SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  23
Télécharger pour lire hors ligne
องค์ประกอบภายนอก
  ของคอมพิวเตอร์

  computer
จอภาพ (Monitor)
       จอภาพเป็นอุปกรณ์แสดงผลที่มีชื่อเรียกมากมาย
เช่น Monitor, CRT (Cathode Ray Tube) ปกติแล้ว
จอภาพสามารถแบ่งได้ 2 ประเภท คือ
1.จอภาพสีเดียว (Monochrome Monitor)

   จอภาพที่รับสัญญาณจากการ์ดควบคุม ในลักษณะของ
สัญญาณดิจิตอล คือ 0 กับ 1 โดยการกวาดลาอิเล็กตรอนไป
ตกหน้าจอ แล้วเกิดเป็นจุดเรืองแสง จะให้สญญาณว่าจุดไหน
                                           ั
สว่าง จุดไหนดับ จอภาพสีเดียวเวลานี้ไม่มีผู้นิยมแล้ว
2. จอภาพหลายสี (Color Monitor)

            จอภาพที่รับสัญญาณดิจิตอล 4 สัญญาณ คือ
สัญญาณของสีแดง, เขียว, น้าเงิน และสัญญาณความสว่าง ทา
ให้สามารถแสดงสีได้ 16 สี ถึง 32 ล้านสี
การทางานของจอภาพ เริมจากการกระตุนอุปกรณ์หลอดภาพให้รอน เกิด
                               ่             ้                     ้
เป็ นอิเล็กตรอนขึน และถูกยิงด้วยปื นอิเล็กตรอน ให้ไปยังจุดทีตองการแสดงผล
                  ้                                         ่ ้
บนจอภาพ ซึงทีจอภาพจะมีการเคลือบสารฟอสฟอรัสเรืองแสง เมื่ออิเล็กตรอน
              ่ ่
เหล่านี้วงไปชน ก็จะทาให้เกิดแสงสว่าง ซึงจะประกอบกันเป็ นรูปภาพ ในการยิง
           ิ่                             ่
ลาแสดงอิเล็กตรอน มันจะเคลื่อนทีไปตามแนวขวาง จากนันเมือกวาดภาพ มาถึง
                                 ่                       ้ ่
สุดขอบด้านหนึ่ง ปื นลาแสงก็จะหยุดยิง และ ปรับปื นอิเล็กตรอนลงมา 1 line
และ เคลื่อนทีไปยังขอบอีกด้านหนึ่ง และทาการยิงใหม่ ลักษณะการยิงจึงเป็ น
               ่                               ่
         ั
แบบฟนเลื่อย
เคส (Case)
เคสของคอมพิวเตอร์ถึงแม้จะมีคุณสมบัตเิ ป็นเพียงเปลือกห่อหุ้มภายนอก แต่
ก็มีคุณสมบัติ หลายอย่างไปตามชนิดของเคส เช่น เคสแบบ ATX จะมีคุณสมบัติใน
การระบายความร้อนได้ดกว่า เคสแบบ AT และมีคุณสมบัติในการสนับสนุนระบบ
                          ี
เพาเวอร์ชัตดาวน์ ของระบบปฏิบัตการรุ่นใหม่ๆ ซึ่งเคสแบบ AT นั้นไม่มี เคสจะมี
                                    ิ
สิ่งหนึ่งทีติดตั้งควบคู่มากับเคสและก็มีความสาคัญพอควร นั้นคือ เพาเวอร์ซพพลาย
           ่                                                             ั
ซึ่งเป็นตัวจ่ายกระแสไฟฟ้า ให้กบอุปกรณ์ต่างๆ ในระบบคอมพิวเตอร์ ในการเลือก
                                ั
เคส ต้องคานึงถึง ตัวเพาเวอร์ซพพลายว่ามีกาลังในการจ่ายไฟให้กบอุปกรณ์เพียงพอ
                                  ั                             ั
หรือไม่ และต้องเลือกใช้กบเมนบอร์ด ให้เข้ากันด้วยคือเมนบอร์ดแบบไหนก็เคสแบบ
                            ั
เดียวกัน
คียบอร์ด (Keyboard)
   ์
      คีย์บอร์ดเป็นอุปกรณ์รับข้อมูลเบื้องต้น มีลักษณะการทางานคล้าย
คีย์บอร์ดของเครื่องพิมพ์ดีด แต่ได้เพิ่มปุ่มควบคุมเฉพาะสาหรับคอมพิวเตอร์
โดยปกติจะมี 101 คีย์ ซึ่งบางรุ่นอาจจะมีน้อย หรือมากกว่าก็ได้
โดยสามารถแบ่งเป็นกลุ่มๆ ได้ดงนี้
                            ั


    101-key Enhanced keyboard
    104-key Windows keyboard
    82-key Apple standard keyboard
    108-key Apple Extended keyboard
    Notebook & Palm keyboard
ปุ่มต่างๆ บนคีย์บอร์ดมีจานวนมาก ซึ่งสามารถแบ่งได้ 4 ส่วนหลัก คือ
     Typing keys กลุ่มปุ่มพิมพ์อักขระ
     Numeric keypad กลุ่มปุ่มตัวเลข และเครื่องหมายคานวณ
     Function keys กลุ่มปุ่มฟังก์ชัน F1 - F12
     Control keys กลุ่มปุ่มควบคุมต่างๆ เช่น ลูกศร, Ctrl, Alt เป็นต้น
       ปุ่มฟังก์ชัน และปุ่มควบคุม ทางบริษัท IBM
       (ค.ศ. 1986) ได้พัฒนาเพิ่มเข้ามาในคีย์บอร์ด เพื่อช่วยให้การทางานมี
       ความสะดวกมากขึ้น
์                     ่            ่
      การทางานของคียบอร์ด จะเกิดจากการเปลียนกลไกการกดปุม ให้เป็ น
สัญญาณทางไฟฟ้า เพื่อส่งให้คอมพิวเตอร์ โดยสัญญาณดังกล่าว จะบอก
ให้คอมพิวเตอร์ทราบว่ามีการกดคีย์อะไร การทางานทั้งหมดจะถูกควบคุม
ด้วย Microprocessor ขนาดเล็กที่บรรจุในคีย์บอร์ด และสัญญาณต่างๆ
จะส่งผ่านสายสัญญาณผ่านทางขั้วต่อ
ซึ่งแบ่งได้ 4 ประเภท คือ
     5-pin DIN (Deustche Industrie Norm) connector เป็นขั้วต่อ
      ขนาดใหญ่ ใช้กับคอมพิวเตอร์ในรุ่นแรก
     6-pin IBM PS/2 mini-DIN connector เป็นขั้วต่อขนาดเล็ก
      ปัจจุบันพบได้อย่างแพร่หลาย
     4-pin USB (Universal Serial Bus) connector เป็นขั้วต่อรุ่นใหม่
     internal connector เป็นขั้วต่อแบบภายใน พบได้ใน Notebook
      Computer
ปัจจุบันคีย์บอร์ด มีการพัฒนาไปตามยุคสมัย โดยเฉพาะยุคโลกไร้
พรมแดน ด้วยเทคโนโลยีอินเทอร์-เน็ต บริษัทผู้ผลิตหลายบริษัท ได้ทาการ
ผลิตคีย์บอร์ด ที่มีปุ่มฟังก์ชันสาหรับตรวจสอบอีเมล์ และการเข้าสู่
อินเทอร์เน็ต ตลอดจนควบคุมระบบมัลติมีเดียต่างๆ เพื่ออานวยความสะดวก
ให้กับผู้ใช้
เมาส์ (Mouse)
        อุปกรณ์รับข้อมูลที่นิยมรองจากคีย์บอร์ด ได้แก่ อุปกรณ์ชี้ตาแหน่ง
ทีเ่ รียกว่า เมาส์ (Mouse) หรือ "หนูอิเล็กทรอนิกส์" เนื่องจากเป็น
อุปกรณ์ที่มีลักษณะคล้ายหนู มีสายต่ออยู่ที่ปลายลักษณะเดียวกับหางหนู
เมาส์จะช่วยในการบ่งชี้ตาแหน่งว่าขณะนี้กาลังอยู่ ณ จุดใดบนจอภาพ
เรียกว่า "ตัวชี้ตาแหน่ง (Pointer)" ซึ่งอาศัยการเลื่อนเมาส์ แทนการกดปุ่ม
บังคับทิศทางบนคีย์บอร์ด
เมาส์พัฒนาขึ้นมาครั้งแรก ในศูนย์ค้นคว้าที่เมืองปาโลอัลโต้ ของ
บริษัทซีร็อก (Xerox Corporation's Palo Alto Research Center)
เมาส์มีหลายรูปร่าง หลายลักษณะ โดยเฉพาะเมาส์รุ่นใหม่ๆ จะออกแบบมา
อย่างสวยงาม โดยปกติปุ่มของเมาส์ จะมี 2 ปุ่มสาหรับเมาส์ของเครื่องพีซี
และปุ่มเดียวสาหรับเครื่อง Macintosh ปัจจุบันมีการพัฒนาให้เมาส์ใช้งาน
ได้ง่ายขึ้น โดยเพิ่มปุ่มเลื่อนตรงกลาง มีลักษณะคล้ายล้อ ดังรูป เรียกว่า
Intelli Mouse ซึ่งจะอานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ในการเลื่อนจอภาพเพื่อดู
ข้อมูล นอกจากนี้ยังมีเมาส์ที่ทางานด้วยสัญญาณแสง ที่เรียกว่า Infrared
หรือ Wireless Mouse
เมาส์ประกอบด้วย ลูกกลิ้งที่ติดตั้งอยูด้านล่าง และมีปุ่มกดควบคุม
                                              ่
(ตั้งแต่ 1 - 3 ปุ่ม) การใช้เมาส์จะนาเมาส์วางไว้บนพื้นราบ และเลื่อนเมาส์ไปใน
ทิศทางที่ต้องการ บนจอภาพจะปรากฏ สัญลักษณ์ชี้ตาแหน่ง เรียกว่า "Mouse
Pointer" (มักจะเป็นรูปลูกศรเฉียงซ้าย) เมื่อต้องการจะทางานใดๆ ก็ทาการกดปุ่ม
เมาส์ ตามหลักการใช้เมาส์ คอมพิวเตอร์จะรับสัญญาณ และทาการประมวลผลต่อไป
มี 3 ประเภท คือ Mechanical, Opto-Mechanical, Optical

 Mechanical

                เป็นกลไกการทางานที่อาศัยลูกบอลยาง ที่สามารถกลิ้งไปมาได้ เมื่อทาการ
เคลื่อนย้ายตัวเมาส์ ซึ่งลูกบอลจะกดแนบอยูกับลูกกลิ้ง โดยแกนของลูกกลิ้ง จะต่อกับจาน
                                          ่
แปลรหัส (Encoder) บนจานจะมีหน้าสัมผัสเป็นจุดๆ เมื่อจุดสัมผัสเลื่อนมาตรงแกนสัมผัส
ก็จะสร้างสัญญาณ บอกไปยังเครืองคอมพิวเตอร์ โปรแกรมควบคุมเมาส์ จะทาหน้าที่ แปล
                                 ่
เป็นคาสั่งเคลื่อนย้ายเคอร์เซอร์ บนจอภาพต่อไป
Opto-Mechanical

      กลไกการทางานคล้าย Mechanical แต่ตัวรับการเคลื่อนที่ของจาน
Encoder จะมี LED อยู่อีกด้านหนึ่งของจานไว้คอยกาเนิดแสง และอีกด้าน
หนึ่ง จะมี Opto-Transistor (ทรานซิสเตอร์ไวแสง) ไว้คอยตรวจจับแสง
แทนการใช้การสัมผัส
Optical

               กลไกการทางานที่อาศัยแผ่นรองชนิดพิเศษ ซึ่งมีผิวมันสะท้อนแสง
และมีตารางเส้นตามแกน X , Y โดยแกนหนึงเป็นสีน้าเงิน อีกแกนเป็นสีดา ตัด
                                           ่
กันไว้คอยตรวจจับการเคลื่อนที่ ซึ่งบนเมาส์ จะมี LED 2 ตัวให้กาเนิดแสงออกมา 2
สี คือ สีดา และสีน้าเงิน LED ที่กาเนิดแสงสีดา จะดูดกลืนแสงสีน้าเงิน LED ที่
กาเนิดแสงสีน้าเงิน จะดูดกลืนแสงสีดา ซึ่งตัวตรวจจับแสง เป็นทรานซิสเตอร์ไว
แสง สีที่ตรวจจับได้จะบอกทิศทาง ส่วนช่วงของแสงที่หายไป จะบอกถึงระยะทางการ
เคลื่อนที่
ลาโพง (Speaker)
       คือ อุปกรณ์ภายนอกอีกชิ้นหนึ่ง ที่เป็นอุปกรณ์สาหรับแสดงผล ซึ่ง
แสดงผลออกมาในรูปแบบของสัญญาณเสียง คอมพิวเตอร์สามารถแทนชุด
เครื่องเสียงแบบมินิคอมโปได้ สามารถใช้งานแทนเครื่องเล่นวิดีโอและทีวีได้
หลายคนคงเคยได้ยินเช่นนั้น การจะทาให้คอมพิวเตอร์ทางานแทนแหล่งบันเทิง
เหล่านั้นได้ ต้องการฮาร์ดแวร์มัลติมีเดีย ได้แก่ ไดรฟ์ซีดีรอม ไดรฟ์ดีวีดี
การ์ดเสียง การ์ด MPEG, การถอดรหัส AC- 3 (AC-3 Decoding) การ์ด
ประมวลผลดีวีดี และนอกเหนือจากนั้นสิ่งที่มาทาให้บรรยากาศของบันเทิงบน
คอมพิวเตอร์เป็นจริงคือ ลาโพง
เครื่องสารองไฟ (UPS)
UPS โดยทั่วไปก็จะทาหน้าที่ สารองไฟไว้ใช้ในกรณีไฟฟ้าดับ หรือหาก
กระแสไฟฟ้า เกินหรือขาด ไปมากกว่าค่าที่กาหนดไว้ UPS ก็จะตัดเข้าจ่ายไฟจากแบตเตอรี่
ภายใน UPS เองโดยอัตโนมัติ นอกจากนี้ยังมี UPS บางยี่ห้อที่เพิ่มส่วนของ ตัวควบคุม
เสถียรภาพของไฟฟ้า (Stabilizer) ซึ่งทาหน้าที่ควบคุม ให้กระแสไฟฟ้าที่จายออกจาก UPS
                                                                       ่
มีค่าอยู่ในช่วง 210- 230 โวลต์โดยตลอด อีกส่วนหนึ่งที่ UPS สามารถป้องกันได้ ก็คือ
ฟ้าผ่า เมื่อเกิดฟ้าผ่าไฟฟ้าสถิตย์จากฟ้าผ่าจะทาให้เกิดแรงเหนี่ยวนาภายในสายไฟฟ้า
แรงดันไฟฟ้าสูง บางทีอาจจะถึงหลายหมื่นโวลต์ และนั่นก็คืออันตรายมากที่สุดสาหรับ
เครื่องใช้ไฟฟ้า และรวมถึงคอมพิวเตอร์ด้วย
 นางสาว กฤษติยา มั่นคง
     นางสาว กันต์ธิมา พิเศษศิลป์
     นางสาว ธนัชพร  ศรีเมือง
     นางสาว มณีวรรณ กัณหา
     นางสาว สุนันทา ปลายตลาด


    นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1

โรงเรียน กระบุรวทยา จังหวัด ระนอง
               ีิ

Contenu connexe

Tendances

Chapter 4 : I/O devices
Chapter   4 : I/O devicesChapter   4 : I/O devices
Chapter 4 : I/O devicesKaushik Panta
 
Python code for Artificial Intelligence: Foundations of Computational Agents
Python code for Artificial Intelligence: Foundations of Computational AgentsPython code for Artificial Intelligence: Foundations of Computational Agents
Python code for Artificial Intelligence: Foundations of Computational AgentsADDI AI 2050
 
Memory banking-of-8086-final
Memory banking-of-8086-finalMemory banking-of-8086-final
Memory banking-of-8086-finalEstiak Khan
 
8085 Architecture & Memory Interfacing1
8085 Architecture & Memory Interfacing18085 Architecture & Memory Interfacing1
8085 Architecture & Memory Interfacing1techbed
 
Input output accessing
Input output accessingInput output accessing
Input output accessingankitraosingh
 
Introduction for microprocessor
Introduction for microprocessorIntroduction for microprocessor
Introduction for microprocessorTHANDAIAH PRABU
 
Data Structure and Algorithms Hashing
Data Structure and Algorithms HashingData Structure and Algorithms Hashing
Data Structure and Algorithms HashingManishPrajapati78
 
memory allocation by Novodita
memory allocation by Novoditamemory allocation by Novodita
memory allocation by NovoditaSHRISTEERAI1
 
Memory organization
Memory organizationMemory organization
Memory organizationAL- AMIN
 
Memory & I/O interfacing
Memory & I/O  interfacingMemory & I/O  interfacing
Memory & I/O interfacingdeval patel
 
Timer counter in arm7(lpc2148)
Timer counter in arm7(lpc2148)Timer counter in arm7(lpc2148)
Timer counter in arm7(lpc2148)Aarav Soni
 
Auxiliary memory Computer Architecture and Computer Organization
Auxiliary memory Computer Architecture and   Computer OrganizationAuxiliary memory Computer Architecture and   Computer Organization
Auxiliary memory Computer Architecture and Computer OrganizationSeraphic Nazir
 

Tendances (20)

Chapter 4 : I/O devices
Chapter   4 : I/O devicesChapter   4 : I/O devices
Chapter 4 : I/O devices
 
Python code for Artificial Intelligence: Foundations of Computational Agents
Python code for Artificial Intelligence: Foundations of Computational AgentsPython code for Artificial Intelligence: Foundations of Computational Agents
Python code for Artificial Intelligence: Foundations of Computational Agents
 
CO by Rakesh Roshan
CO by Rakesh RoshanCO by Rakesh Roshan
CO by Rakesh Roshan
 
Memory banking-of-8086-final
Memory banking-of-8086-finalMemory banking-of-8086-final
Memory banking-of-8086-final
 
8085 Architecture & Memory Interfacing1
8085 Architecture & Memory Interfacing18085 Architecture & Memory Interfacing1
8085 Architecture & Memory Interfacing1
 
Input output accessing
Input output accessingInput output accessing
Input output accessing
 
Introduction for microprocessor
Introduction for microprocessorIntroduction for microprocessor
Introduction for microprocessor
 
Data storage and indexing
Data storage and indexingData storage and indexing
Data storage and indexing
 
80386 & 80486
80386 & 8048680386 & 80486
80386 & 80486
 
Data Structure and Algorithms Hashing
Data Structure and Algorithms HashingData Structure and Algorithms Hashing
Data Structure and Algorithms Hashing
 
memory allocation by Novodita
memory allocation by Novoditamemory allocation by Novodita
memory allocation by Novodita
 
Computer MEMORY
Computer MEMORYComputer MEMORY
Computer MEMORY
 
Memory organization
Memory organizationMemory organization
Memory organization
 
8155 Basic Concepts
8155 Basic Concepts8155 Basic Concepts
8155 Basic Concepts
 
Memory & I/O interfacing
Memory & I/O  interfacingMemory & I/O  interfacing
Memory & I/O interfacing
 
8254 PIT
8254 PIT8254 PIT
8254 PIT
 
Timer counter in arm7(lpc2148)
Timer counter in arm7(lpc2148)Timer counter in arm7(lpc2148)
Timer counter in arm7(lpc2148)
 
Associative memory
Associative memoryAssociative memory
Associative memory
 
File system structure
File system structureFile system structure
File system structure
 
Auxiliary memory Computer Architecture and Computer Organization
Auxiliary memory Computer Architecture and   Computer OrganizationAuxiliary memory Computer Architecture and   Computer Organization
Auxiliary memory Computer Architecture and Computer Organization
 

Similaire à อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์

อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์Guntima Pisaidsin
 
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์Oh Aeey
 
อุปกรณ์คอมคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมคอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมคอมพิวเตอร์khomkritzana
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์natthaphorn_thepyoo
 
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์kruchanon2555
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์Thidarat Hiruntho
 
Chapter2 Input & Output Devices
Chapter2 Input & Output DevicesChapter2 Input & Output Devices
Chapter2 Input & Output DevicesAdul Yimngam
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Mai Lattapon
 
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์Tay Chaloeykrai
 
Computer hardwareของแท้
Computer hardwareของแท้Computer hardwareของแท้
Computer hardwareของแท้nuttavut_kongtako
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์1
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์1อุปกรณ์คอมพิวเตอร์1
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์1wanniphar1520
 
บทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุต
บทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุตบทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุต
บทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุตPokypoky Leonardo
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์wetprasit
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์Pak SnakeZa
 
อุปกรณ์ที่จำเป็นการประกอบคอมพวเตอร์
อุปกรณ์ที่จำเป็นการประกอบคอมพวเตอร์อุปกรณ์ที่จำเป็นการประกอบคอมพวเตอร์
อุปกรณ์ที่จำเป็นการประกอบคอมพวเตอร์Aomaom Onaree
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Jaewave Tidchu
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์sommat
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์Nantawoot Imjit
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์Jaewave Tidchu
 

Similaire à อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์ (20)

อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
 
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์คอมคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมคอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
Chapter2 Input & Output Devices
Chapter2 Input & Output DevicesChapter2 Input & Output Devices
Chapter2 Input & Output Devices
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
Computer hardwareของแท้
Computer hardwareของแท้Computer hardwareของแท้
Computer hardwareของแท้
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์1
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์1อุปกรณ์คอมพิวเตอร์1
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์1
 
บทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุต
บทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุตบทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุต
บทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุต
 
ทดสอบการอัพโหลดครั้งที่2
ทดสอบการอัพโหลดครั้งที่2ทดสอบการอัพโหลดครั้งที่2
ทดสอบการอัพโหลดครั้งที่2
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์ที่จำเป็นการประกอบคอมพวเตอร์
อุปกรณ์ที่จำเป็นการประกอบคอมพวเตอร์อุปกรณ์ที่จำเป็นการประกอบคอมพวเตอร์
อุปกรณ์ที่จำเป็นการประกอบคอมพวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 

อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์

  • 2. จอภาพ (Monitor) จอภาพเป็นอุปกรณ์แสดงผลที่มีชื่อเรียกมากมาย เช่น Monitor, CRT (Cathode Ray Tube) ปกติแล้ว จอภาพสามารถแบ่งได้ 2 ประเภท คือ
  • 3. 1.จอภาพสีเดียว (Monochrome Monitor) จอภาพที่รับสัญญาณจากการ์ดควบคุม ในลักษณะของ สัญญาณดิจิตอล คือ 0 กับ 1 โดยการกวาดลาอิเล็กตรอนไป ตกหน้าจอ แล้วเกิดเป็นจุดเรืองแสง จะให้สญญาณว่าจุดไหน ั สว่าง จุดไหนดับ จอภาพสีเดียวเวลานี้ไม่มีผู้นิยมแล้ว
  • 4. 2. จอภาพหลายสี (Color Monitor) จอภาพที่รับสัญญาณดิจิตอล 4 สัญญาณ คือ สัญญาณของสีแดง, เขียว, น้าเงิน และสัญญาณความสว่าง ทา ให้สามารถแสดงสีได้ 16 สี ถึง 32 ล้านสี
  • 5. การทางานของจอภาพ เริมจากการกระตุนอุปกรณ์หลอดภาพให้รอน เกิด ่ ้ ้ เป็ นอิเล็กตรอนขึน และถูกยิงด้วยปื นอิเล็กตรอน ให้ไปยังจุดทีตองการแสดงผล ้ ่ ้ บนจอภาพ ซึงทีจอภาพจะมีการเคลือบสารฟอสฟอรัสเรืองแสง เมื่ออิเล็กตรอน ่ ่ เหล่านี้วงไปชน ก็จะทาให้เกิดแสงสว่าง ซึงจะประกอบกันเป็ นรูปภาพ ในการยิง ิ่ ่ ลาแสดงอิเล็กตรอน มันจะเคลื่อนทีไปตามแนวขวาง จากนันเมือกวาดภาพ มาถึง ่ ้ ่ สุดขอบด้านหนึ่ง ปื นลาแสงก็จะหยุดยิง และ ปรับปื นอิเล็กตรอนลงมา 1 line และ เคลื่อนทีไปยังขอบอีกด้านหนึ่ง และทาการยิงใหม่ ลักษณะการยิงจึงเป็ น ่ ่ ั แบบฟนเลื่อย
  • 7. เคสของคอมพิวเตอร์ถึงแม้จะมีคุณสมบัตเิ ป็นเพียงเปลือกห่อหุ้มภายนอก แต่ ก็มีคุณสมบัติ หลายอย่างไปตามชนิดของเคส เช่น เคสแบบ ATX จะมีคุณสมบัติใน การระบายความร้อนได้ดกว่า เคสแบบ AT และมีคุณสมบัติในการสนับสนุนระบบ ี เพาเวอร์ชัตดาวน์ ของระบบปฏิบัตการรุ่นใหม่ๆ ซึ่งเคสแบบ AT นั้นไม่มี เคสจะมี ิ สิ่งหนึ่งทีติดตั้งควบคู่มากับเคสและก็มีความสาคัญพอควร นั้นคือ เพาเวอร์ซพพลาย ่ ั ซึ่งเป็นตัวจ่ายกระแสไฟฟ้า ให้กบอุปกรณ์ต่างๆ ในระบบคอมพิวเตอร์ ในการเลือก ั เคส ต้องคานึงถึง ตัวเพาเวอร์ซพพลายว่ามีกาลังในการจ่ายไฟให้กบอุปกรณ์เพียงพอ ั ั หรือไม่ และต้องเลือกใช้กบเมนบอร์ด ให้เข้ากันด้วยคือเมนบอร์ดแบบไหนก็เคสแบบ ั เดียวกัน
  • 8. คียบอร์ด (Keyboard) ์ คีย์บอร์ดเป็นอุปกรณ์รับข้อมูลเบื้องต้น มีลักษณะการทางานคล้าย คีย์บอร์ดของเครื่องพิมพ์ดีด แต่ได้เพิ่มปุ่มควบคุมเฉพาะสาหรับคอมพิวเตอร์ โดยปกติจะมี 101 คีย์ ซึ่งบางรุ่นอาจจะมีน้อย หรือมากกว่าก็ได้
  • 9. โดยสามารถแบ่งเป็นกลุ่มๆ ได้ดงนี้ ั  101-key Enhanced keyboard  104-key Windows keyboard  82-key Apple standard keyboard  108-key Apple Extended keyboard  Notebook & Palm keyboard
  • 10. ปุ่มต่างๆ บนคีย์บอร์ดมีจานวนมาก ซึ่งสามารถแบ่งได้ 4 ส่วนหลัก คือ  Typing keys กลุ่มปุ่มพิมพ์อักขระ  Numeric keypad กลุ่มปุ่มตัวเลข และเครื่องหมายคานวณ  Function keys กลุ่มปุ่มฟังก์ชัน F1 - F12  Control keys กลุ่มปุ่มควบคุมต่างๆ เช่น ลูกศร, Ctrl, Alt เป็นต้น ปุ่มฟังก์ชัน และปุ่มควบคุม ทางบริษัท IBM (ค.ศ. 1986) ได้พัฒนาเพิ่มเข้ามาในคีย์บอร์ด เพื่อช่วยให้การทางานมี ความสะดวกมากขึ้น
  • 11. ่ ่ การทางานของคียบอร์ด จะเกิดจากการเปลียนกลไกการกดปุม ให้เป็ น สัญญาณทางไฟฟ้า เพื่อส่งให้คอมพิวเตอร์ โดยสัญญาณดังกล่าว จะบอก ให้คอมพิวเตอร์ทราบว่ามีการกดคีย์อะไร การทางานทั้งหมดจะถูกควบคุม ด้วย Microprocessor ขนาดเล็กที่บรรจุในคีย์บอร์ด และสัญญาณต่างๆ จะส่งผ่านสายสัญญาณผ่านทางขั้วต่อ
  • 12. ซึ่งแบ่งได้ 4 ประเภท คือ  5-pin DIN (Deustche Industrie Norm) connector เป็นขั้วต่อ ขนาดใหญ่ ใช้กับคอมพิวเตอร์ในรุ่นแรก  6-pin IBM PS/2 mini-DIN connector เป็นขั้วต่อขนาดเล็ก ปัจจุบันพบได้อย่างแพร่หลาย  4-pin USB (Universal Serial Bus) connector เป็นขั้วต่อรุ่นใหม่  internal connector เป็นขั้วต่อแบบภายใน พบได้ใน Notebook Computer
  • 13. ปัจจุบันคีย์บอร์ด มีการพัฒนาไปตามยุคสมัย โดยเฉพาะยุคโลกไร้ พรมแดน ด้วยเทคโนโลยีอินเทอร์-เน็ต บริษัทผู้ผลิตหลายบริษัท ได้ทาการ ผลิตคีย์บอร์ด ที่มีปุ่มฟังก์ชันสาหรับตรวจสอบอีเมล์ และการเข้าสู่ อินเทอร์เน็ต ตลอดจนควบคุมระบบมัลติมีเดียต่างๆ เพื่ออานวยความสะดวก ให้กับผู้ใช้
  • 14. เมาส์ (Mouse) อุปกรณ์รับข้อมูลที่นิยมรองจากคีย์บอร์ด ได้แก่ อุปกรณ์ชี้ตาแหน่ง ทีเ่ รียกว่า เมาส์ (Mouse) หรือ "หนูอิเล็กทรอนิกส์" เนื่องจากเป็น อุปกรณ์ที่มีลักษณะคล้ายหนู มีสายต่ออยู่ที่ปลายลักษณะเดียวกับหางหนู เมาส์จะช่วยในการบ่งชี้ตาแหน่งว่าขณะนี้กาลังอยู่ ณ จุดใดบนจอภาพ เรียกว่า "ตัวชี้ตาแหน่ง (Pointer)" ซึ่งอาศัยการเลื่อนเมาส์ แทนการกดปุ่ม บังคับทิศทางบนคีย์บอร์ด
  • 15. เมาส์พัฒนาขึ้นมาครั้งแรก ในศูนย์ค้นคว้าที่เมืองปาโลอัลโต้ ของ บริษัทซีร็อก (Xerox Corporation's Palo Alto Research Center) เมาส์มีหลายรูปร่าง หลายลักษณะ โดยเฉพาะเมาส์รุ่นใหม่ๆ จะออกแบบมา อย่างสวยงาม โดยปกติปุ่มของเมาส์ จะมี 2 ปุ่มสาหรับเมาส์ของเครื่องพีซี และปุ่มเดียวสาหรับเครื่อง Macintosh ปัจจุบันมีการพัฒนาให้เมาส์ใช้งาน ได้ง่ายขึ้น โดยเพิ่มปุ่มเลื่อนตรงกลาง มีลักษณะคล้ายล้อ ดังรูป เรียกว่า Intelli Mouse ซึ่งจะอานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ในการเลื่อนจอภาพเพื่อดู ข้อมูล นอกจากนี้ยังมีเมาส์ที่ทางานด้วยสัญญาณแสง ที่เรียกว่า Infrared หรือ Wireless Mouse
  • 16. เมาส์ประกอบด้วย ลูกกลิ้งที่ติดตั้งอยูด้านล่าง และมีปุ่มกดควบคุม ่ (ตั้งแต่ 1 - 3 ปุ่ม) การใช้เมาส์จะนาเมาส์วางไว้บนพื้นราบ และเลื่อนเมาส์ไปใน ทิศทางที่ต้องการ บนจอภาพจะปรากฏ สัญลักษณ์ชี้ตาแหน่ง เรียกว่า "Mouse Pointer" (มักจะเป็นรูปลูกศรเฉียงซ้าย) เมื่อต้องการจะทางานใดๆ ก็ทาการกดปุ่ม เมาส์ ตามหลักการใช้เมาส์ คอมพิวเตอร์จะรับสัญญาณ และทาการประมวลผลต่อไป
  • 17. มี 3 ประเภท คือ Mechanical, Opto-Mechanical, Optical Mechanical เป็นกลไกการทางานที่อาศัยลูกบอลยาง ที่สามารถกลิ้งไปมาได้ เมื่อทาการ เคลื่อนย้ายตัวเมาส์ ซึ่งลูกบอลจะกดแนบอยูกับลูกกลิ้ง โดยแกนของลูกกลิ้ง จะต่อกับจาน ่ แปลรหัส (Encoder) บนจานจะมีหน้าสัมผัสเป็นจุดๆ เมื่อจุดสัมผัสเลื่อนมาตรงแกนสัมผัส ก็จะสร้างสัญญาณ บอกไปยังเครืองคอมพิวเตอร์ โปรแกรมควบคุมเมาส์ จะทาหน้าที่ แปล ่ เป็นคาสั่งเคลื่อนย้ายเคอร์เซอร์ บนจอภาพต่อไป
  • 18. Opto-Mechanical กลไกการทางานคล้าย Mechanical แต่ตัวรับการเคลื่อนที่ของจาน Encoder จะมี LED อยู่อีกด้านหนึ่งของจานไว้คอยกาเนิดแสง และอีกด้าน หนึ่ง จะมี Opto-Transistor (ทรานซิสเตอร์ไวแสง) ไว้คอยตรวจจับแสง แทนการใช้การสัมผัส
  • 19. Optical กลไกการทางานที่อาศัยแผ่นรองชนิดพิเศษ ซึ่งมีผิวมันสะท้อนแสง และมีตารางเส้นตามแกน X , Y โดยแกนหนึงเป็นสีน้าเงิน อีกแกนเป็นสีดา ตัด ่ กันไว้คอยตรวจจับการเคลื่อนที่ ซึ่งบนเมาส์ จะมี LED 2 ตัวให้กาเนิดแสงออกมา 2 สี คือ สีดา และสีน้าเงิน LED ที่กาเนิดแสงสีดา จะดูดกลืนแสงสีน้าเงิน LED ที่ กาเนิดแสงสีน้าเงิน จะดูดกลืนแสงสีดา ซึ่งตัวตรวจจับแสง เป็นทรานซิสเตอร์ไว แสง สีที่ตรวจจับได้จะบอกทิศทาง ส่วนช่วงของแสงที่หายไป จะบอกถึงระยะทางการ เคลื่อนที่
  • 20. ลาโพง (Speaker) คือ อุปกรณ์ภายนอกอีกชิ้นหนึ่ง ที่เป็นอุปกรณ์สาหรับแสดงผล ซึ่ง แสดงผลออกมาในรูปแบบของสัญญาณเสียง คอมพิวเตอร์สามารถแทนชุด เครื่องเสียงแบบมินิคอมโปได้ สามารถใช้งานแทนเครื่องเล่นวิดีโอและทีวีได้ หลายคนคงเคยได้ยินเช่นนั้น การจะทาให้คอมพิวเตอร์ทางานแทนแหล่งบันเทิง เหล่านั้นได้ ต้องการฮาร์ดแวร์มัลติมีเดีย ได้แก่ ไดรฟ์ซีดีรอม ไดรฟ์ดีวีดี การ์ดเสียง การ์ด MPEG, การถอดรหัส AC- 3 (AC-3 Decoding) การ์ด ประมวลผลดีวีดี และนอกเหนือจากนั้นสิ่งที่มาทาให้บรรยากาศของบันเทิงบน คอมพิวเตอร์เป็นจริงคือ ลาโพง
  • 22. UPS โดยทั่วไปก็จะทาหน้าที่ สารองไฟไว้ใช้ในกรณีไฟฟ้าดับ หรือหาก กระแสไฟฟ้า เกินหรือขาด ไปมากกว่าค่าที่กาหนดไว้ UPS ก็จะตัดเข้าจ่ายไฟจากแบตเตอรี่ ภายใน UPS เองโดยอัตโนมัติ นอกจากนี้ยังมี UPS บางยี่ห้อที่เพิ่มส่วนของ ตัวควบคุม เสถียรภาพของไฟฟ้า (Stabilizer) ซึ่งทาหน้าที่ควบคุม ให้กระแสไฟฟ้าที่จายออกจาก UPS ่ มีค่าอยู่ในช่วง 210- 230 โวลต์โดยตลอด อีกส่วนหนึ่งที่ UPS สามารถป้องกันได้ ก็คือ ฟ้าผ่า เมื่อเกิดฟ้าผ่าไฟฟ้าสถิตย์จากฟ้าผ่าจะทาให้เกิดแรงเหนี่ยวนาภายในสายไฟฟ้า แรงดันไฟฟ้าสูง บางทีอาจจะถึงหลายหมื่นโวลต์ และนั่นก็คืออันตรายมากที่สุดสาหรับ เครื่องใช้ไฟฟ้า และรวมถึงคอมพิวเตอร์ด้วย
  • 23.  นางสาว กฤษติยา มั่นคง  นางสาว กันต์ธิมา พิเศษศิลป์  นางสาว ธนัชพร ศรีเมือง  นางสาว มณีวรรณ กัณหา  นางสาว สุนันทา ปลายตลาด นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 โรงเรียน กระบุรวทยา จังหวัด ระนอง ีิ