SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  57
1  Decamber 2010
 
แสง สี และการมองเห็น แสง   การแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าในช่วงความยาวคลื่นที่สายตามนุษย์มองเห็น  รวมถึงการแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าในช่วงความยาวคลื่นตั้งแต่  รังสีอัลตร้าไวโอเลต ,  รังสีเอ๊กซ์  ที่มีความยาวคลื่นสั้นกว่า  หรือ คลื่นวิทยุ , คลื่นโทรทัศน์และพลังงานไฟฟ้า  ที่มีช่วงความยาวคลื่นยาวกว่า  ความเร็วของแสงอยู่ที่  300,000  กิโลเมตรต่อวินาที
แสง สี และการมองเห็น สีและความยาวคลื่น ความยาวคลื่นที่แตกต่างกันนั้น จะถูกตรวจจับได้ด้วยดวงตาของมนุษย์ ซึ่งจะแปลผลด้วยสมองของมนุษย์ให้เป็นสีต่างๆ ในช่วง  สีแดง ซึ่งมีความยาวคลื่นยาวสุด  ( ความถี่ต่ำสุด )  ที่มนุษย์มองเห็นได้ ถึง สีม่วง  ซึ่งมีความยาวคลื่นสั้นสุด  ( ความถี่สูงสุด )  ที่มนุษย์มองเห็นได้ ความถี่ที่อยู่ในช่วงนี้ จะมี สีส้ม ,  สีเหลือง ,  สีเขียว ,  สีน้ำเงิน  และ  สีคราม
แสง สี และการมองเห็น แสงมีคุณสมบัติทวิภาวะ  1.  แสงเป็นคลื่น  :  แสงเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 2.  แสงเป็นอนุภาค  :  แสงเป็นก้อนพลังงานเรียกอนุภาคแสงว่าโฟตอน
แสง สี และการมองเห็น พฤติกรรมต่าง ๆ ของแสง  1.  การสะท้อน  ( Reflection)  เป็นพฤติกรรมที่แสงตกกระทบบนตัวกลางและสะท้อนตัวออก ถ้าตัวกลางเป็นวัตถุผิวเรียบขัดมัน จะทำให้มุมของแสงที่ตกกระทบจะมีค่าเท่ากับมุมสะท้อน
แสง สี และการมองเห็น 3.  การกระจาย  ( Diffusion)  เป็นพฤติกรรมที่แสงจะกระจายตัวออกเมื่อกระทบถูกผิวของตัวกลาง เราใช้ประโยชน์จากการกระจายตัวของลำแสง เมื่อกระทบตัวกลางนี้ เช่น ใช้แผ่นพลาสติกใสปิดดวงโคม เพื่อลดความจ้าจากหลอดไฟ
แสง สี และการมองเห็น พฤติกรรมต่าง ๆ ของแสง  4.  การดูดกลืน  ( Absorbtion)  เป็นพฤติกรรมที่แสงถูกดูดกลืนหลายเข้าไปในตัวกลาง โดยทั่วไปเมื่อพลังงานแสงถูกดูดกลืนหายเข้าไปในวัตถุใด ๆ มันจะเปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อน
แสง สี และการมองเห็น พฤติกรรมต่าง ๆ ของแสง  5.  การทะลุผ่าน  ( Transmission)  เป็นพฤติกรรมที่แสงพุ่งชนตัวกลางแล้วทะลุผ่านมันออกไปอีกด้านหนึ่ง  6
แสง สี และการมองเห็น พฤติกรรมต่าง ๆ ของแสง  6.  การส่องสว่าง  ( Illumination)  ปริมาณแห่งการส่องสว่างบนพื้นผิวใด ๆ จะแปรตามโดยตรงกับความเข้มแห่งการส่องสว่าง  ระหว่างพื้นผิวนั้นกับแหล่งกำเนิดแสง
แสง สี และการมองเห็น พฤติกรรมต่าง ๆ ของแสง  7.  ความจ้า  ( Brighten)  ความจ้าเป็นผลซึ่งเกิดจากการที่แสงถูกสะท้อนออกจากผิววัตถุ หรือพุ่งออกจากแหล่งกำเนิดแสงเข้าสู่ตา
แสง สี และการมองเห็น หน่วยที่ใช้ในการวัดแสง ปริมาณ หน่วย  ตัวย่อ หมายเหตุ พลังงานของการส่องสว่าง จูล  ( joule) J ฟลักซ์ส่องสว่าง  ( Luminous flux) ลูเมน  ( lumen)  หรือ แคนเดลา  ·  สเตอเรเดียน  ( candela · steradian) lm อาจเรียกว่า กำลังของความสว่าง  ( Luminous power) ความเข้มของการส่องสว่าง  ( Luminous intensity) แคนเดลา  ( candela) cd ความเข้มของความสว่าง  ( Luminance) แคนเดลา / ตารางเมตร  ( candela/square metre) cd/m 2 อาจเรียกว่า ความหนาแน่นของความเข้มการส่องสว่าง ความสว่าง  ( Illuminance) ลักซ์  ( lux)  หรือ ลูเมน / ตารางเมตร lx ประสิทธิภาพการส่องสว่าง  ( Luminous efficiency) ลูเมน ต่อ วัตต์  ( lumens per watt) lm/W
แสง สี และการมองเห็น การมองเห็น เป็นระบบรับความรู้สึกที่ประกอบด้วย ลูกตา ประสาทตาและสมอง  ( ส่วน  Visual Cortex)  โดยแสงสะท้อนจากวัตถุผ่านตาดำ ไปยังแก้วตา จากนั้นจะหักเหไปตกกระทบบริเวณจอตา  ( Retina)   เซลล์ประสาทบริเวณจอตาจะปรับสัญญาณที่ได้รับส่งไปทางประสาทตา เพื่อให้สมองได้รับทราบและแปลสิ่งที่มองเห็น
แสง สี และการมองเห็น การมองเห็น กระบวนการทางเคมีเกิดขึ้นที่ใบและลำต้น คลอโรฟิลล์  ( chlorophyll)  ที่ใบและลำต้น จะดูดกลืนแสงสีแดงไว้ แสงที่เหลือส่วนใหญ่ คือ แสงสีเขียว ซึ่งจะถูกสะท้อนออกไป ทำให้เรามองเห็นใบเป็นสีเขียว
แสง สี และการมองเห็น สำหรับงานพิมพ์  จะมี  4  สี คือ  สี บานเย็น ( Magent a- สีออกไปทางแดง )  สีเหลือง  สีฟ้า ( Cyan)  และ สีดำ  และเพื่อให้ภาพพิมพ์เหมือนธรรมชาติซึ่งจะมีการไล่ระดับสีที่แตกต่างกัน จึงมีการพิมพ์สีในลักษณะเป็นจุดๆ
แสง สี และการมองเห็น แหล่งกำเนิดแสง 1 .  แสงธรรมชาติ  (Natural Light)   แสงที่ได้จากพลังงานตามธรรมชาติ เช่น ดวงอาทิตย์
แสง สี และการมองเห็น แหล่งกำเนิดแสง 1 .  แสงประดิษฐ์  (Artificial Light)   แสงที่ได้จากการที่มนุษย์ประดิษฐ์คิดค้นขึ้นโดยอาศัยธรรมชาติและเทคโนโลยี่ เช่น แสงจากดวงโคมต่างๆ
แสง สี และการมองเห็น การกำเนิดแสงสามารถแบ่งได้ออกเป็น  2  ลักษณะคือ  1.  แบบอินแคนเดสเซนต์  (  INCANDESCENCE)  การกำเนิดแสงที่เกิดจากการเผาหรือการให้พลังงานความร้อน เช่น การเผาแท่งเหล็กที่ความร้อนสูงมากๆ
แสง สี และการมองเห็น การกำเนิดแสงสามารถแบ่งได้ออกเป็น  2  ลักษณะคือ  2.  แบบลูมิเนสเซนต์  (  LUMINESCENCE )   แสงที่ไม่ได้เกิดจากการเปลี่ยนพลังงานความร้อนให้เป็นพลังงานแสง เช่น แสงจากตัวแมลง , แสงที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมี ,  รวมไปถึงแสงที่เกิดจากการปล่อยประจุของก๊าซ
 
แสง สี และการมองเห็น ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
แสง สี และการมองเห็น ทฤษฎีสีแสง  ( Light Color) แสงอาทิตย์มีสีต่าง ๆ รวมกันอยู่ เมื่อให้แสงอาทิตย์ส่องผ่านแท่งแก้ว รูปสามเหลี่ยม  ( Prism)  แสงที่ผ่านออกมาอีกด้านหนึ่งจะมี  7  สี คือ  ม่วง  คราม  น้ำเงิน  เขียว   เหลือง   แสด   แดง  และถ้านำสีทั้ง  7  รวมกันเป็นสีขาว แสงในธรรมชาตินั้นมีอยู่ถึง  7  สี แต่รวมกันอยู่ เรียกว่า   Spectrum
แสง สี และการมองเห็น ทฤษฎีสีแสง  ( Light Color) แม่สีบวก  ( Additive Color)  หรือแม่สีวิทยาศาสตร์ มี  3  สี คือ 1.  สีแดง  ( Red, R) 2.  สีเขียว  ( Green, G) 3.  น้ำเงิน  ( Blue, B)
แสง สี และการมองเห็น การผสมสีแบบบวก  ( Additive Color Mixing) การผสมของแสงสีขาวด้วยลำแสงที่มีสีต่าง ๆ ตามความยาวคลื่นแสง ความยาวคลื่นแสงพื้นฐานได้แก่  สีแดง  เขียว  และ น้ำเงิน  เมื่อมีการซ้อนทับกัน ก็จะก่อให้เกิดการบวก และรวมตัวกันของความยาวคลื่นแสง”แสงหรือแม่สีทั้งสามนี้ เป็นสีขั้นต้น เมื่อผสมเข้าด้วยกันเป็นคู่ จะได้สีขั้นที่สอง
 
ชนิดของหลอดไฟ  1.  หลอดไส้  ราคาถูก สีของแสงดี ติดตั้งง่าย ให้แสงสว่างทันทีเมื่อเปิด ประสิทธิภาพต่ำมาก อายุ การใช้งานสั้น ไฟฟ้าที่ป้อนให้หลอดจะถูกเปลี่ยนเป็นความร้อนกว่าร้อยละ  90  จึงไม่ประหยัด พลังงาน แต่เหมาะสมกับงานประเภทที่ต้องการหรี่แสง เช่น ห้องจัดเลี้ยงตามโรงแรม หรือใช้ กับโคมระย้าที่ประกอบด้วยผลึกแก้วเพื่อเน้นความสวยงาม
ชนิดของหลอดไฟ  2.  หลอดฟลูออเรสเซนต์  เป็นหลอดที่มีประสิทธิภาพแสงและอายุการใช้งานมากกว่าหลอดไส้ หลอดฟลูออเรสเซนต์แท่งยาวที่ใช้แพร่หลายมีขนาด  36  วัตต์ แต่ก็ยังมีหลอดไฟประสิทธิภาพ สูง  ( หลอดซุปเปอร์ลักซ์ )  ซึ่งมีราคาต่อหลอดแพงกว่าหลอดไฟ  36  วัตต์ธรรมดา แต่ให้ปริมาณ แสงมากกว่าร้อยละ  20  ในขนาดการใช้ไฟฟ้าที่เท่ากัน
ชนิดของหลอดไฟ  3.  หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์  ( CFL)  หลอดตะเกียบชนิดที่ให้สีของแสงออกมาเทียบ เท่าร้อยละ  85  ของหลอดไส้  ( ให้สีของแสงดีที่สุด )  สำหรับใช้แทนหลอดไส้เพื่อช่วยประหยัด ไฟ และอายุการใช้งานนานกว่า  8  เท่าของหลอดไส้ มี  2  ประเภท คือ แบบขั้วเกลียวและแบบ ขั้วเสียบ
ชนิดของหลอดไฟ  4.  หลอดแสงจันทร์  ประสิทธิภาพแสงต่ำกว่าหลอดฟลูออเรสเซนต์เล็กน้อยแต่อายุการใช้งาน นานกว่าเหมาะสมเป็นไฟสนามตามสวนสาธารณะ แต่เมื่อใช้ไปนานๆคุณภาพ แสงจะลดลง
ชนิดของหลอดไฟ  5.  หลอดเมทัลฮาไลด์  ประสิทธิภาพสูง คุณภาพแสงดีแต่ต้องใช้เวลาอุ่นหลอดเมื่อเปิด เหมาะ สำหรับการใช้ส่องสินค้าในห้างสรรพสินค้า
ชนิดของหลอดไฟ  6.  หลอดโซเดียมความดันสูง  ประสิทธิภาพสูง แต่คุณภาพแสงไม่ดี มักใช้กับไฟถนน คลัง สินค้า ไฟส่องบริเวณที่เปลี่ยนหลอดยาก พื้นที่นอกอาคาร
 
พ . ร . บ . พื้นที่สำนักงาน ,  โรงแรม ,  สถานศึกษา และ โรงพยาบาล / สถานพักฟื้น ค่ากำลังไฟฟ้าแสงสว่างสูงสุด  ( วัตต์ต่อตารางเมตรของพื้นที่ใช้งาน )  ไม่เกิน  16  W/M2   หรือกรณีพื้นที่ร้านขายของ ,  ซูเปอร์มาร์เก็ต และศูนย์การค้า ไม่เกิน  23  W/M2   ทั้งนี้ให้สามารถคิดคำนวณพื้นที่ทั้งอาคารเฉลี่ยได้ โดยไม่รวมพื้นที่จอดรถ แต่รวมถึงไฟฟ้าแสงสว่างทั่วไปที่ใช้ในการโฆษณาเผยแพร่สินค้า ยกเว้น แสงสว่างที่ใช้ในตู้กระจกแสดงสินค้าหน้าร้าน
ประเภทของโคมไฟ   1.  โคมไฟส่องสว่างทั่วไป  (  AMBIENT LIGHT )  นิยมใช้เป็นโคมไฟดาวน์ไลท์เป็นส่วนใหญ่ โดยทั่วไปจะใช้ในห้องรับแขกหรือห้องนั่งเล่น จะติดตั้งโคมไฟในระยะห่างกันประมาณไม่เกิน  2.40   เมตร และต้องเป็นชนิดที่ให้แสงสว่างสม่ำเสมอ
ประเภทของโคมไฟ 2.  โคมไฟชนิดตั้งพื้น ( TORCHIERE)  เป็นโคมไฟที่ให้แสงนุ่มนวลสม่ำเสมอ เหมาะสมกับพื้นที่ที่จะให้ความสว่างไม่เกิน  35  ตารางเมตร
ประเภทของโคมไฟ 3.  โคมตั้งโต๊ะชนิดตกแต่ง  (  DECORATIVE TABLE LAMP )  โดยส่วนใหญ่มักจะนำมาตกแต่ง มากกว่าที่จะใช้งานให้แสงสว่างจึงค่อนข้างมีรูปแบบหลากหลาย
ประเภทของโคมไฟ 4.  โคมไฟห้อย  (  CHANDELIER )  ใช้ส่องเฉพาะเจาะจงบนพื้นที่เพื่อสร้างให้เกิดความรู้สึกเป็นที่รวมกลุ่ม
ประเภทของโคมไฟ 5.  โคมไฟโต๊ะทำงาน (  TASK LIGTH  )   เป็นโคมไฟที่ถูกออกแบบมาเพื่อการใช้งานบนโต๊ะทำงาน จึงต้องสามารถปรับมุมหรือทิศทางได้ง่าย และสามารถเคลื่อนย้ายได้ง่ายช่วยลดแสงสะท้อนจากโคมไฟชนิดอื่น ๆ ภายในห้องได้อีกด้วย
·  ระบบการให้แสงสว่างหลัก  ระบบแสงสว่างหลักที่มีความส่องสว่าง เพียงพอต่อการใช้งานในแต่ละพื้นที่นั้น ๆ  ·  ระบบการให้แสงสว่างรอง  ระบบมีแสงสว่างให้เกิดความสวยงาม หรือเน้นเพื่อให้เกิดความสนใจ สบายตา และ อารมณ์  ·  การให้แสงสว่างที่ดี  มีทั้งระบบการแสงสว่างหลักและแสงสว่างรอง
การส่องสว่างภายในบ้านอยู่อาศัย อพารต์เมนต์ และ โรงแรม ·  หลอดที่ให้แสงสีเหลืองดูน่าอบอุ่น มีค่าความส่องสว่างพื้นที่ทั่วไป  100 - 200  ลักซ์
การส่องสว่างภายในบ้านอยู่อาศัย อพารต์เมนต์ และ โรงแรม ·  ไม่ควรใช้ไฟเกินกว่า  80 %  ของอัตราสวิตช์หรี่ไฟ  ·  มีโคมไฟชนิดอื่นช่วยให้แสงหลัก  เพื่อลดเงาที่เกิดเนื่องจากโคมหลัก  ·  โคมระย้าใช้  20 -25  วัตต์ / ตารางเมตร / 100  ลักซ์ และควรติดตั้งสวิตช์ไฟหรี่ด้วย
การส่องสว่างภายในบ้านอยู่อาศัย อพารต์เมนต์ และ โรงแรม ·  โคมระย้าใช้ขนาดประมาณ  1/12  ของเส้นทะแยงมุมห้อง  ·  ช่องเปิดไฟหรืบควรมีขนาดอย่างน้อย  1/10  ของขนาดเบ้า  ·  การให้แสงสว่างจากหรืบเพื่อส่องสว่างพืนที่ควรมีเพดานสีขาวหรือสีอ่อน
การส่องสว่างในสำนักงาน ·  สำนักงานทั่วไปมักใช้โคมไฟตัวสะท้อนแสงอะลูมิเนียม ห้องหรือบริเวณสำคัญที่ไม่ต้องการแสงบาดตาก็ควรใช้โคมแบบมีตัวกรองแสงขาวขุ่นหรือแบบเกล็ดแก้ว (  Prismatic Diffuser)
ความส่องสว่าง ·  การใช้หลอดปรอทความดันสูงอาจมีปัญหาในเรื่องแสงสีน้ำเงินที่ ออกมามากในช่วงติดตั้งเริ่มแรก แต่จะจางลงเมื่อติดตั้งไปหลายเดือนแล้ว  ·  การใช้หลอดโซเดียมในโรงงานอุตสาหกรรมใช้ในกรณีไม่พิถีพิถันเรื่องสี
ความส่องสว่างในโรงพยาบาล ·  หลอดที่เหมาะสมสำหรับการตรวจรักษาโรคทั่วไปคือ  หลอดคูลไวท์ ·  ควรใช้หลอดเหมือนกันทั้งหมด  เพื่อไม่ให้หลอกตา
ความส่องสว่างในโรงพยาบาล ·  โคมที่เหมาะสำหรับงานโรงพยาบาลในบริเวณที่มีคนไข้ คือโคมที่มีแผ่นกรองแสงขาวขุ่นหรือเกล็ดแก้ว แต่มีปัญหาเรื่องประสิทธิภาพของโคมที่ใช้ไฟฟ้ามาก  ·  แสงสว่างในห้องผ่าตัดควรสว่างมากเพื่อไม่ให้ต่างมากจากไฟแสงสว่างผ่าตัด
ความส่องสว่างในพิพิธภัณฑ์ ·  วัตถุที่ไวต่อ  UV  ไม่ควรให้แสงมากกว่า  120000  ลักซ์ - ชม ./ ปี  ·  วัตถุที่ไม่ไวต่อ  UV  ไม่ควรให้แสงมากกว่า  180000  ลักซ์ - ชม ./ ปี
ความส่องสว่างในร้านค้า และ ศูนย์การค้า ·  หลอดให้แสงทั่วไปที่เหมาะกับศูนย์การค้าควรให้แสงที่ส่องทุกสีเด่น  ·  บริเวณที่ต้องการให้เห็นวัสดุสีขาว เช่น เครื่องเขียนควรใช้หลอดแสงสีขาว  ·  การส่องเน้นสินค้าไม่ควรใช้แสงสว่างสมำเสมอ
 
 
แสงอูลตร้าไวโอเล็ต
Optical  Illusion
Stereo  picture
Stereo  picture
Stereo  picture
Stereo  picture
1  December 2010

Contenu connexe

Similaire à System lighting

เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าSiwush Pormchai
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าSiwush Pormchai
 
อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403
อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403
อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403Theem N. Veokeki
 
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305คณากรณ์ อุปปิง
 
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305คณากรณ์ อุปปิง
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า0887946598532
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า0834799610
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า0887946598532
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า0286983445
 
เครื่องใช..
เครื่องใช..เครื่องใช..
เครื่องใช..Boyz Bill
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..Powergift_vip
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..Powergift_vip
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..Powergift_vip
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วjaturong2012
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วjaturong20155
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าwattanakub00
 
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงnang_phy29
 
งานว ทย 2
งานว ทย 2งานว ทย 2
งานว ทย 2thanawan302
 
งานว ทย 2
งานว ทย 2งานว ทย 2
งานว ทย 2thanawan302
 

Similaire à System lighting (20)

เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403
อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403
อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403
 
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
 
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช..
เครื่องใช..เครื่องใช..
เครื่องใช..
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
 
งานว ทย 2
งานว ทย 2งานว ทย 2
งานว ทย 2
 
งานว ทย 2
งานว ทย 2งานว ทย 2
งานว ทย 2
 

Plus de Kongrat Suntornrojpattana (20)

Sanitary ware
Sanitary wareSanitary ware
Sanitary ware
 
Drainage
DrainageDrainage
Drainage
 
Plumbling
PlumblingPlumbling
Plumbling
 
Drawing
DrawingDrawing
Drawing
 
Aircondition part02 2013
Aircondition part02 2013Aircondition part02 2013
Aircondition part02 2013
 
Aircon part01 2013
Aircon part01 2013Aircon part01 2013
Aircon part01 2013
 
Electricity acessories
Electricity acessoriesElectricity acessories
Electricity acessories
 
Electricity introl global
Electricity introl globalElectricity introl global
Electricity introl global
 
Sound2
Sound2Sound2
Sound2
 
Electricity acessories final3
Electricity acessories final3Electricity acessories final3
Electricity acessories final3
 
Electricity atom energys
Electricity atom energysElectricity atom energys
Electricity atom energys
 
Plumbling water
Plumbling waterPlumbling water
Plumbling water
 
Plumbling
PlumblingPlumbling
Plumbling
 
Sanitary
SanitarySanitary
Sanitary
 
Sound
SoundSound
Sound
 
Electricity atom energys
Electricity atom energysElectricity atom energys
Electricity atom energys
 
Sanitary
SanitarySanitary
Sanitary
 
Drainage finallecture
Drainage finallectureDrainage finallecture
Drainage finallecture
 
Electricity acessories final
Electricity acessories finalElectricity acessories final
Electricity acessories final
 
Electricity lecture 2012 Week01
Electricity lecture 2012  Week01Electricity lecture 2012  Week01
Electricity lecture 2012 Week01
 

System lighting

  • 1. 1 Decamber 2010
  • 2.  
  • 3. แสง สี และการมองเห็น แสง การแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าในช่วงความยาวคลื่นที่สายตามนุษย์มองเห็น รวมถึงการแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าในช่วงความยาวคลื่นตั้งแต่ รังสีอัลตร้าไวโอเลต , รังสีเอ๊กซ์ ที่มีความยาวคลื่นสั้นกว่า หรือ คลื่นวิทยุ , คลื่นโทรทัศน์และพลังงานไฟฟ้า ที่มีช่วงความยาวคลื่นยาวกว่า ความเร็วของแสงอยู่ที่ 300,000 กิโลเมตรต่อวินาที
  • 4. แสง สี และการมองเห็น สีและความยาวคลื่น ความยาวคลื่นที่แตกต่างกันนั้น จะถูกตรวจจับได้ด้วยดวงตาของมนุษย์ ซึ่งจะแปลผลด้วยสมองของมนุษย์ให้เป็นสีต่างๆ ในช่วง สีแดง ซึ่งมีความยาวคลื่นยาวสุด ( ความถี่ต่ำสุด ) ที่มนุษย์มองเห็นได้ ถึง สีม่วง ซึ่งมีความยาวคลื่นสั้นสุด ( ความถี่สูงสุด ) ที่มนุษย์มองเห็นได้ ความถี่ที่อยู่ในช่วงนี้ จะมี สีส้ม , สีเหลือง , สีเขียว , สีน้ำเงิน และ สีคราม
  • 5. แสง สี และการมองเห็น แสงมีคุณสมบัติทวิภาวะ 1. แสงเป็นคลื่น : แสงเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 2. แสงเป็นอนุภาค : แสงเป็นก้อนพลังงานเรียกอนุภาคแสงว่าโฟตอน
  • 6. แสง สี และการมองเห็น พฤติกรรมต่าง ๆ ของแสง 1. การสะท้อน ( Reflection) เป็นพฤติกรรมที่แสงตกกระทบบนตัวกลางและสะท้อนตัวออก ถ้าตัวกลางเป็นวัตถุผิวเรียบขัดมัน จะทำให้มุมของแสงที่ตกกระทบจะมีค่าเท่ากับมุมสะท้อน
  • 7. แสง สี และการมองเห็น 3. การกระจาย ( Diffusion) เป็นพฤติกรรมที่แสงจะกระจายตัวออกเมื่อกระทบถูกผิวของตัวกลาง เราใช้ประโยชน์จากการกระจายตัวของลำแสง เมื่อกระทบตัวกลางนี้ เช่น ใช้แผ่นพลาสติกใสปิดดวงโคม เพื่อลดความจ้าจากหลอดไฟ
  • 8. แสง สี และการมองเห็น พฤติกรรมต่าง ๆ ของแสง 4. การดูดกลืน ( Absorbtion) เป็นพฤติกรรมที่แสงถูกดูดกลืนหลายเข้าไปในตัวกลาง โดยทั่วไปเมื่อพลังงานแสงถูกดูดกลืนหายเข้าไปในวัตถุใด ๆ มันจะเปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อน
  • 9. แสง สี และการมองเห็น พฤติกรรมต่าง ๆ ของแสง 5. การทะลุผ่าน ( Transmission) เป็นพฤติกรรมที่แสงพุ่งชนตัวกลางแล้วทะลุผ่านมันออกไปอีกด้านหนึ่ง 6
  • 10. แสง สี และการมองเห็น พฤติกรรมต่าง ๆ ของแสง 6. การส่องสว่าง ( Illumination) ปริมาณแห่งการส่องสว่างบนพื้นผิวใด ๆ จะแปรตามโดยตรงกับความเข้มแห่งการส่องสว่าง ระหว่างพื้นผิวนั้นกับแหล่งกำเนิดแสง
  • 11. แสง สี และการมองเห็น พฤติกรรมต่าง ๆ ของแสง 7. ความจ้า ( Brighten) ความจ้าเป็นผลซึ่งเกิดจากการที่แสงถูกสะท้อนออกจากผิววัตถุ หรือพุ่งออกจากแหล่งกำเนิดแสงเข้าสู่ตา
  • 12. แสง สี และการมองเห็น หน่วยที่ใช้ในการวัดแสง ปริมาณ หน่วย ตัวย่อ หมายเหตุ พลังงานของการส่องสว่าง จูล ( joule) J ฟลักซ์ส่องสว่าง ( Luminous flux) ลูเมน ( lumen) หรือ แคนเดลา · สเตอเรเดียน ( candela · steradian) lm อาจเรียกว่า กำลังของความสว่าง ( Luminous power) ความเข้มของการส่องสว่าง ( Luminous intensity) แคนเดลา ( candela) cd ความเข้มของความสว่าง ( Luminance) แคนเดลา / ตารางเมตร ( candela/square metre) cd/m 2 อาจเรียกว่า ความหนาแน่นของความเข้มการส่องสว่าง ความสว่าง ( Illuminance) ลักซ์ ( lux) หรือ ลูเมน / ตารางเมตร lx ประสิทธิภาพการส่องสว่าง ( Luminous efficiency) ลูเมน ต่อ วัตต์ ( lumens per watt) lm/W
  • 13. แสง สี และการมองเห็น การมองเห็น เป็นระบบรับความรู้สึกที่ประกอบด้วย ลูกตา ประสาทตาและสมอง ( ส่วน Visual Cortex) โดยแสงสะท้อนจากวัตถุผ่านตาดำ ไปยังแก้วตา จากนั้นจะหักเหไปตกกระทบบริเวณจอตา ( Retina) เซลล์ประสาทบริเวณจอตาจะปรับสัญญาณที่ได้รับส่งไปทางประสาทตา เพื่อให้สมองได้รับทราบและแปลสิ่งที่มองเห็น
  • 14. แสง สี และการมองเห็น การมองเห็น กระบวนการทางเคมีเกิดขึ้นที่ใบและลำต้น คลอโรฟิลล์ ( chlorophyll) ที่ใบและลำต้น จะดูดกลืนแสงสีแดงไว้ แสงที่เหลือส่วนใหญ่ คือ แสงสีเขียว ซึ่งจะถูกสะท้อนออกไป ทำให้เรามองเห็นใบเป็นสีเขียว
  • 15. แสง สี และการมองเห็น สำหรับงานพิมพ์ จะมี 4 สี คือ สี บานเย็น ( Magent a- สีออกไปทางแดง ) สีเหลือง สีฟ้า ( Cyan) และ สีดำ และเพื่อให้ภาพพิมพ์เหมือนธรรมชาติซึ่งจะมีการไล่ระดับสีที่แตกต่างกัน จึงมีการพิมพ์สีในลักษณะเป็นจุดๆ
  • 16. แสง สี และการมองเห็น แหล่งกำเนิดแสง 1 . แสงธรรมชาติ (Natural Light) แสงที่ได้จากพลังงานตามธรรมชาติ เช่น ดวงอาทิตย์
  • 17. แสง สี และการมองเห็น แหล่งกำเนิดแสง 1 . แสงประดิษฐ์ (Artificial Light) แสงที่ได้จากการที่มนุษย์ประดิษฐ์คิดค้นขึ้นโดยอาศัยธรรมชาติและเทคโนโลยี่ เช่น แสงจากดวงโคมต่างๆ
  • 18. แสง สี และการมองเห็น การกำเนิดแสงสามารถแบ่งได้ออกเป็น 2 ลักษณะคือ 1. แบบอินแคนเดสเซนต์ ( INCANDESCENCE) การกำเนิดแสงที่เกิดจากการเผาหรือการให้พลังงานความร้อน เช่น การเผาแท่งเหล็กที่ความร้อนสูงมากๆ
  • 19. แสง สี และการมองเห็น การกำเนิดแสงสามารถแบ่งได้ออกเป็น 2 ลักษณะคือ 2. แบบลูมิเนสเซนต์ ( LUMINESCENCE ) แสงที่ไม่ได้เกิดจากการเปลี่ยนพลังงานความร้อนให้เป็นพลังงานแสง เช่น แสงจากตัวแมลง , แสงที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมี , รวมไปถึงแสงที่เกิดจากการปล่อยประจุของก๊าซ
  • 20.  
  • 21.
  • 22. แสง สี และการมองเห็น ทฤษฎีสีแสง ( Light Color) แสงอาทิตย์มีสีต่าง ๆ รวมกันอยู่ เมื่อให้แสงอาทิตย์ส่องผ่านแท่งแก้ว รูปสามเหลี่ยม ( Prism) แสงที่ผ่านออกมาอีกด้านหนึ่งจะมี 7 สี คือ ม่วง คราม น้ำเงิน เขียว เหลือง แสด แดง และถ้านำสีทั้ง 7 รวมกันเป็นสีขาว แสงในธรรมชาตินั้นมีอยู่ถึง 7 สี แต่รวมกันอยู่ เรียกว่า Spectrum
  • 23. แสง สี และการมองเห็น ทฤษฎีสีแสง ( Light Color) แม่สีบวก ( Additive Color) หรือแม่สีวิทยาศาสตร์ มี 3 สี คือ 1. สีแดง ( Red, R) 2. สีเขียว ( Green, G) 3. น้ำเงิน ( Blue, B)
  • 24. แสง สี และการมองเห็น การผสมสีแบบบวก ( Additive Color Mixing) การผสมของแสงสีขาวด้วยลำแสงที่มีสีต่าง ๆ ตามความยาวคลื่นแสง ความยาวคลื่นแสงพื้นฐานได้แก่ สีแดง เขียว และ น้ำเงิน เมื่อมีการซ้อนทับกัน ก็จะก่อให้เกิดการบวก และรวมตัวกันของความยาวคลื่นแสง”แสงหรือแม่สีทั้งสามนี้ เป็นสีขั้นต้น เมื่อผสมเข้าด้วยกันเป็นคู่ จะได้สีขั้นที่สอง
  • 25.  
  • 26. ชนิดของหลอดไฟ 1. หลอดไส้ ราคาถูก สีของแสงดี ติดตั้งง่าย ให้แสงสว่างทันทีเมื่อเปิด ประสิทธิภาพต่ำมาก อายุ การใช้งานสั้น ไฟฟ้าที่ป้อนให้หลอดจะถูกเปลี่ยนเป็นความร้อนกว่าร้อยละ 90 จึงไม่ประหยัด พลังงาน แต่เหมาะสมกับงานประเภทที่ต้องการหรี่แสง เช่น ห้องจัดเลี้ยงตามโรงแรม หรือใช้ กับโคมระย้าที่ประกอบด้วยผลึกแก้วเพื่อเน้นความสวยงาม
  • 27. ชนิดของหลอดไฟ 2. หลอดฟลูออเรสเซนต์ เป็นหลอดที่มีประสิทธิภาพแสงและอายุการใช้งานมากกว่าหลอดไส้ หลอดฟลูออเรสเซนต์แท่งยาวที่ใช้แพร่หลายมีขนาด 36 วัตต์ แต่ก็ยังมีหลอดไฟประสิทธิภาพ สูง ( หลอดซุปเปอร์ลักซ์ ) ซึ่งมีราคาต่อหลอดแพงกว่าหลอดไฟ 36 วัตต์ธรรมดา แต่ให้ปริมาณ แสงมากกว่าร้อยละ 20 ในขนาดการใช้ไฟฟ้าที่เท่ากัน
  • 28. ชนิดของหลอดไฟ 3. หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์ ( CFL) หลอดตะเกียบชนิดที่ให้สีของแสงออกมาเทียบ เท่าร้อยละ 85 ของหลอดไส้ ( ให้สีของแสงดีที่สุด ) สำหรับใช้แทนหลอดไส้เพื่อช่วยประหยัด ไฟ และอายุการใช้งานนานกว่า 8 เท่าของหลอดไส้ มี 2 ประเภท คือ แบบขั้วเกลียวและแบบ ขั้วเสียบ
  • 29. ชนิดของหลอดไฟ 4. หลอดแสงจันทร์ ประสิทธิภาพแสงต่ำกว่าหลอดฟลูออเรสเซนต์เล็กน้อยแต่อายุการใช้งาน นานกว่าเหมาะสมเป็นไฟสนามตามสวนสาธารณะ แต่เมื่อใช้ไปนานๆคุณภาพ แสงจะลดลง
  • 30. ชนิดของหลอดไฟ 5. หลอดเมทัลฮาไลด์ ประสิทธิภาพสูง คุณภาพแสงดีแต่ต้องใช้เวลาอุ่นหลอดเมื่อเปิด เหมาะ สำหรับการใช้ส่องสินค้าในห้างสรรพสินค้า
  • 31. ชนิดของหลอดไฟ 6. หลอดโซเดียมความดันสูง ประสิทธิภาพสูง แต่คุณภาพแสงไม่ดี มักใช้กับไฟถนน คลัง สินค้า ไฟส่องบริเวณที่เปลี่ยนหลอดยาก พื้นที่นอกอาคาร
  • 32.  
  • 33. พ . ร . บ . พื้นที่สำนักงาน , โรงแรม , สถานศึกษา และ โรงพยาบาล / สถานพักฟื้น ค่ากำลังไฟฟ้าแสงสว่างสูงสุด ( วัตต์ต่อตารางเมตรของพื้นที่ใช้งาน ) ไม่เกิน 16 W/M2 หรือกรณีพื้นที่ร้านขายของ , ซูเปอร์มาร์เก็ต และศูนย์การค้า ไม่เกิน 23 W/M2 ทั้งนี้ให้สามารถคิดคำนวณพื้นที่ทั้งอาคารเฉลี่ยได้ โดยไม่รวมพื้นที่จอดรถ แต่รวมถึงไฟฟ้าแสงสว่างทั่วไปที่ใช้ในการโฆษณาเผยแพร่สินค้า ยกเว้น แสงสว่างที่ใช้ในตู้กระจกแสดงสินค้าหน้าร้าน
  • 34. ประเภทของโคมไฟ 1. โคมไฟส่องสว่างทั่วไป ( AMBIENT LIGHT ) นิยมใช้เป็นโคมไฟดาวน์ไลท์เป็นส่วนใหญ่ โดยทั่วไปจะใช้ในห้องรับแขกหรือห้องนั่งเล่น จะติดตั้งโคมไฟในระยะห่างกันประมาณไม่เกิน 2.40 เมตร และต้องเป็นชนิดที่ให้แสงสว่างสม่ำเสมอ
  • 35. ประเภทของโคมไฟ 2. โคมไฟชนิดตั้งพื้น ( TORCHIERE) เป็นโคมไฟที่ให้แสงนุ่มนวลสม่ำเสมอ เหมาะสมกับพื้นที่ที่จะให้ความสว่างไม่เกิน 35 ตารางเมตร
  • 36. ประเภทของโคมไฟ 3. โคมตั้งโต๊ะชนิดตกแต่ง ( DECORATIVE TABLE LAMP ) โดยส่วนใหญ่มักจะนำมาตกแต่ง มากกว่าที่จะใช้งานให้แสงสว่างจึงค่อนข้างมีรูปแบบหลากหลาย
  • 37. ประเภทของโคมไฟ 4. โคมไฟห้อย ( CHANDELIER ) ใช้ส่องเฉพาะเจาะจงบนพื้นที่เพื่อสร้างให้เกิดความรู้สึกเป็นที่รวมกลุ่ม
  • 38. ประเภทของโคมไฟ 5. โคมไฟโต๊ะทำงาน ( TASK LIGTH ) เป็นโคมไฟที่ถูกออกแบบมาเพื่อการใช้งานบนโต๊ะทำงาน จึงต้องสามารถปรับมุมหรือทิศทางได้ง่าย และสามารถเคลื่อนย้ายได้ง่ายช่วยลดแสงสะท้อนจากโคมไฟชนิดอื่น ๆ ภายในห้องได้อีกด้วย
  • 39. · ระบบการให้แสงสว่างหลัก ระบบแสงสว่างหลักที่มีความส่องสว่าง เพียงพอต่อการใช้งานในแต่ละพื้นที่นั้น ๆ · ระบบการให้แสงสว่างรอง ระบบมีแสงสว่างให้เกิดความสวยงาม หรือเน้นเพื่อให้เกิดความสนใจ สบายตา และ อารมณ์ · การให้แสงสว่างที่ดี มีทั้งระบบการแสงสว่างหลักและแสงสว่างรอง
  • 40. การส่องสว่างภายในบ้านอยู่อาศัย อพารต์เมนต์ และ โรงแรม · หลอดที่ให้แสงสีเหลืองดูน่าอบอุ่น มีค่าความส่องสว่างพื้นที่ทั่วไป 100 - 200 ลักซ์
  • 41. การส่องสว่างภายในบ้านอยู่อาศัย อพารต์เมนต์ และ โรงแรม · ไม่ควรใช้ไฟเกินกว่า 80 % ของอัตราสวิตช์หรี่ไฟ · มีโคมไฟชนิดอื่นช่วยให้แสงหลัก เพื่อลดเงาที่เกิดเนื่องจากโคมหลัก · โคมระย้าใช้ 20 -25 วัตต์ / ตารางเมตร / 100 ลักซ์ และควรติดตั้งสวิตช์ไฟหรี่ด้วย
  • 42. การส่องสว่างภายในบ้านอยู่อาศัย อพารต์เมนต์ และ โรงแรม · โคมระย้าใช้ขนาดประมาณ 1/12 ของเส้นทะแยงมุมห้อง · ช่องเปิดไฟหรืบควรมีขนาดอย่างน้อย 1/10 ของขนาดเบ้า · การให้แสงสว่างจากหรืบเพื่อส่องสว่างพืนที่ควรมีเพดานสีขาวหรือสีอ่อน
  • 43. การส่องสว่างในสำนักงาน · สำนักงานทั่วไปมักใช้โคมไฟตัวสะท้อนแสงอะลูมิเนียม ห้องหรือบริเวณสำคัญที่ไม่ต้องการแสงบาดตาก็ควรใช้โคมแบบมีตัวกรองแสงขาวขุ่นหรือแบบเกล็ดแก้ว ( Prismatic Diffuser)
  • 44. ความส่องสว่าง · การใช้หลอดปรอทความดันสูงอาจมีปัญหาในเรื่องแสงสีน้ำเงินที่ ออกมามากในช่วงติดตั้งเริ่มแรก แต่จะจางลงเมื่อติดตั้งไปหลายเดือนแล้ว · การใช้หลอดโซเดียมในโรงงานอุตสาหกรรมใช้ในกรณีไม่พิถีพิถันเรื่องสี
  • 45. ความส่องสว่างในโรงพยาบาล · หลอดที่เหมาะสมสำหรับการตรวจรักษาโรคทั่วไปคือ หลอดคูลไวท์ · ควรใช้หลอดเหมือนกันทั้งหมด เพื่อไม่ให้หลอกตา
  • 46. ความส่องสว่างในโรงพยาบาล · โคมที่เหมาะสำหรับงานโรงพยาบาลในบริเวณที่มีคนไข้ คือโคมที่มีแผ่นกรองแสงขาวขุ่นหรือเกล็ดแก้ว แต่มีปัญหาเรื่องประสิทธิภาพของโคมที่ใช้ไฟฟ้ามาก · แสงสว่างในห้องผ่าตัดควรสว่างมากเพื่อไม่ให้ต่างมากจากไฟแสงสว่างผ่าตัด
  • 47. ความส่องสว่างในพิพิธภัณฑ์ · วัตถุที่ไวต่อ UV ไม่ควรให้แสงมากกว่า 120000 ลักซ์ - ชม ./ ปี · วัตถุที่ไม่ไวต่อ UV ไม่ควรให้แสงมากกว่า 180000 ลักซ์ - ชม ./ ปี
  • 48. ความส่องสว่างในร้านค้า และ ศูนย์การค้า · หลอดให้แสงทั่วไปที่เหมาะกับศูนย์การค้าควรให้แสงที่ส่องทุกสีเด่น · บริเวณที่ต้องการให้เห็นวัสดุสีขาว เช่น เครื่องเขียนควรใช้หลอดแสงสีขาว · การส่องเน้นสินค้าไม่ควรใช้แสงสว่างสมำเสมอ
  • 49.  
  • 50.  
  • 57. 1 December 2010