ
ขั้นตอนการทางานของระบบ
                3.6นักวิเคราะห์และออกแบบระบบเตรียมรายงานความต้องการของระบบใหม่
   3.7นักวิเคราะห์และออกแบบระบบเขียนแผนภาพการทางาน                          (DFD) ของระบบเดิมและระบบใหม่
   3.8นักวิเคราะห์และออกแบบระบบสร้าง                   Prototype ขึ้นมาก่อน
4.ออกแบบระบบ (Designing the Systems)
 4.1ออกแบบระบบใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้และผู้บริหาร
 4.2บุคลากรหน้าที่      :
 4.2.1นักวิเคราะห์และออกแบบระบบตัดสินใจเลือกฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์
 4.2.2นักวิเคราะห์และออกแบบระบบออกแบบข้อมูล เข้ารายงานการแสดงผลบนหน้าจอ
ออกแบบฐานข้อมูล
 4.2.3นักวิเคราะห์และออกแบบระบบกาหนดจานวนบุคลากรในระบบ

           5.พัฒนาซอฟต์แวร์และจัดทาเอกสาร (Developing and Documenting Software)
   5.1เขียนโปรแกรม จัดทาคู่มือการใช้โปรแกรม และฝึกอบรมผู้ใช้ที่เกี่ยวข้องในระบบ
   5.2บุคลากรและหน้าที่             :
   5.2.1นักวิเคราะห์และออกแบบระบบเตรียมสถานที่และการติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์
   5.2.2นักวิเคราะห์และออกแบบระบบวางแผนและดูแลการเขียนโปรแกรม
   5.2.3โปรแกรมเมอร์เขียนโปรแกรม
   5.2.4นักวิเคราะห์และออกแบบระบบดูแลการเขียนคู่มือการใช้โปรแกรมและการฝึกอบรม
           6.ทดสอบและบารุงรักษาระบบ (Testing and Maintaining the System)
           6.1 นักวิเคราะห์และออกแบบระบบและทีมงานทดสอบโปรแกรม
   6.2ผู้ใช้ตรวจสอบว่าโปรแกรมทางานตามที่ต้องการ
   6.3ถ้าเกิดข้อผิดพลาดของโปรแกรม ให้ปรับปรุงแก้ไข
   6.4เมื่อทดสอบโปรแกรมแล้ว โปรแกรมไม่เป็นไปตามความต้องการ อาจต้องแก้ไขปรับปรุงใหม่
   6.5การบารุงรักษา ส่วนใหญ่เป็นการแก้ไขโปรแกรมหลังจากใช้งานแล้ว เนื่องจาก
                         ปัญหาในโปรแกรม(Bug)
                          มี
                        รกิจเกิดการเปลี่ยนแปลงไป เช่น ธุรกิจขยายตัว ธุรกิจสร้างสินค้าตัวใหม่ความ
                          ธุ
                             ต้องการของระบบก็เพิ่มขึ้น รายงานเพิ่มขึ้น
                         การเปลี่ยนแปลงทางฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์
                         ความต้องการผู้ใช้มีเพิ่มขึ้น40-60 % ของค่าใช้จ่ายในการพัฒนาระบบจะใช้ในการ
                             บารุงรักษาระบบ
           7.ดาเนินงานและประเมิน (Implementing and evaluating the System)
   7.1ติดตั้งระบบให้พร้อม
   7.2นาระบบใหม่มาใช้แทนระบบเดิม
   7.3ใช้ระบบใหม่ควบคู่กับระบบเดิมสักระยะหนึ่ง แล้วดูผลลัพธ์ว่าตรงกันหรือไม่ถ้าใช้งานดี ก็เลิกใช้
ระบบเดิม และใช้ระบบใหม่
   7.4นักวิเคราะห์และออกแบบระบบทาการประเมินผล เพื่อให้ทราบถึงความพอใจของผู้ใช้ระบบ หรือ
สิ่งที่ต้องแก้ไขปรับปรุง หรือปัญหาที่พบ
หลักความสาเร็จของการพัฒนาระบบงาน
          หลักการทาให้การพัฒนาระบบงานประสบความสาเร็จ ซึ่งนักวิเคราะห์ระบบควรรู้ถึงหลักการเหล่านี้
ด้วย หลักความสาเร็จของการพัฒนาระบบ ได้แก่
          1.ระบบเป็นของผู้ใช้
 นักวิเคราะห์ระบบควรระลึกเอาไว้เสมอว่า ระบบเป็นของผู้ใช้ ซึ่งจะเป็นผู้ที่นาเอาระบบและผลงานที่
ได้ทาการออกแบบไว้ไปใช้และก่อให้เกิดประโยชน์ต่อระบบธุรกิจของเข่า ผู้ใช้ระบบจึงมีส่วนสาคัญที่จะผลักดัน
ให้การพัฒนาระบบงานเป็นไปอย่างถูกต้อง และเพื่อตอบสนองกับความต้องการที่แท้จริง นักวิเคราะห์ระบบ
จะต้องนาเอาความเห็นของผู้ใช้ระบบมาเกี่ยวข้องในทุกขั้นตอนของการพัฒนาระบบ ในวงจรการพัฒนา
ระบบงานจะต้องมีบทบาทของผู้ใช้ระบบอยู่เสมอทุกขั้นตอน การมีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบของผู้ใช้ระบบ
จะทาให้ผู้ใช้ระบบรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของระบบและจะลดแนวความคิดที่ว่าผู้ใช้ระบบถูกยัดเยียดงานใหม่ที่
พัฒนาขึ้นโดยอัตโนมัติ แรงต่อต้านของระบบงานก็จะลดลง
          2.ทาการจัดตั้งและแบ่งกลุ่มของระบบออกเป็นกลุ่มงานย่อย
 กลุ่มงานย่อย ๆ ซึ่งแบ่งออกจากระบบใหญ่ ตามวงจรการพัฒนาระบบงาน ได้แบ่งขั้นตอนของการ
ทางานเป็นกลุ่มย่อย 4 ขั้นตอน ดังนี้
                ้นตอนการวิเคราะห์ระบบงาน(System Analysis)
                  ขั
                ้นตอนการออกแบบและวางระบบงาน(System Analysis)
                  ขั
                ้นตอนการนาระบบงานเข้าสู่ธุรกิจเพื่อใช้ปฏิบัติงานจริง(System Implementation)
                  ขั
                ้นตอนการติดตามและดาเนินการภายหลังการติดตั้งระบบงาน(System Support)
                  ขั
          สาเหตุที่ต้องมีการจัดแบ่งกลุ่มออกเป็นกลุ่มย่อย ๆ นั้น เพื่อที่จะให้ผู้บริหารโครงการหรือผู้พัฒนา
ระบบงานสามารถควบคุมความคืบหน้าของการพัฒนาระบบได้อย่างใกล้ชิด และสามารถที่จะกาหนดและ
ควบคุมระยะเวลาที่ใช้ในการพัฒนาระบบได้ดีขึ้นอีกด้วย
          3.ขั้นตอนการพัฒนาระบบงานไม่ใช่แบบอนุกรม (Sequential Process)
 ขั้นตอนในการพัฒนาระบบงานที่ได้กล่าวมา2 ข้อแรกนั้น สามารถจะทาซ้อนกันได้ในลักษณะที่ไม่
จาเป็นจะต้องรอให้ขั้นตอนแรกทางานเสร็จก่อนจึงจะทางานในขั้นตอนต่อไป ทั้งนี้จะต้องขึ้นอยู่กับความ
เหมาะสมด้วย โดยบางขั้นตอน จะต้องรอให้การทางานเสร็จ สมบูรณ์ก่อนจึงจะสามารถทางานในขั้นต่อไปได้
          4.ระบบงานข้อมูลถือเป็นการลงทุนอย่างหนึ่ง
          การพัฒนาระบบงาน ถือเป็นการลงทุนอย่างหนึ่ง ซึ่งไม่แตกต่างจากการลงทุนซื้อสินค้ามาทาการขาย
ต่อให้ผู้บริโภค สิ่งที่นักวิเคราะห์ระบบควรจะต้องคานึงถึง คือ ทางเลือกต่าง ๆ ที่จะนาเงินไปลงทุน ซึ่งควรคิด
ทางเลือกของการพัฒนาระบบงานในหลาย ๆ งานและพิจารณาถึงความเป็นไปได้ต่าง ๆ รวมถึงการ
เปรียบเทียบต้นทุนและผลกาไรที่จะเกิดจากระบบงาน ว่าระบบงานนั้น ๆ คุ้มค่าที่จะทาการลงทุนหรือไม่
          5.อย่ากลัวที่จะต้องยกเลิก
          ทุกขั้นตอนของวงจรการพัฒนาระบบงานจะต้องมีการศึกษาถึงความเป็นไปได้ (Feasibility Study)
ของระบบงาน นักวิเคราะห์ระบบจะมีโอกาสเสมอที่จะตัดสินใจว่าจะให้ระบบงานนั้นดาเนินต่อไปหรือยกเลิก
ระบบที่ได้มีการพัฒนาขึ้น ความรู้สึกของนักวิเคราะห์ระบบที่จะต้องถูกยกเลิกงานที่ทามาตั้งแต่ต้น ซึ่งไม่ใช่
เรื่องง่ายที่จะศึกษาวิเคราะห์ออกแบบจนออกมาเป็นระบบงานใดงานหนึ่งคงจะเป็นความรู้สึกที่ไม่ดีนัก และไม่
มีนักวิเคราะห์ระบบคนใดที่อยากจะเจอกับเหตุการณ์แบบนี้ แต่เมื่อการพัฒนาระบบงานไม่สามารถจะทาให้
เป็นไปตามความต้องการของผู้ใช้ระบบได้ การยกเลิกโครงการหรือระบบงานก็เป็นสิ่งที่จาเป็น
         ข้อเสียต่อความกลัวที่จะต้องยกเลิกระบบงานคือ
              ดท้ายแล้วระบบงานนั้นก็จะต้องทาการยกเลิกอยู่ดี เมื่อพยายามจะ หลีกเลี่ยงการยกเลิก
                 สุ
                    ระบบงาน
              นทุรังให้ระบบงานที่ควรจะยกเลิกให้ทางานต่อไป จะต้องใช้เงินเป็นจานวนมากไปลงทุน
                 การดั
                    เพิ่มในระบบที่ไม่ควรจะลงทุน
              เวลาและจานวนคนเพิ่มมากขึ้น ทาให้งบประมาณบานปลาย จนไม่สามารถที่จะควบคุมได้
                 ใช้
         6.ทุกขั้นตอนของการพัฒนาระบบงานต้องมีการจัดทาเอกสารเพื่อใช้อ้างอิงเสมอ
         การขาดการทาเอกสารประกอบหรือเอกสารอ้างอิงมักจะส่งผลให้เกิดข้อผิดพลาดต่อระบบงานและต่อ
นักวิเคราะห์ระบบ เพราะการจัดทาเอกสารมักจะถูกมองข้ามไป เนื่องจากเห็นว่าการจัดทาเอกสารเป็นสิ่งที่
เสียเวลา แม้กระทั่งในส่วนของโปรแกรมเอง โปรแกรมเมอร์มักจะไม่นิยมเขียนคาอธิบายการทางานเล็ก ๆ
น้อย ๆ ว่าโปรแกรมส่วนนั้น ๆ ทาอะไร เพื่ออะไร ทั้งนี้เป็นการยากลาบากสาหรับการกลับมาแก้ไขโปรแกรม
ในขั้นตอนต่าง ๆ ซึ่งมีผลทาให้การบารุงรักษาระบบเป็นการยากและเสียเวลา บางครั้งอาจจะไม่สามารถแก้ไข
ระบบได้ถึงขนาดที่จะต้องเริ่มการศึกษาวิเคราะห์และออกแบบระบบกันใหม่ การจัดทาเอกสารในที่นี้ หมาย
รวมถึงการบันทึกเหตุการณ์ต่าง ๆ และแนวความคิด รวมทั้งข้อสรุปที่เกิดขึ้นในแต่ละขั้นตอนของการพัฒนา
ระบบงานด้วย
คาศัพท์
                       บทที่ 2 วงจรการวิเคราะห์ระบบงาน



                  คาศัพท์                                 ความหมาย
System Development Life Cuycle:SDLC      วงจรการพัฒนาระบบงาน
Business Needs and Requirements          ความต้องการของธุรกิจ
System Maintenance                       การบารุงรักษาระบบงาน
System Improvement                       การปรับปรุงระบบงาน
Identifying Problems                     ปัญหา
Opportunity                              โอกาส
Objective                                เป้าหมาย
Feasibility Study                        ศึกษาความเป็นไปได้
Analyzing System Needs                   วิเคราะห์ความต้องการของระบบ
Developing and Documenting Software      การพัฒนาซอฟต์แวร์และการจัดทาเอกสาร
Testing and Maintaining the System       การทดสอบและบารุงรักษาระบบ
Bug                                      ปัญหาในโปรแกรม
Implementing and Evaluating the System   การดาเนินงานและประเมินผล
System Analysis                          ขั้นตอนการวิเคราะห์ระบบงาน
System Implementation                    ขั้นตอนการนาระบบงานมาใช้จริง
System Support                           ขั้นตอนการติดตามภายหลังการติดตั้งระบบ
Sequential Process                       ขั้นตอนการพัฒนาระบบไม่ใช่แบบอนุกรม
แบบฝึกหัด
                                         บทที่ 2
                                 วงจรการวิเคราะห์ระบบงาน

ตอนที1 อธิบาย (หมายถึง การให้รายละเอียดเพิ่มเติม ขยายความ ถ้ามีตัวอย่างให้ยกตัวอย่างประกอบ)
     ่
   1. วงจรการพัฒนาระบบงานสาหรับระบบงานทั่วไปมีกี่ขั้นตอน อะไรบ้าง
   2. อธิบายการออกแบบระบบงานสาหรับวงจรการพัฒนาระบบงานทั่วไป
   3. อธิบายความแตกต่างระหว่างวงจรการพัฒนาระบบงานสาหรับระบบงานทั่วไปกับวงจรการพัฒนา
       ระบบงานสาหรับระบบสารสนเทศ
   4. เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการวิเคราะห์ระบบมีอะไรบ้าง จงอธิบาย
   5. อธิบายขั้นตอนการพัฒนาระบบงานที่ไม่ใช่แบบอนุกรม

ตอนที่ 2 อธิบายคาศัพท์ (หมายถึง การแปลคาศัพท์ ขยายความ อธิบายเพิ่มเติม ถ้ามีตัวอย่างให้
ยกตัวอย่างประกอบ)

   1. System Development Life Cycle
   2. System Improvement
   3. Objective
   4. Feasibility Study
   5. System Support
   6. Bug
   7. Identifying Problems
   8. System Analysis
   9. System Implementation
   10. Install

Contenu connexe

Tendances

การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)
การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)
การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)tumetr
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2pianojrtk
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2pianojrtk
 
The system-analysis-and-design
The system-analysis-and-designThe system-analysis-and-design
The system-analysis-and-designtumetr
 
Chapter 6 system development
Chapter 6 system developmentChapter 6 system development
Chapter 6 system developmentPa'rig Prig
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศmilk tnc
 
บทที่6
บทที่6บทที่6
บทที่6somjit003
 
Chapter 6 system development
Chapter 6 system developmentChapter 6 system development
Chapter 6 system developmentPa'rig Prig
 
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
Problem solution
Problem solutionProblem solution
Problem solutionaumaiaiai
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7apinyaboong
 

Tendances (20)

Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 
Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 
Activity4
Activity4Activity4
Activity4
 
การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)
การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)
การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)
 
Design6
Design6Design6
Design6
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
The system-analysis-and-design
The system-analysis-and-designThe system-analysis-and-design
The system-analysis-and-design
 
Chapter 6 system development
Chapter 6 system developmentChapter 6 system development
Chapter 6 system development
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การวิเคราะห์ระบบ 2
การวิเคราะห์ระบบ 2การวิเคราะห์ระบบ 2
การวิเคราะห์ระบบ 2
 
บทที่6
บทที่6บทที่6
บทที่6
 
Chapter 6 system development
Chapter 6 system developmentChapter 6 system development
Chapter 6 system development
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
Activity4
Activity4Activity4
Activity4
 
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
 
Problem solution
Problem solutionProblem solution
Problem solution
 
Problem solution
Problem solutionProblem solution
Problem solution
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
Activity4_naka
Activity4_nakaActivity4_naka
Activity4_naka
 

Similaire à Chapter 02

การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศการพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารบทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารPrakaywan Tumsangwan
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมnuknook
 
System development life cycle sdlc
System development life cycle  sdlcSystem development life cycle  sdlc
System development life cycle sdlcKapook Moo Auan
 
System Development Life Cycle S D L C
System  Development  Life  Cycle   S D L CSystem  Development  Life  Cycle   S D L C
System Development Life Cycle S D L CKapook Moo Auan
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศPaweena Kittitongchaikul
 
System Development Life Cycle
System Development  Life  CycleSystem Development  Life  Cycle
System Development Life Cycleeiszer
 

Similaire à Chapter 02 (20)

M
MM
M
 
Project Sky
Project SkyProject Sky
Project Sky
 
Ch8
Ch8Ch8
Ch8
 
Ch8
Ch8Ch8
Ch8
 
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศการพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
 
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารบทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
 
template system
template systemtemplate system
template system
 
Work3-05
Work3-05Work3-05
Work3-05
 
3
33
3
 
Workshop03
Workshop03Workshop03
Workshop03
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
Lesson3 devenlopment-program
Lesson3 devenlopment-programLesson3 devenlopment-program
Lesson3 devenlopment-program
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2
 
Ch6
Ch6Ch6
Ch6
 
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรมใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
 
System development life cycle sdlc
System development life cycle  sdlcSystem development life cycle  sdlc
System development life cycle sdlc
 
System Development Life Cycle S D L C
System  Development  Life  Cycle   S D L CSystem  Development  Life  Cycle   S D L C
System Development Life Cycle S D L C
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
System Development Life Cycle
System Development  Life  CycleSystem Development  Life  Cycle
System Development Life Cycle
 
Act
ActAct
Act
 

Plus de Komsun See

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของกล้วยไม้
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของกล้วยไม้ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของกล้วยไม้
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของกล้วยไม้Komsun See
 
แนวทางการบริหารจัดการโรงเรียนสู่ความเป็นเลิศ
แนวทางการบริหารจัดการโรงเรียนสู่ความเป็นเลิศแนวทางการบริหารจัดการโรงเรียนสู่ความเป็นเลิศ
แนวทางการบริหารจัดการโรงเรียนสู่ความเป็นเลิศKomsun See
 
ห้องเรียนกลับทาง
ห้องเรียนกลับทางห้องเรียนกลับทาง
ห้องเรียนกลับทางKomsun See
 
แนวทางการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุง
แนวทางการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุงแนวทางการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุง
แนวทางการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุงKomsun See
 
Lab school thungkhananwittaya
Lab school thungkhananwittayaLab school thungkhananwittaya
Lab school thungkhananwittayaKomsun See
 
Borai organizational culture
Borai organizational cultureBorai organizational culture
Borai organizational cultureKomsun See
 
Organization Culture
Organization CultureOrganization Culture
Organization CultureKomsun See
 

Plus de Komsun See (13)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของกล้วยไม้
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของกล้วยไม้ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของกล้วยไม้
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของกล้วยไม้
 
แนวทางการบริหารจัดการโรงเรียนสู่ความเป็นเลิศ
แนวทางการบริหารจัดการโรงเรียนสู่ความเป็นเลิศแนวทางการบริหารจัดการโรงเรียนสู่ความเป็นเลิศ
แนวทางการบริหารจัดการโรงเรียนสู่ความเป็นเลิศ
 
ห้องเรียนกลับทาง
ห้องเรียนกลับทางห้องเรียนกลับทาง
ห้องเรียนกลับทาง
 
แนวทางการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุง
แนวทางการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุงแนวทางการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุง
แนวทางการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุง
 
Lab school thungkhananwittaya
Lab school thungkhananwittayaLab school thungkhananwittaya
Lab school thungkhananwittaya
 
Sar2553
Sar2553Sar2553
Sar2553
 
Operation
OperationOperation
Operation
 
Borai organizational culture
Borai organizational cultureBorai organizational culture
Borai organizational culture
 
Organization Culture
Organization CultureOrganization Culture
Organization Culture
 
Chapter05
Chapter05Chapter05
Chapter05
 
Chapter05
Chapter05Chapter05
Chapter05
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
Chapter 01
Chapter 01Chapter 01
Chapter 01
 

Chapter 02

  • 1. บทที่ 2 วงจรการวิเคราะห์ระบบงาน ในการพัฒนาระบบนั้น ได้มีการกาหนดให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน และกาหนดขึ้นตอนที่เป็นแนวทาง ในนักวิเคราะห์ระบบปฏิบัติงานได้โดยมีข้อบกพร่องน้อยที่สุด เพราะงานการวิเคราะห์ระบบในปัจจุบันมีความ ซับซ้อนของงานมากกว่าสมัยก่อน นักวิเคราะห์ระบบจึงต้องการมาตรฐานในการพัฒนาระบบดังกล่าว จึงได้มี การคิดค้นวงจรการพัฒนาระบบงานขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการของนักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:SA) วงจรการพัฒนาระบบงานสาหรับระบบงาน วงจรการพัฒนาระบบงาน (System Development Life Cycle : SDLC) สาหรับระบบทั่วไปที่ได้มี ทั่วไป การคิดค้นขึ้นมา สามารถแบ่งออกเป็นลาดับขั้นได้ 4 ขั้นตอน คือ 1.การวิเคราะห์ระบบงาน เป็นขึ้นตอนของการศึกษาระบบงานเดิมที่ใช้ในปัจจุบัน (Current System) ปัญหาที่เกิดจากระบบงานเดิม ตลอดจนการศึกษาถึงความต้องการของธุรกิจ (Business Needs and Requirements) พร้อมกับการประเมินเหตุการณ์ต่าง ๆ เพื่อหาทางเลือกที่เหมาะสมมาแก้ปัญหา 2.การออกแบบและวางระบบงาน เป็นขึ้นตอนหลังจากการวิเคราะห์ระบบงานซึ่งเป็นขึ้นตอนที่ นักวิเคราะห์ระบบจะต้องวางโครงสร้างของระบบงาน ในรูปลักษณะทั่ว ๆ ไปและในรูปลักษณะเฉพาะโดยมี การแจกแจงรายละเอียดที่แน่ชัดของแต่ละงาน หรือระบบงานย่อยของระบบที่ได้ออกแบบขึ้นจะถูกส่งต่อไป ให้กับโปรแกรมเมอร์เพื่อจะได้ทาการเขียนโปรแกรมให้เป็นระบบที่ปฏิบัติงานได้จริงในขึ้นตอนต่อไป 3.การนาระบบเข้าสู่ธุรกิจหรือผู้ใช้ เป็นขึ้นตอนที่นาเอาระบบงานมาติดตั้ง (Install) ให้กับผู้ใช้ และ เพื่อให้แน่ใจว่าระบบงานสามารถปฏิบัติงานได้ตรงตามวัตถุประสงค์ระบบงานจะต้องถูกทาการตรวจสอบมา อย่างดี พร้อมกับการฝึกอบรม (Education and Training) ให้ผู้ใช้ระบบสามารถใช้ระบบงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพและถูกต้อง 4.การดาเนินการสนับสนุนภายหลังการติดตั้งระบบงาน เป็นขั้นตอนที่ระบบงานใหม่ได้ถูกนามา ติดตั้งแล้วผู้ใช้ระบบอาจจะยังไม่คุ้นเคยกับการทางานในระบบใหม่นักวิเคราะห์ระบบควรจะให้คาแนะนาอย่าง ต่อเนื่อง เพื่อช่วยเหลือผู้ใช้ระบบในการปฏิบัติงานทั้งนี้รวมถึงความต้องการต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นหรือ เปลี่ยนแปลงไปภายหลังจากระบบได้ถูกติดตั้ง ซึ่งนักจะเกี่ยวข้องกับการบารุงรักษาระบบงาน (System Maintenance) และการปรับปรุงระบบงาน (System Improvement) เมื่อความต้องการเปลี่ยนแปลงไป และระบบงานที่กาลังปฏิบัติอยู่เป็นประจา จาเป็นต้องปรับปรุงใหม่ นักวิเคราะห์ระบบจะต้องกลับไปเริ่มต้นที่ขั้นที่ 1 ใหม่ และจะเป็นเช่นนี้เรื่อย ๆ ไป ถ้าเกิดความเปลี่ยนแปลง ของระบบ
  • 2. วงจรการพัฒนาระบบงานสาหรับระบบ วงจรการพัฒนาระบบงาน สารสนเทศ (System Development Life Cycle : SDLC) ของระบบสารสนเทศ ได้มี การคิดค้นขึ้นมาโดยมีขึ้นตอนที่แตกต่างไปจากวงจรการพัฒนาระบบงานสาหรับระบบงานทั่วไป ตรงที่มี ขั้นตอนในการพัฒนาระบบงานที่ละเอียดว่าถึง 7 ขั้นตอน ซึ่งนักวิเคราะห์ระบบต้องทาความเข้าใจว่าในแต่ละ ขั้นตอนว่าทาอะไรและทาอย่างไรสามารถแบ่งออกเป็นลาดับขั้นตอนดังนี้คือ 1. ค้นหาปัญหา โอกาสและเป้าหมาย 2. ศึกษาความเป็นไปได้ 7. ดาเนินการและประเมินผล 3. วิเคราะห์ความต้องการของระบบ 6. ทดสอบและบารุงรักษาระบบ 4. ออกแบบระบบ 5. พัฒนาซอฟแวร์และจัดทาเอกสาร ภาพที่ 2.1แสดงวงจรกิจกรรมต่าง ๆ ในแต่ละขั้นตอน ตั้งแต่ต้นจนเสร็จเป็นระบบงานที่ใช้ได้ 1. ค้นหาปัญหา โอกาสและเป้าหมาย (Identifying Problems, Opportunityand Objective) 2. ศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) 3. วิเคราะห์ความต้องการของระบบ (Analyzing System Needs) 4. การออกแบบระบบ (Designing the Recommended System) 5. พัฒนาซอฟต์แวร์และจัดทาเอกสาร (Developing and Documenting Software) 6. ทดสอบและบารุงรักษาระบบ (Testing and Maintaining the System) 7. ดาเนินงานและประเมินผล (Implementing and evaluating the System) 1. ค้นหาปัญหา โอกาสและเป้าหมาย (Identifying Problems, Opportunity and Objective) ระบบสารสนเทศจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อผู้บริหารหรือผู้ใช้ตระหนักว่าต้องการระบบสารสนเทศ หรือต้อง แก้ไขระบบเดิม โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1.1นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ ต้องศึกษาระบบโดยละเอียด เพื่อให้เข้าใจถึงปัญหาที่เกิดขึ้นใน องค์กร ตัวอย่างปัญหา เช่น บริษัท ก เปิดสาขาเพิ่มมากขึ้น ระบบเดิมไม่ได้ครอบคลุมถึงการขยายตัวของบริษัท บริษัท ข เก็บข้อมูลผู้ขายได้เพียง 1 ,000 ราย แต่ปัจจุบันระบบนี้มีข้อมูลผู้ขาย 900 ราย และในอนาคตจะมีเกิน 1,000 ราย
  • 3.  ระบบสารสนเทศในองค์กรหลาย ๆ แห่งในปัจจุบัน ที่ใช้มานานแล้วและใช้เพื่อ ติดตามเรื่องการเงินเท่านั้น ไม่ได้มีจุดประสงค์เพื่อให้เป็นสารสนเทศเพื่อตัดสินใจ 1.2พยายามหาโอกาสในการปรับปรุงวิธีการทางานโดยการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ 1.3นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ ต้องมองเป้าหมายให้ชัดเจน เพื่อจะได้รู้ทิศทางของการทาระบบ ให้เป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ เช่น ต้องการแข่งขันกับคู่แข่งในเรื่องการลดต้นทุนในการผลิตสินค้า โดยการ ลดจานวนการสต็อกวัตถุดิบ ดังนั้น นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ จะเห็นถึงปัญหา โอกาส และเป้าหมายใน การนาระบบคอมพิวเตอร์เข้าไปใช้ในการเก็บข้อมูลสต็อกวัตถุดิบ และประมวลผลการสั่งวัตถุดิบ เป็นต้น 2.ศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) 2.1กาหนดว่าปัญหาคืออะไร และตัดสินใจว่าจะพัฒนาสร้างระบบสารสนเทศใหม่หรือการแก้ไขระบบ สารสนเทศเดิมมีความเป็นไปได้หรือไม่ โดยเสียค่าใช้จ่ายและเวลาน้อยที่สุด 2.2นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ ต้องกาหนดให้ได้ว่าการแก้ปัญหานั้น 2.2.1มีความเป็นไปได้ทางเทคนิคหรือไม่ เช่น จานวนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีอยู่เพียงพอ หรือไม่ ซอฟต์แวร์แก้ไขได้หรือไม่ 2.2.2มีความเป็นไปได้ทางบุคลากรหรือไม่ เช่น มีบุคคลที่เหมาะสมที่จะพัฒนาและติดตั้ง ระบบหรือไม่ ผู้ใช้มีความคิดเห็นอย่างไรกับการเปลี่ยนแปลง 2.2.3มีความเป็นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์หรือไม่ เช่น มีเงินลงทุนหรือไม่ค่าใช้จ่ายในการ วิเคราะห์และออกแบบ ค่าใช้จ่ายในด้านเวลาที่ต้องใช้ในการพัฒนาระบบ ดังนั้นในการศึกษาความเป็นไปได้นั้นสามารถสรุปได้ดังต่อไปนี้ คือ หน้าที่ : กาหนดปัญหาและศึกษาว่าเป็นไปได้หรือไม่ที่จะเปลี่ยนแปลงระบบ ผลลัพธ์: รายงานความเป็นไปได้ เครื่องมือ: เก็บรวบรวมข้อมูลของระบบและคาดคะเนความต้องการของระบบ บุคลากรและหน้าที่รับผิดชอบ: นักวิเคราะห์และออกแบบระบบต้องเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งหมดที่จาเป็น นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ ต้องคาดคะเนความต้องการของระบบและแนวทางแก้ไข ปัญหา นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ กาหนดความต้องการที่แน่ชัด เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ระบบ โดยที่ผู้บริหารจะตัดสินใจว่าจะดาเนินโครงการต่อไปหรือไม่หรือยกเลิกโครงการ 3.วิเคราะห์ความต้องการของระบบ (Analyzing System Needs) 3.1เริ่มตั้งแต่ศึกษาการทางานของธุรกิจเดิมว่าทางานอย่างไร 3.2กาหนดความต้องการของระบบใหม่ 3.3เครื่องมือ : Data Dictionary, DFD, Process Specification, Data Model, P r o t o t y p e 3.4บุคลากรและหน้าที่ : ผู้ใช้ต้องให้ความร่วมมือ 3.5นักวิเคราะห์และออกแบบระบบศึกษาเอกสารที่มีอยู่ และศึกษาระบบเดิมเพื่อให้เข้าใจ ขั้นตอนการทางานของระบบ 3.6นักวิเคราะห์และออกแบบระบบเตรียมรายงานความต้องการของระบบใหม่ 3.7นักวิเคราะห์และออกแบบระบบเขียนแผนภาพการทางาน (DFD) ของระบบเดิมและระบบใหม่ 3.8นักวิเคราะห์และออกแบบระบบสร้าง Prototype ขึ้นมาก่อน
  • 4. 4.ออกแบบระบบ (Designing the Systems) 4.1ออกแบบระบบใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้และผู้บริหาร 4.2บุคลากรหน้าที่ : 4.2.1นักวิเคราะห์และออกแบบระบบตัดสินใจเลือกฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ 4.2.2นักวิเคราะห์และออกแบบระบบออกแบบข้อมูล เข้ารายงานการแสดงผลบนหน้าจอ ออกแบบฐานข้อมูล 4.2.3นักวิเคราะห์และออกแบบระบบกาหนดจานวนบุคลากรในระบบ 5.พัฒนาซอฟต์แวร์และจัดทาเอกสาร (Developing and Documenting Software) 5.1เขียนโปรแกรม จัดทาคู่มือการใช้โปรแกรม และฝึกอบรมผู้ใช้ที่เกี่ยวข้องในระบบ 5.2บุคลากรและหน้าที่ : 5.2.1นักวิเคราะห์และออกแบบระบบเตรียมสถานที่และการติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ 5.2.2นักวิเคราะห์และออกแบบระบบวางแผนและดูแลการเขียนโปรแกรม 5.2.3โปรแกรมเมอร์เขียนโปรแกรม 5.2.4นักวิเคราะห์และออกแบบระบบดูแลการเขียนคู่มือการใช้โปรแกรมและการฝึกอบรม 6.ทดสอบและบารุงรักษาระบบ (Testing and Maintaining the System) 6.1 นักวิเคราะห์และออกแบบระบบและทีมงานทดสอบโปรแกรม 6.2ผู้ใช้ตรวจสอบว่าโปรแกรมทางานตามที่ต้องการ 6.3ถ้าเกิดข้อผิดพลาดของโปรแกรม ให้ปรับปรุงแก้ไข 6.4เมื่อทดสอบโปรแกรมแล้ว โปรแกรมไม่เป็นไปตามความต้องการ อาจต้องแก้ไขปรับปรุงใหม่ 6.5การบารุงรักษา ส่วนใหญ่เป็นการแก้ไขโปรแกรมหลังจากใช้งานแล้ว เนื่องจาก  ปัญหาในโปรแกรม(Bug) มี รกิจเกิดการเปลี่ยนแปลงไป เช่น ธุรกิจขยายตัว ธุรกิจสร้างสินค้าตัวใหม่ความ ธุ ต้องการของระบบก็เพิ่มขึ้น รายงานเพิ่มขึ้น  การเปลี่ยนแปลงทางฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์  ความต้องการผู้ใช้มีเพิ่มขึ้น40-60 % ของค่าใช้จ่ายในการพัฒนาระบบจะใช้ในการ บารุงรักษาระบบ 7.ดาเนินงานและประเมิน (Implementing and evaluating the System) 7.1ติดตั้งระบบให้พร้อม 7.2นาระบบใหม่มาใช้แทนระบบเดิม 7.3ใช้ระบบใหม่ควบคู่กับระบบเดิมสักระยะหนึ่ง แล้วดูผลลัพธ์ว่าตรงกันหรือไม่ถ้าใช้งานดี ก็เลิกใช้ ระบบเดิม และใช้ระบบใหม่ 7.4นักวิเคราะห์และออกแบบระบบทาการประเมินผล เพื่อให้ทราบถึงความพอใจของผู้ใช้ระบบ หรือ สิ่งที่ต้องแก้ไขปรับปรุง หรือปัญหาที่พบ
  • 5. หลักความสาเร็จของการพัฒนาระบบงาน หลักการทาให้การพัฒนาระบบงานประสบความสาเร็จ ซึ่งนักวิเคราะห์ระบบควรรู้ถึงหลักการเหล่านี้ ด้วย หลักความสาเร็จของการพัฒนาระบบ ได้แก่ 1.ระบบเป็นของผู้ใช้ นักวิเคราะห์ระบบควรระลึกเอาไว้เสมอว่า ระบบเป็นของผู้ใช้ ซึ่งจะเป็นผู้ที่นาเอาระบบและผลงานที่ ได้ทาการออกแบบไว้ไปใช้และก่อให้เกิดประโยชน์ต่อระบบธุรกิจของเข่า ผู้ใช้ระบบจึงมีส่วนสาคัญที่จะผลักดัน ให้การพัฒนาระบบงานเป็นไปอย่างถูกต้อง และเพื่อตอบสนองกับความต้องการที่แท้จริง นักวิเคราะห์ระบบ จะต้องนาเอาความเห็นของผู้ใช้ระบบมาเกี่ยวข้องในทุกขั้นตอนของการพัฒนาระบบ ในวงจรการพัฒนา ระบบงานจะต้องมีบทบาทของผู้ใช้ระบบอยู่เสมอทุกขั้นตอน การมีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบของผู้ใช้ระบบ จะทาให้ผู้ใช้ระบบรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของระบบและจะลดแนวความคิดที่ว่าผู้ใช้ระบบถูกยัดเยียดงานใหม่ที่ พัฒนาขึ้นโดยอัตโนมัติ แรงต่อต้านของระบบงานก็จะลดลง 2.ทาการจัดตั้งและแบ่งกลุ่มของระบบออกเป็นกลุ่มงานย่อย กลุ่มงานย่อย ๆ ซึ่งแบ่งออกจากระบบใหญ่ ตามวงจรการพัฒนาระบบงาน ได้แบ่งขั้นตอนของการ ทางานเป็นกลุ่มย่อย 4 ขั้นตอน ดังนี้  ้นตอนการวิเคราะห์ระบบงาน(System Analysis) ขั  ้นตอนการออกแบบและวางระบบงาน(System Analysis) ขั  ้นตอนการนาระบบงานเข้าสู่ธุรกิจเพื่อใช้ปฏิบัติงานจริง(System Implementation) ขั  ้นตอนการติดตามและดาเนินการภายหลังการติดตั้งระบบงาน(System Support) ขั สาเหตุที่ต้องมีการจัดแบ่งกลุ่มออกเป็นกลุ่มย่อย ๆ นั้น เพื่อที่จะให้ผู้บริหารโครงการหรือผู้พัฒนา ระบบงานสามารถควบคุมความคืบหน้าของการพัฒนาระบบได้อย่างใกล้ชิด และสามารถที่จะกาหนดและ ควบคุมระยะเวลาที่ใช้ในการพัฒนาระบบได้ดีขึ้นอีกด้วย 3.ขั้นตอนการพัฒนาระบบงานไม่ใช่แบบอนุกรม (Sequential Process) ขั้นตอนในการพัฒนาระบบงานที่ได้กล่าวมา2 ข้อแรกนั้น สามารถจะทาซ้อนกันได้ในลักษณะที่ไม่ จาเป็นจะต้องรอให้ขั้นตอนแรกทางานเสร็จก่อนจึงจะทางานในขั้นตอนต่อไป ทั้งนี้จะต้องขึ้นอยู่กับความ เหมาะสมด้วย โดยบางขั้นตอน จะต้องรอให้การทางานเสร็จ สมบูรณ์ก่อนจึงจะสามารถทางานในขั้นต่อไปได้ 4.ระบบงานข้อมูลถือเป็นการลงทุนอย่างหนึ่ง การพัฒนาระบบงาน ถือเป็นการลงทุนอย่างหนึ่ง ซึ่งไม่แตกต่างจากการลงทุนซื้อสินค้ามาทาการขาย ต่อให้ผู้บริโภค สิ่งที่นักวิเคราะห์ระบบควรจะต้องคานึงถึง คือ ทางเลือกต่าง ๆ ที่จะนาเงินไปลงทุน ซึ่งควรคิด ทางเลือกของการพัฒนาระบบงานในหลาย ๆ งานและพิจารณาถึงความเป็นไปได้ต่าง ๆ รวมถึงการ เปรียบเทียบต้นทุนและผลกาไรที่จะเกิดจากระบบงาน ว่าระบบงานนั้น ๆ คุ้มค่าที่จะทาการลงทุนหรือไม่ 5.อย่ากลัวที่จะต้องยกเลิก ทุกขั้นตอนของวงจรการพัฒนาระบบงานจะต้องมีการศึกษาถึงความเป็นไปได้ (Feasibility Study) ของระบบงาน นักวิเคราะห์ระบบจะมีโอกาสเสมอที่จะตัดสินใจว่าจะให้ระบบงานนั้นดาเนินต่อไปหรือยกเลิก ระบบที่ได้มีการพัฒนาขึ้น ความรู้สึกของนักวิเคราะห์ระบบที่จะต้องถูกยกเลิกงานที่ทามาตั้งแต่ต้น ซึ่งไม่ใช่ เรื่องง่ายที่จะศึกษาวิเคราะห์ออกแบบจนออกมาเป็นระบบงานใดงานหนึ่งคงจะเป็นความรู้สึกที่ไม่ดีนัก และไม่
  • 6. มีนักวิเคราะห์ระบบคนใดที่อยากจะเจอกับเหตุการณ์แบบนี้ แต่เมื่อการพัฒนาระบบงานไม่สามารถจะทาให้ เป็นไปตามความต้องการของผู้ใช้ระบบได้ การยกเลิกโครงการหรือระบบงานก็เป็นสิ่งที่จาเป็น ข้อเสียต่อความกลัวที่จะต้องยกเลิกระบบงานคือ  ดท้ายแล้วระบบงานนั้นก็จะต้องทาการยกเลิกอยู่ดี เมื่อพยายามจะ หลีกเลี่ยงการยกเลิก สุ ระบบงาน  นทุรังให้ระบบงานที่ควรจะยกเลิกให้ทางานต่อไป จะต้องใช้เงินเป็นจานวนมากไปลงทุน การดั เพิ่มในระบบที่ไม่ควรจะลงทุน  เวลาและจานวนคนเพิ่มมากขึ้น ทาให้งบประมาณบานปลาย จนไม่สามารถที่จะควบคุมได้ ใช้ 6.ทุกขั้นตอนของการพัฒนาระบบงานต้องมีการจัดทาเอกสารเพื่อใช้อ้างอิงเสมอ การขาดการทาเอกสารประกอบหรือเอกสารอ้างอิงมักจะส่งผลให้เกิดข้อผิดพลาดต่อระบบงานและต่อ นักวิเคราะห์ระบบ เพราะการจัดทาเอกสารมักจะถูกมองข้ามไป เนื่องจากเห็นว่าการจัดทาเอกสารเป็นสิ่งที่ เสียเวลา แม้กระทั่งในส่วนของโปรแกรมเอง โปรแกรมเมอร์มักจะไม่นิยมเขียนคาอธิบายการทางานเล็ก ๆ น้อย ๆ ว่าโปรแกรมส่วนนั้น ๆ ทาอะไร เพื่ออะไร ทั้งนี้เป็นการยากลาบากสาหรับการกลับมาแก้ไขโปรแกรม ในขั้นตอนต่าง ๆ ซึ่งมีผลทาให้การบารุงรักษาระบบเป็นการยากและเสียเวลา บางครั้งอาจจะไม่สามารถแก้ไข ระบบได้ถึงขนาดที่จะต้องเริ่มการศึกษาวิเคราะห์และออกแบบระบบกันใหม่ การจัดทาเอกสารในที่นี้ หมาย รวมถึงการบันทึกเหตุการณ์ต่าง ๆ และแนวความคิด รวมทั้งข้อสรุปที่เกิดขึ้นในแต่ละขั้นตอนของการพัฒนา ระบบงานด้วย
  • 7. คาศัพท์ บทที่ 2 วงจรการวิเคราะห์ระบบงาน คาศัพท์ ความหมาย System Development Life Cuycle:SDLC วงจรการพัฒนาระบบงาน Business Needs and Requirements ความต้องการของธุรกิจ System Maintenance การบารุงรักษาระบบงาน System Improvement การปรับปรุงระบบงาน Identifying Problems ปัญหา Opportunity โอกาส Objective เป้าหมาย Feasibility Study ศึกษาความเป็นไปได้ Analyzing System Needs วิเคราะห์ความต้องการของระบบ Developing and Documenting Software การพัฒนาซอฟต์แวร์และการจัดทาเอกสาร Testing and Maintaining the System การทดสอบและบารุงรักษาระบบ Bug ปัญหาในโปรแกรม Implementing and Evaluating the System การดาเนินงานและประเมินผล System Analysis ขั้นตอนการวิเคราะห์ระบบงาน System Implementation ขั้นตอนการนาระบบงานมาใช้จริง System Support ขั้นตอนการติดตามภายหลังการติดตั้งระบบ Sequential Process ขั้นตอนการพัฒนาระบบไม่ใช่แบบอนุกรม
  • 8. แบบฝึกหัด บทที่ 2 วงจรการวิเคราะห์ระบบงาน ตอนที1 อธิบาย (หมายถึง การให้รายละเอียดเพิ่มเติม ขยายความ ถ้ามีตัวอย่างให้ยกตัวอย่างประกอบ) ่ 1. วงจรการพัฒนาระบบงานสาหรับระบบงานทั่วไปมีกี่ขั้นตอน อะไรบ้าง 2. อธิบายการออกแบบระบบงานสาหรับวงจรการพัฒนาระบบงานทั่วไป 3. อธิบายความแตกต่างระหว่างวงจรการพัฒนาระบบงานสาหรับระบบงานทั่วไปกับวงจรการพัฒนา ระบบงานสาหรับระบบสารสนเทศ 4. เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการวิเคราะห์ระบบมีอะไรบ้าง จงอธิบาย 5. อธิบายขั้นตอนการพัฒนาระบบงานที่ไม่ใช่แบบอนุกรม ตอนที่ 2 อธิบายคาศัพท์ (หมายถึง การแปลคาศัพท์ ขยายความ อธิบายเพิ่มเติม ถ้ามีตัวอย่างให้ ยกตัวอย่างประกอบ) 1. System Development Life Cycle 2. System Improvement 3. Objective 4. Feasibility Study 5. System Support 6. Bug 7. Identifying Problems 8. System Analysis 9. System Implementation 10. Install