SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  10
บทความวิจัย รายวิชา 276 – 402 การวิจัยทางการศึกษา 56(2)
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
ชื่อเรื่องวิจัย การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนเรื่อง สัญกรณ์วิทยาศาสตร์ ระหว่างนักเรียน
ที่เรียนแบบแบ่งกลุ่มตามผลสัมฤทธิ์ (STAD) และ
การเรียนแบบปกติ
ชื่อผู้วิจัย 1. นางสาวกนกกานต์ อินทรสกุล
2. นางสาวรุ่งฤดี คำาพุทธ
3. นางสาววรวีร์ ถ่องแท้
4. นางสาวแวอัสมาศ แวดือเร๊ะ
5. นางสาวกูหม๊ะแฮแร อัลยุฟรี
6. นายวีระยุทธิ์ ประสมศรี
7. นางสาวสุนันทา ไชยยาว
อาจารย์ที่ปรึกษา บุษบรรณ เชิดเกียรติสกุล
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน เรื่องสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนแบบแบ่งกลุ่มตามผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียน (STAD) กับเรียนแบบปกติ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการ
วิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนวิชา
คณิตศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 โรงเรียน
เบญจมราชูทิศ จังหวัดปัตตานี ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบ
เจาะจง จำานวน 2 ห้อง จากทั้งหมด 12 ห้อง คือ ห้อง 1/1
จำานวน 40 คน และห้อง 1/2 จำานวน 37 คน โดยกลุ่ม
ทดลองเรียนแบบแบ่งกลุ่มตามผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
(STAD) และกลุ่มควบคุมเรียนแบบปกติ วิเคราะห์ข้อมูลโดย
ใช้สถิติวิเคราะห์ ค่าเฉลี่ย( x ) ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน(S.D.) สถิติที่ใช้ในการทดสอบ T-Test แบบ
Independent sample
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง
สัญกรณ์วิทยาศาสตร์ ของนักเรียนกลุ่มทดลองที่เรียนแบบ
แบ่งกลุ่มตามผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (STAD) กับกลุ่ม
ควบคุมที่เรียนแบบปกติ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ
ที่ระดับ 0.05 โดยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องสัญกรณ์
วิทยาศาสตร์ ของนักเรียนกลุ่มทดลองที่เรียนแบบแบ่งกลุ่ม
- 1 -
บทความวิจัย รายวิชา 276 – 402 การวิจัยทางการศึกษา 56(2)
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
ตามผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (STAD) สูงกว่ากลุ่มควบคุมที่
เรียนแบบปกติ
คำาสำาคัญ : การเรียนแบบแบ่งกลุ่มตามผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียน (STAD)
บทนำา
การศึกษาคณิตศาสตร์
ช่วยให้มนุษย์มีความคิด
สร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล
เป็นระบบ ระเบียบมีแบบแผน
สามารถวิเคราะห์ปัญหาและ
สถานการณ์ได้อย่างถี่ถ้วน
รอบคอบ ทำาให้สามารถคาด
การณ์ วางแผน ตัดสินใจและ
แก้ปัญหาได้อย่างถูกต้องและ
เหมาะสม
เนื่องจากรายวิชา
คณิตศาสตร์มีลักษณะเป็น
นามธรรม และเนื้อหาบางตอนก็
ยากที่จะอธิบายให้เด็กเข้าใจ
ต้องใช้ความคิดอย่างสมเหตุสม
ผล จึงจะเรียนรู้และเข้าใจ
โครงสร้างทางคณิตศาสตร์ได้
ด้วยเหตุนี้ผู้เรียนส่วนใหญ่จึงไม่
ชอบเรียนวิชาคณิตศาสตร์ และ
มีผลการเรียนอยู่ในระดับที่ไม่
น่าพอใจ
ซึ่งทางคณะผู้วิจัยจึงได้
นำารูปแบบการเรียนแบบแบ่ง
กลุ่มตามผลสัมฤทธิ์ (STAD)
เป็นรูปแบบการสอนอย่างหนึ่ง
ของการเรียนแบบร่วมมือ โดย
วิธีนี้กำาหนดให้ผู้เรียนที่มีระดับ
ความสามารถต่างกันมาเรียนรู้
ร่วมกันเป็นกลุ่มย่อยๆ สมาชิก
ภายในกลุ่มจะต้องช่วยเหลือซึ่ง
กันและกัน แต่ละคนจะมีความ
รับผิดชอบในหน้าที่ของตนเอง
และจะต้องร่วมมือกับสมาชิกใน
กลุ่มทำาความเข้าใจในบทเรียน
นั้นเพื่อความสำาเร็จของกลุ่ม
และการเรียนแบบปกติ
จากเหตุผลดังกล่าว
ทำาให้ผู้วิจัยมีความสนใจที่จะ
พัฒนารูปการเรียนการสอน
แบบร่วมมือ โดยใช้เทคนิค
STAD เพื่อส่งเสริมทักษะ
กระบวนการทางคณิตศาสตร์
มาใช้จัดกิจกรรมการเรียน
สำาหรับนักเรียน และเป็น
แนวทางให้ครูในกลุ่มสาระการ
เรียนรู้คณิตศาสตร์ และ ที่มี
ประสิทธิภาพสำาหรับนำาไป
พัฒนาการเรียนการสอนให้มีผล
สัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นต่อ
ไป
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
เพื่อเปรียบเทียบผล
สัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา
คณิตศาสตร์เรื่องสัญกรณ์
วิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 1 ระหว่าง
นักเรียนที่เรียนแบบแบ่งกลุ่ม
- 2 -
บทความวิจัย รายวิชา 276 – 402 การวิจัยทางการศึกษา 56(2)
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
ตามผลสัมฤทธิ์ (STAD) และ
นักเรียนที่เรียนแบบปกติ
ขอบเขตของการวิจัย
1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
1.1 ประชากรที่ใช้ใน
การวิจัย คือ นักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนวิชา
คณิตศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปี
การศึกษา 2556 โรงเรียน
เบญจมราชูทิศ จังหวัด
ปัตตานี
1.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้
ในการวิจัย ประกอบด้วย
นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1/1
จำานวน 40 คน และนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2
จำานวน 37 คน โดยวิธีการสุ่ม
แบบเจาะจง เนื่องจากนักเรียน
ทั้งสองห้องมีระดับความ
สามารถในการเรียนรู้ใกล้
เคียงกันของการจัดลำาดับการ
สอบเข้าของโรงเรียน
2. ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา
2.1 ตัวแปรตาม คือ ผล
สัมฤทธิ์ทางการเรียน
ของนักเรียน
2.2 ตัวแปรต้น คือ วิธี
การเรียน 2 วิธี ประกอบด้วย
การเรียนแบบแบ่งกลุ่มตามผล
สัมฤทธิ์ (STAD) และการ
เรียนแบบปกติ
3. ระยะเวลาดำาเนินการวิจัย
ผู้วิจัย ทำาการวิจัยใน
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา
2556 โดยกำาหนดระยะเวลา
ในการทดลอง 1 สัปดาห์
ทั้งหมด 4 คาบ คาบละ 50
นาที
นิยามศัพท์เฉพาะ
เพื่อให้เกิดความเข้าใจและสื่อ
ความหมายได้ตรงกัน ผู้วิจัย
จึงกำาหนดนิยามศัพท์เฉพาะ
ของการวิจัยดังนี้
1. การเรียนแบบแบ่ง
กลุ่มตามผลสัมฤทธิ์
(STAD:Student Teams –
Achievement Divison)
เป็นการเรียนแบบร่วมมือวิธี
หนึ่ง ซึ่งมีการเรียนที่จัดแบ่ง
นักเรียนเป็นกลุ่มย่อยๆ กลุ่ม
ละ 4-6 คน ประกอบด้วย
สมาชิกที่มีความสามารถสูง
ปานกลางและตำ่า คละกัน
สมาชิกในกลุ่มจะเรียนรู้
ทำาความเข้าใจร่วมกัน ช่วย
เหลือซึ่งกันและกัน เพื่อความ
สำาเร็จของกลุ่ม หากกลุ่มใด
ทำาคะแนนได้สูงขึ้น ครูจะ
ให้การเสริมแรงเป็นการ
กระตุ้นให้นักเรียนร่วมมือกัน
ในการเรียนรู้
2. การเรียนแบบปกติ
หมายถึง วิธีการจัดการเรียน
การสอนตามคู่มือครู และแบบ
เรียนของสถาบันส่งเสริมการ
สอนวิทยาศาสตร์และ
- 3 -
บทความวิจัย รายวิชา 276 – 402 การวิจัยทางการศึกษา 56(2)
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
เทคโนโลยีกระทรวง
ศึกษาธิการ
3. ผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนวิชาคณิตศาสตร์ หมาย
ถึง ความสามารถทางการ
เรียนในการเรียนคณิตศาสตร์
ซึ่งวัดได้จากแบบทดสอบ
วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
วิชาคณิตศาสตร์
สมมติฐานการวิจัย
ผลสัมฤทธิ์ทางเรียนวิชา
คณิตศาสตร์ที่เรียนแบบแบ่ง
กลุ่มตามผลสัมฤทธิ์ (STAD) สูง
กว่าการเรียนแบบปกติ
วิธีดำาเนินการวิจัย
คณะผู้จัดทำาวิจัยใช้
แบบแผนการทดลองแบบกึ่ง
ทดลอง ซึ่งการออกแบบการ
ทดลองแบบกึ่งทดลองเป็นการ
วางแผนดำาเนินการวิจัยเชิง
ทดลองที่มีทั้งกลุ่มทดลองและ
กลุ่มควบคุม
1. ขั้นก่อนการดำาเนิน
งาน
- กำาหนดหัวข้อวิจัย
- วิธีวิจัยแบบเชิงทดลอง
- ประชากรที่จะศึกษา เป็น
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่
เรียนวิชาคณิตศาสตร์ ในภาค
การเรียนที่ 1 ปีการศึกษา
2556 โรงเรียนเบญจมราชูทิศ
จังหวัดปัตตานี
- การสุ่มตัวอย่าง ใช้วิธีการสุ่ม
แบบเจาะจง
จำานวน 2 ห้องเรียน คือ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/1
และ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่
1/2 เป็นกลุ่มตัวอย่าง
- วิธีการจัดการเรียน 2 วิธี คือ
การเรียนแบบแบ่งกลุ่มตามผล
สัมฤทธิ์ (STAD) และการเรียน
แบบปกติ
- แหล่งข้อมูล เก็บข้อมูลทุติยภูมิ
เป็นข้อมูลคะแนนหลังเรียน วิชา
คณิตศาสตร์พื้นฐาน บทที่ 1
เรื่องระบบจำานวน ของนักเรียน
กลุ่มตัวอย่าง เพื่อแบ่งกลุ่ม
นักเรียน กลุ่มละ 4-5 คน โดย
ใช้การแบ่งกลุ่มตามผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน (STAD)
- ศึกษาเนื้อหาที่เกี่ยวข้องและ
จัดเตรียมเนื้อหาเกี่ยวกับ
จำานวนที่เขียนอยู่ในรูปสัญกรณ์
วิทยาศาสตร์
2. ขั้นการดำาเนินงาน
1.การเรียนแบบแบ่งกลุ่มตามผล
สัมฤทธิ์ (STAD)
• ขั้นนำา
ชี้แจงจุดประสงค์การเรียนรู้
• ขั้นดำาเนินการสอน
1. แบ่งกลุ่มผู้เรียนตามผล
สัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มละ 4-
5 คน โดยมีคนเก่ง ปานกลาง
และ อ่อน คละกันตามอัตราส่วน
1:2:1 ตามลำาดับ
2. อ่านคำาชี้แจงในการเรียน
แบบแบ่งกลุ่มตามผลสัมฤทธิ์
(STAD) ให้นักเรียน
- 4 -
บทความวิจัย รายวิชา 276 – 402 การวิจัยทางการศึกษา 56(2)
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
3. แจกใบความรู้ เรื่อง สัญ
กรณ์วิทยาศาสตร์
4. สอนเนื้อหาสาระวิชา
คณิตศาสตร์ เรื่องสัญกรณ์
วิทยาศาสตร์ โดยละเอียด และ
นักเรียนสามารถอ่านใบความรู้
ประกอบการเรียนได้
5. แจกแบบฝึกหัด โดยต่างคน
ต่างทำา ถ้านักเรียนคนใดไม่
เข้าใจข้อไหน สามารถถาม
เพื่อนภายในกลุ่มได้แต่ห้ามถาม
เพื่อนต่างกลุ่ม
6. จัดโต๊ะใหม่ให้เป็นระเบียบ
เพื่อทำาการสอบ
แจกแบบทดสอบ
7. ให้นักเรียนทุกคนทำาเป็นราย
บุคคล
• ขั้นสรุป
ครูให้นักเรียนสรุปบทเรียนตาม
หัวข้อที่กำาหนดไว้
2. การเรียนแบบปกติ
• ขั้นนำา
ชี้แจงจุดประสงค์การเรียนรู้
• ขั้นดำาเนินการสอน
1. ครูสอนเนื้อหาเรื่อง สัญกรณ์
วิทยาศาสตร์ พร้อมทั้งยก
ตัวอย่าง
และให้นักเรียนออกมาทำา
โจทย์
2. ให้นักเรียนทำาแบบฝึกหัด
3. สุ่มนักเรียนออกมาเฉลยแบบ
ฝึกหัดหน้าชั้นเรียน
• ขั้นสรุป
ครูให้นักเรียนสรุปบทเรียนตาม
ห้วข้อที่กำาหนดไว้
2.3 ขั้นหลังการดำาเนินงาน
ข้อมูลทั้งหมดมาวิเคราะห์
ด้วยวิธีการทางสถิติ แล้วสรุป
เป็นผลการทดลองและทดสอบ
สมมติฐาน เพื่อเปรียบเทียบผล
สัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิต
ศาสตร์เรื่องสัญกรณ์
วิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 1 ระหว่าง
นักเรียนที่เรียนแบบแบ่งกลุ่ม
ตามผลสัมฤทธิ์ (STAD) และ
นักเรียนที่เรียนแบบปกติ
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
1. แผนการสอนแบบแบ่งกลุ่ม
ตามผลสัมฤทธิ์ (STAD)
2. แผนการสอนแบบปกติ
3. ใบความรู้
4. แบบทดสอบหลังเรียน
การเก็บรวบรวมข้อมูล
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนเรื่องสัญกรณ์
วิทยาศาสตร์ที่ปรับปรุงแล้ว
จำานวน 25 ข้อ ทดสอบ
นักเรียนทั้งสองกลุ่ม
การวิเคราะห์ข้อมูล
เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน เรื่องสัญกรณ์
วิทยาศาสตร์ ของกลุ่มทดลอง
และกลุ่มควบคุมโดยใช้ t-
test
ผลการวิจัย
- 5 -
บทความวิจัย รายวิชา 276 – 402 การวิจัยทางการศึกษา 56(2)
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
จากการวิเคราะห์ด้วยวิธี
แบบ t-test แบบ
Independent sample พบ
ว่า นักเรียนที่ได้รับแนวการ
สอนวิธีที่ 1 มีคะแนนสูงสุด
เท่ากับ 22.5 คะแนน คะแนน
ตำ่าสุดเท่ากับ 5 คะแนน และมี
คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 14.64
คะแนน ในขณะที่นักเรียนที่
ได้รับแนวการสอนวิธีที่ 2 มี
คะแนนสูงสุดเท่ากับ 19.5
คะแนน คะแนนตำ่าสุดเท่ากับ
0 คะแนน และมีคะแนนเฉลี่ย
เท่ากับ 10.37 คะแนน และ
พบว่าคะแนนโดยเฉลี่ยของ
นักเรียนที่ได้รับแนวการสอน
วิธีที่ 1 และนักเรียนที่ได้รับ
แนวการสอนวิธีที่ 2 แตกต่าง
กันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติที่
ระดับ 0.05 โดยนักเรียนที่ได้
รับแนวการสอนวิธีที่ 1 มี
คะแนนเฉลี่ยสูงกว่านักเรียนที่
ได้รับแนวการสอนวิธีที่ 2
อภิปรายผลการวิจัย
จากการเปรียบเทียบผล
สัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องสัญ
กรณ์วิทยาศาสตร์ ของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ที่ได้รับการสอนแบบแบ่งกลุ่ม
ตามผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียน(STAD) กับการสอน
แบบปกติ พบว่านักเรียนที่ได้
รับการสอนแบบแบ่งกลุ่มตาม
ผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียน(STAD) กับการสอน
แบบปกติ มีผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนแตกต่างกันอย่างมีนัย
สำาคัญทางสถิติที่ .05 เป็นไป
ตามสมมติฐาน เนื่องจากการ
สอน โดยใช้กิจกรรมการ
เรียนการสอนแบบแบ่งกลุ่ม
ตามผลสัมฤทธิ์ เป็นการสอนที่
เน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลาง
โดยการแบ่งกลุ่มนักเรียนตาม
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่ม
ละ 4-6 คน ซึ่งประกอบไป
ด้วย นักเรียนเก่ง 1 คน
นักเรียนปานกลาง 4 คน
และนักเรียนอ่อน 1 คน การ
จัดกลุ่มแบบนี้จะทำาให้
นักเรียนมีความร่วมมือกันใน
การทำางาน มีความสามัคคีกัน
และนักเรียนเก่งจะให้คำา
แนะนำากับนักเรียนทุกคนใน
กลุ่ม เพราะนักเรียนทุกคนใน
กลุ่มจะคำานึงถึงกติกาที่ได้
ตกลงไว้ก่อนการเรียนการ
สอนนั่นคือความสำาเร็จ รางวัล
และคะแนนของกลุ่ม ส่วนการ
จัดการเรียนการสอนแบบปกติ
นั้น นักเรียนทำางานตามความ
สามารถของตนเอง มีการให้
ความร่วมมือในการทำางานกับ
ผู้อื่นน้อย ทำาให้นักเรียนที่ได้
รับการสอนแบบแบ่งกลุ่มตาม
ผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียน(STAD) มีผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนสูงกว่านักเรียนที่
ได้รับการสอนแบบปกติ และ
สอดคล้องกับการศึกษา
ค้นคว้าของ นพนภา อ๊อกด้วง
ที่ได้ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ
- 6 -
บทความวิจัย รายวิชา 276 – 402 การวิจัยทางการศึกษา 56(2)
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
เรียนเรื่องคำาและหน้าที่ของคำา
ในภาษาไทย ที่ได้รับการสอน
แบบแบ่งกลุ่มตามผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน(STAD) กับวิธี
การสอนแบบปกติ พบว่า ผล
สัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องคำา
และหน้าที่ของคำาในภาษา
ไทยของนักเรียนกลุ่มทดลอง
ที่สอนโดยการเรียนแบบแบ่ง
กลุ่มตามผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียน(STAD) สูงกว่ากลุ่ม
ควบคุมที่สอนโดยวิธีปกติ
ข้อเสนอแนะในการวิจัย
1.ควรศึกษาวิจัยการเรียน
แบบ STAD กับกลุ่มตัวอย่า
งอื่นๆหรือเนื้อหาอื่นๆเพื่อ
ติดตามประสิทธิภาพการเรียน
ต่อไป
2.กลุ่มตัวอย่างควรมีขนาด
ควรมีขนาดใหญ่พอที่จะเป็น
ตัวแทนที่ดีของประชากรได้
3.ควรเพิ่มเวลาในการจัดการ
เรียนแบบ STAD
รายการอ้างอิง
เลือกรายการอ้างอิงเฉพาะรายการที่ปรากฏในบทความวิจัย
เท่านั้น ตามรูปแบบที่กำาหนดไว้ดังต่อไปนี้
กรณีหนังสือ
ผู้แต่ง. (ปีที่พิมพ์์). ชื่อหนังสือ. เล่มที่หรือจำานวนเล่ม (ถ้าม์ี).
ครั้งที่พิมพ์์ (ถ้าม์ี). ชื่อชุดหนังสือและลำาดับที์่ (ถ้าม์ี).
สถานที่พิมพ์: สำานักพิมพ์.
ตัวอย่าง
ทิศนา แขมมณี. (2545). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการ
จัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 2.
กรุงเทพฯ: สำานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
- 7 -
บทความวิจัย รายวิชา 276 – 402 การวิจัยทางการศึกษา 56(2)
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
Eggen, Paul D. et all. (1979). Strategies for teacher,
Information processing models in classroom.
N.J.: Prentice-Hall.
กรณีบทความในหนังสือ
ผู้เขียนบทความ. (ปีที่พิมพ์์). ชื่อบทความ. ใน ชื่อบรรณาธิการ
(ถ้าม์ี), ชื่อเรื่อง, เลขหน้า. สถานที่พิมพ์ : สำานักพิมพ์.
ตัวอย่าง
ปทีป เมธาคุณวุฒิ. (2545). การเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการ
วิจัย. ใน ไพฑูรย์ สินลารัตน์ (บรรณาธิการ), การเรียนการสอน
ที่มีวิจัยเป็นฐาน, หน้า 21 – 37. กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Brown, R., and Dyer, A.F. 1972. Cell division in
higher plants. In F.C. Steward (ed.), Plant
physiology: An advance treatise, pp. 49-90.
New York: Academic Press.
กรณีบทความในวารสาร
ผู้เขียนบทความ. (ปีที่พิมพ์์). ชื่อบทความ. ชื่อวารสาร ปีที่หรือ
เล่มที์่ (เดือน ป์ี): เลขหน้า.
ตัวอย่าง
สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ และทัศนีย์ บุญเดิม. (2536). การสอนแบบ
Research Based Learning. วารสารวิธีวิทยาการวิจัย
6(1): 1 – 14.
Braun, I.H. (1988). Understanding scoring reliability:
Experiments in calibrating essay readers.
Journal of Educational Statistics 13(1): 1-18
กรณีวิทยานิพนธ์
ผู้เขียนวิทยานิพนธ์. (ปีที่พิมพ์์). ชื่อวิทยานิพนธ์. ระดับ
วิทยานิพนธ์ ชื่อสาขาวิชาหรือภาควิชา คณะ ชื่อ
มหาวิทยาลัย.
ตัวอย่าง
- 8 -
บทความวิจัย รายวิชา 276 – 402 การวิจัยทางการศึกษา 56(2)
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
สมพงษ์ ปั้นหุ่น. (2548). การพัฒนาแบบตรวจสอบรายการ
ประเมินแบบเสริมพลังอำานาจเพื่อพัฒนาทักษะการประเมิน
ของครูและนักเรียน. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต ภาค
วิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Buppha Devahuti. (1975). Use of computer in serials
control in Thai libraries. Master’s Thesis.
Department of Library Science, Graduate
School, Chulalongkorn University.
กรณีสื่ออิเล็กทรอนิกส์ แฟ้มข้อมูลและโปรแกรม
คอมพิวเตอร์
ชื่อผู้รับผิดชอบหลัก. (ปีที่จัดท์ำ). ชื่อแฟ้มข้อมูล (หรือชื่อ
โปรแกรม). สถานที่ผลิต: ชื่อผู้ผลิตหรือผู้เผยแพร่.
ตัวอย่าง
จุฑา ธรรมชาติ. (2550). การศึกษาและวิเคราะห์สภาพการใช้แบบ
สอบอัตนัยในการวัดและประเมินผล
การเรียนรู้ของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสาร
อิเล็กทรอนิกส์ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
[ออนไลน์]. สืบค้นจาก: www.edu.chula.ac.th/OJED
(12 มิถุนายน 2551)
Inada, K. (1995). A Buddhist response to the nature of
human rights. Journal of Buddhist Ethics [Online].
Available at: http://www.
cac.psu.edu/jbe/twocont.html
(accessed 1995, June 21)
- 9 -
บทความวิจัย รายวิชา 276 – 402 การวิจัยทางการศึกษา 56(2)
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
สมพงษ์ ปั้นหุ่น. (2548). การพัฒนาแบบตรวจสอบรายการ
ประเมินแบบเสริมพลังอำานาจเพื่อพัฒนาทักษะการประเมิน
ของครูและนักเรียน. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต ภาค
วิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Buppha Devahuti. (1975). Use of computer in serials
control in Thai libraries. Master’s Thesis.
Department of Library Science, Graduate
School, Chulalongkorn University.
กรณีสื่ออิเล็กทรอนิกส์ แฟ้มข้อมูลและโปรแกรม
คอมพิวเตอร์
ชื่อผู้รับผิดชอบหลัก. (ปีที่จัดทำำ). ชื่อแฟ้มข้อมูล (หรือชื่อ
โปรแกรม). สถานที่ผลิต: ชื่อผู้ผลิตหรือผู้เผยแพร่.
ตัวอย่าง
จุฑา ธรรมชาติ. (2550). การศึกษาและวิเคราะห์สภาพการใช้แบบ
สอบอัตนัยในการวัดและประเมินผล
การเรียนรู้ของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสาร
อิเล็กทรอนิกส์ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
[ออนไลน์]. สืบค้นจาก: www.edu.chula.ac.th/OJED
(12 มิถุนายน 2551)
Inada, K. (1995). A Buddhist response to the nature of
human rights. Journal of Buddhist Ethics [Online].
Available at: http://www.
cac.psu.edu/jbe/twocont.html
(accessed 1995, June 21)
- 9 -

Contenu connexe

Tendances

วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
Wichai Likitponrak
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
nang_phy29
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
อรุณศรี
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
Prachyanun Nilsook
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
khuwawa2513
 

Tendances (20)

วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
 
หมู่บ้านเฮี้ย --การจัดการแบบชุมชนพึ่งพาตนเองบ้านไม้เรียง
หมู่บ้านเฮี้ย --การจัดการแบบชุมชนพึ่งพาตนเองบ้านไม้เรียงหมู่บ้านเฮี้ย --การจัดการแบบชุมชนพึ่งพาตนเองบ้านไม้เรียง
หมู่บ้านเฮี้ย --การจัดการแบบชุมชนพึ่งพาตนเองบ้านไม้เรียง
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
 
วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
การศึกษารายกรณี
การศึกษารายกรณีการศึกษารายกรณี
การศึกษารายกรณี
 
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
 
023 qualitative research
023 qualitative research023 qualitative research
023 qualitative research
 
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
 
การเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างการเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่าง
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
Research1
Research1Research1
Research1
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
07 final exam
07 final exam07 final exam
07 final exam
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
 
วิจัยปี 59 ครูวิชัย
วิจัยปี 59 ครูวิชัยวิจัยปี 59 ครูวิชัย
วิจัยปี 59 ครูวิชัย
 
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัยหน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
หน่วยที่ 1 หลักการวิจัยทางธุรกิจเบื้องต้นและชนิดของงานวิจัย
 

En vedette

แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
nangnut
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
nangnut
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
wannisa_bovy
 
การจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ Stadการจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ Stad
Sandee Toearsa
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
wannaphakdee
 
บทความการสอนแบบเป็นทีม
บทความการสอนแบบเป็นทีมบทความการสอนแบบเป็นทีม
บทความการสอนแบบเป็นทีม
Pom Pom Insri
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsaw
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsawชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsaw
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsaw
Krutanapron Nontasaen
 
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgtการจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
thitinanmim115
 
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐานวิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
thkitiya
 
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
chaiwat vichianchai
 
การจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอนการจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอน
ananphar
 
แบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนแบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอน
Nan NaJa
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
Junya Punngam
 

En vedette (18)

แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
 
การจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (Stad
การจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (Stadการจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (Stad
การจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (Stad
 
การจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ Stadการจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ Stad
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
 
วิจัยภาษาอังกฤษ
วิจัยภาษาอังกฤษวิจัยภาษาอังกฤษ
วิจัยภาษาอังกฤษ
 
บทความการสอนแบบเป็นทีม
บทความการสอนแบบเป็นทีมบทความการสอนแบบเป็นทีม
บทความการสอนแบบเป็นทีม
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsaw
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsawชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsaw
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsaw
 
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgtการจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐานวิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
 
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
 
การจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอนการจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอน
 
แบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนแบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอน
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
 

Similaire à การวิจัยในชั้นเรียนรหว่างแบบปกติกับแบบSTAD

วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปวิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
Wichai Likitponrak
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
korakate
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
sudaphud
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
yutict
 
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
krupornpana55
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
krupornpana55
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
krupornpana55
 
การวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้นการวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้น
อรุณศรี
 
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
JeeraJaree Srithai
 

Similaire à การวิจัยในชั้นเรียนรหว่างแบบปกติกับแบบSTAD (20)

การประเมินสถานศึกษา
การประเมินสถานศึกษาการประเมินสถานศึกษา
การประเมินสถานศึกษา
 
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปวิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
 
รายงาน ครูชัยเมธี-1
รายงาน ครูชัยเมธี-1รายงาน ครูชัยเมธี-1
รายงาน ครูชัยเมธี-1
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
 
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
 
ระเบียบวิธีวิจัย.pptx
ระเบียบวิธีวิจัย.pptxระเบียบวิธีวิจัย.pptx
ระเบียบวิธีวิจัย.pptx
 
ระเบียบวิธีวิจัย.ppt
ระเบียบวิธีวิจัย.pptระเบียบวิธีวิจัย.ppt
ระเบียบวิธีวิจัย.ppt
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
 
PPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัยPPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัย
 
Km56
Km56Km56
Km56
 
2222
22222222
2222
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
การวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้นการวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้น
 
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ.3 2/2557
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ.3 2/2557ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ.3 2/2557
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ.3 2/2557
 
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาMko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
 

การวิจัยในชั้นเรียนรหว่างแบบปกติกับแบบSTAD

  • 1. บทความวิจัย รายวิชา 276 – 402 การวิจัยทางการศึกษา 56(2) คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ชื่อเรื่องวิจัย การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนเรื่อง สัญกรณ์วิทยาศาสตร์ ระหว่างนักเรียน ที่เรียนแบบแบ่งกลุ่มตามผลสัมฤทธิ์ (STAD) และ การเรียนแบบปกติ ชื่อผู้วิจัย 1. นางสาวกนกกานต์ อินทรสกุล 2. นางสาวรุ่งฤดี คำาพุทธ 3. นางสาววรวีร์ ถ่องแท้ 4. นางสาวแวอัสมาศ แวดือเร๊ะ 5. นางสาวกูหม๊ะแฮแร อัลยุฟรี 6. นายวีระยุทธิ์ ประสมศรี 7. นางสาวสุนันทา ไชยยาว อาจารย์ที่ปรึกษา บุษบรรณ เชิดเกียรติสกุล บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน เรื่องสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนแบบแบ่งกลุ่มตามผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน (STAD) กับเรียนแบบปกติ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการ วิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 โรงเรียน เบญจมราชูทิศ จังหวัดปัตตานี ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบ เจาะจง จำานวน 2 ห้อง จากทั้งหมด 12 ห้อง คือ ห้อง 1/1 จำานวน 40 คน และห้อง 1/2 จำานวน 37 คน โดยกลุ่ม ทดลองเรียนแบบแบ่งกลุ่มตามผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (STAD) และกลุ่มควบคุมเรียนแบบปกติ วิเคราะห์ข้อมูลโดย ใช้สถิติวิเคราะห์ ค่าเฉลี่ย( x ) ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน(S.D.) สถิติที่ใช้ในการทดสอบ T-Test แบบ Independent sample ผลการวิเคราะห์ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สัญกรณ์วิทยาศาสตร์ ของนักเรียนกลุ่มทดลองที่เรียนแบบ แบ่งกลุ่มตามผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (STAD) กับกลุ่ม ควบคุมที่เรียนแบบปกติ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 โดยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องสัญกรณ์ วิทยาศาสตร์ ของนักเรียนกลุ่มทดลองที่เรียนแบบแบ่งกลุ่ม - 1 -
  • 2. บทความวิจัย รายวิชา 276 – 402 การวิจัยทางการศึกษา 56(2) คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ตามผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (STAD) สูงกว่ากลุ่มควบคุมที่ เรียนแบบปกติ คำาสำาคัญ : การเรียนแบบแบ่งกลุ่มตามผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน (STAD) บทนำา การศึกษาคณิตศาสตร์ ช่วยให้มนุษย์มีความคิด สร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล เป็นระบบ ระเบียบมีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาและ สถานการณ์ได้อย่างถี่ถ้วน รอบคอบ ทำาให้สามารถคาด การณ์ วางแผน ตัดสินใจและ แก้ปัญหาได้อย่างถูกต้องและ เหมาะสม เนื่องจากรายวิชา คณิตศาสตร์มีลักษณะเป็น นามธรรม และเนื้อหาบางตอนก็ ยากที่จะอธิบายให้เด็กเข้าใจ ต้องใช้ความคิดอย่างสมเหตุสม ผล จึงจะเรียนรู้และเข้าใจ โครงสร้างทางคณิตศาสตร์ได้ ด้วยเหตุนี้ผู้เรียนส่วนใหญ่จึงไม่ ชอบเรียนวิชาคณิตศาสตร์ และ มีผลการเรียนอยู่ในระดับที่ไม่ น่าพอใจ ซึ่งทางคณะผู้วิจัยจึงได้ นำารูปแบบการเรียนแบบแบ่ง กลุ่มตามผลสัมฤทธิ์ (STAD) เป็นรูปแบบการสอนอย่างหนึ่ง ของการเรียนแบบร่วมมือ โดย วิธีนี้กำาหนดให้ผู้เรียนที่มีระดับ ความสามารถต่างกันมาเรียนรู้ ร่วมกันเป็นกลุ่มย่อยๆ สมาชิก ภายในกลุ่มจะต้องช่วยเหลือซึ่ง กันและกัน แต่ละคนจะมีความ รับผิดชอบในหน้าที่ของตนเอง และจะต้องร่วมมือกับสมาชิกใน กลุ่มทำาความเข้าใจในบทเรียน นั้นเพื่อความสำาเร็จของกลุ่ม และการเรียนแบบปกติ จากเหตุผลดังกล่าว ทำาให้ผู้วิจัยมีความสนใจที่จะ พัฒนารูปการเรียนการสอน แบบร่วมมือ โดยใช้เทคนิค STAD เพื่อส่งเสริมทักษะ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ มาใช้จัดกิจกรรมการเรียน สำาหรับนักเรียน และเป็น แนวทางให้ครูในกลุ่มสาระการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ และ ที่มี ประสิทธิภาพสำาหรับนำาไป พัฒนาการเรียนการสอนให้มีผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นต่อ ไป วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อเปรียบเทียบผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา คณิตศาสตร์เรื่องสัญกรณ์ วิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ระหว่าง นักเรียนที่เรียนแบบแบ่งกลุ่ม - 2 -
  • 3. บทความวิจัย รายวิชา 276 – 402 การวิจัยทางการศึกษา 56(2) คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ตามผลสัมฤทธิ์ (STAD) และ นักเรียนที่เรียนแบบปกติ ขอบเขตของการวิจัย 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.1 ประชากรที่ใช้ใน การวิจัย คือ นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2556 โรงเรียน เบญจมราชูทิศ จังหวัด ปัตตานี 1.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ในการวิจัย ประกอบด้วย นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1/1 จำานวน 40 คน และนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 จำานวน 37 คน โดยวิธีการสุ่ม แบบเจาะจง เนื่องจากนักเรียน ทั้งสองห้องมีระดับความ สามารถในการเรียนรู้ใกล้ เคียงกันของการจัดลำาดับการ สอบเข้าของโรงเรียน 2. ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา 2.1 ตัวแปรตาม คือ ผล สัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียน 2.2 ตัวแปรต้น คือ วิธี การเรียน 2 วิธี ประกอบด้วย การเรียนแบบแบ่งกลุ่มตามผล สัมฤทธิ์ (STAD) และการ เรียนแบบปกติ 3. ระยะเวลาดำาเนินการวิจัย ผู้วิจัย ทำาการวิจัยใน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 โดยกำาหนดระยะเวลา ในการทดลอง 1 สัปดาห์ ทั้งหมด 4 คาบ คาบละ 50 นาที นิยามศัพท์เฉพาะ เพื่อให้เกิดความเข้าใจและสื่อ ความหมายได้ตรงกัน ผู้วิจัย จึงกำาหนดนิยามศัพท์เฉพาะ ของการวิจัยดังนี้ 1. การเรียนแบบแบ่ง กลุ่มตามผลสัมฤทธิ์ (STAD:Student Teams – Achievement Divison) เป็นการเรียนแบบร่วมมือวิธี หนึ่ง ซึ่งมีการเรียนที่จัดแบ่ง นักเรียนเป็นกลุ่มย่อยๆ กลุ่ม ละ 4-6 คน ประกอบด้วย สมาชิกที่มีความสามารถสูง ปานกลางและตำ่า คละกัน สมาชิกในกลุ่มจะเรียนรู้ ทำาความเข้าใจร่วมกัน ช่วย เหลือซึ่งกันและกัน เพื่อความ สำาเร็จของกลุ่ม หากกลุ่มใด ทำาคะแนนได้สูงขึ้น ครูจะ ให้การเสริมแรงเป็นการ กระตุ้นให้นักเรียนร่วมมือกัน ในการเรียนรู้ 2. การเรียนแบบปกติ หมายถึง วิธีการจัดการเรียน การสอนตามคู่มือครู และแบบ เรียนของสถาบันส่งเสริมการ สอนวิทยาศาสตร์และ - 3 -
  • 4. บทความวิจัย รายวิชา 276 – 402 การวิจัยทางการศึกษา 56(2) คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เทคโนโลยีกระทรวง ศึกษาธิการ 3. ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาคณิตศาสตร์ หมาย ถึง ความสามารถทางการ เรียนในการเรียนคณิตศาสตร์ ซึ่งวัดได้จากแบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคณิตศาสตร์ สมมติฐานการวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางเรียนวิชา คณิตศาสตร์ที่เรียนแบบแบ่ง กลุ่มตามผลสัมฤทธิ์ (STAD) สูง กว่าการเรียนแบบปกติ วิธีดำาเนินการวิจัย คณะผู้จัดทำาวิจัยใช้ แบบแผนการทดลองแบบกึ่ง ทดลอง ซึ่งการออกแบบการ ทดลองแบบกึ่งทดลองเป็นการ วางแผนดำาเนินการวิจัยเชิง ทดลองที่มีทั้งกลุ่มทดลองและ กลุ่มควบคุม 1. ขั้นก่อนการดำาเนิน งาน - กำาหนดหัวข้อวิจัย - วิธีวิจัยแบบเชิงทดลอง - ประชากรที่จะศึกษา เป็น นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ เรียนวิชาคณิตศาสตร์ ในภาค การเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดปัตตานี - การสุ่มตัวอย่าง ใช้วิธีการสุ่ม แบบเจาะจง จำานวน 2 ห้องเรียน คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/1 และ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 เป็นกลุ่มตัวอย่าง - วิธีการจัดการเรียน 2 วิธี คือ การเรียนแบบแบ่งกลุ่มตามผล สัมฤทธิ์ (STAD) และการเรียน แบบปกติ - แหล่งข้อมูล เก็บข้อมูลทุติยภูมิ เป็นข้อมูลคะแนนหลังเรียน วิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน บทที่ 1 เรื่องระบบจำานวน ของนักเรียน กลุ่มตัวอย่าง เพื่อแบ่งกลุ่ม นักเรียน กลุ่มละ 4-5 คน โดย ใช้การแบ่งกลุ่มตามผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน (STAD) - ศึกษาเนื้อหาที่เกี่ยวข้องและ จัดเตรียมเนื้อหาเกี่ยวกับ จำานวนที่เขียนอยู่ในรูปสัญกรณ์ วิทยาศาสตร์ 2. ขั้นการดำาเนินงาน 1.การเรียนแบบแบ่งกลุ่มตามผล สัมฤทธิ์ (STAD) • ขั้นนำา ชี้แจงจุดประสงค์การเรียนรู้ • ขั้นดำาเนินการสอน 1. แบ่งกลุ่มผู้เรียนตามผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มละ 4- 5 คน โดยมีคนเก่ง ปานกลาง และ อ่อน คละกันตามอัตราส่วน 1:2:1 ตามลำาดับ 2. อ่านคำาชี้แจงในการเรียน แบบแบ่งกลุ่มตามผลสัมฤทธิ์ (STAD) ให้นักเรียน - 4 -
  • 5. บทความวิจัย รายวิชา 276 – 402 การวิจัยทางการศึกษา 56(2) คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี 3. แจกใบความรู้ เรื่อง สัญ กรณ์วิทยาศาสตร์ 4. สอนเนื้อหาสาระวิชา คณิตศาสตร์ เรื่องสัญกรณ์ วิทยาศาสตร์ โดยละเอียด และ นักเรียนสามารถอ่านใบความรู้ ประกอบการเรียนได้ 5. แจกแบบฝึกหัด โดยต่างคน ต่างทำา ถ้านักเรียนคนใดไม่ เข้าใจข้อไหน สามารถถาม เพื่อนภายในกลุ่มได้แต่ห้ามถาม เพื่อนต่างกลุ่ม 6. จัดโต๊ะใหม่ให้เป็นระเบียบ เพื่อทำาการสอบ แจกแบบทดสอบ 7. ให้นักเรียนทุกคนทำาเป็นราย บุคคล • ขั้นสรุป ครูให้นักเรียนสรุปบทเรียนตาม หัวข้อที่กำาหนดไว้ 2. การเรียนแบบปกติ • ขั้นนำา ชี้แจงจุดประสงค์การเรียนรู้ • ขั้นดำาเนินการสอน 1. ครูสอนเนื้อหาเรื่อง สัญกรณ์ วิทยาศาสตร์ พร้อมทั้งยก ตัวอย่าง และให้นักเรียนออกมาทำา โจทย์ 2. ให้นักเรียนทำาแบบฝึกหัด 3. สุ่มนักเรียนออกมาเฉลยแบบ ฝึกหัดหน้าชั้นเรียน • ขั้นสรุป ครูให้นักเรียนสรุปบทเรียนตาม ห้วข้อที่กำาหนดไว้ 2.3 ขั้นหลังการดำาเนินงาน ข้อมูลทั้งหมดมาวิเคราะห์ ด้วยวิธีการทางสถิติ แล้วสรุป เป็นผลการทดลองและทดสอบ สมมติฐาน เพื่อเปรียบเทียบผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิต ศาสตร์เรื่องสัญกรณ์ วิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ระหว่าง นักเรียนที่เรียนแบบแบ่งกลุ่ม ตามผลสัมฤทธิ์ (STAD) และ นักเรียนที่เรียนแบบปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1. แผนการสอนแบบแบ่งกลุ่ม ตามผลสัมฤทธิ์ (STAD) 2. แผนการสอนแบบปกติ 3. ใบความรู้ 4. แบบทดสอบหลังเรียน การเก็บรวบรวมข้อมูล แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนเรื่องสัญกรณ์ วิทยาศาสตร์ที่ปรับปรุงแล้ว จำานวน 25 ข้อ ทดสอบ นักเรียนทั้งสองกลุ่ม การวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน เรื่องสัญกรณ์ วิทยาศาสตร์ ของกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุมโดยใช้ t- test ผลการวิจัย - 5 -
  • 6. บทความวิจัย รายวิชา 276 – 402 การวิจัยทางการศึกษา 56(2) คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี จากการวิเคราะห์ด้วยวิธี แบบ t-test แบบ Independent sample พบ ว่า นักเรียนที่ได้รับแนวการ สอนวิธีที่ 1 มีคะแนนสูงสุด เท่ากับ 22.5 คะแนน คะแนน ตำ่าสุดเท่ากับ 5 คะแนน และมี คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 14.64 คะแนน ในขณะที่นักเรียนที่ ได้รับแนวการสอนวิธีที่ 2 มี คะแนนสูงสุดเท่ากับ 19.5 คะแนน คะแนนตำ่าสุดเท่ากับ 0 คะแนน และมีคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 10.37 คะแนน และ พบว่าคะแนนโดยเฉลี่ยของ นักเรียนที่ได้รับแนวการสอน วิธีที่ 1 และนักเรียนที่ได้รับ แนวการสอนวิธีที่ 2 แตกต่าง กันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05 โดยนักเรียนที่ได้ รับแนวการสอนวิธีที่ 1 มี คะแนนเฉลี่ยสูงกว่านักเรียนที่ ได้รับแนวการสอนวิธีที่ 2 อภิปรายผลการวิจัย จากการเปรียบเทียบผล สัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องสัญ กรณ์วิทยาศาสตร์ ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการสอนแบบแบ่งกลุ่ม ตามผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน(STAD) กับการสอน แบบปกติ พบว่านักเรียนที่ได้ รับการสอนแบบแบ่งกลุ่มตาม ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน(STAD) กับการสอน แบบปกติ มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนแตกต่างกันอย่างมีนัย สำาคัญทางสถิติที่ .05 เป็นไป ตามสมมติฐาน เนื่องจากการ สอน โดยใช้กิจกรรมการ เรียนการสอนแบบแบ่งกลุ่ม ตามผลสัมฤทธิ์ เป็นการสอนที่ เน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลาง โดยการแบ่งกลุ่มนักเรียนตาม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่ม ละ 4-6 คน ซึ่งประกอบไป ด้วย นักเรียนเก่ง 1 คน นักเรียนปานกลาง 4 คน และนักเรียนอ่อน 1 คน การ จัดกลุ่มแบบนี้จะทำาให้ นักเรียนมีความร่วมมือกันใน การทำางาน มีความสามัคคีกัน และนักเรียนเก่งจะให้คำา แนะนำากับนักเรียนทุกคนใน กลุ่ม เพราะนักเรียนทุกคนใน กลุ่มจะคำานึงถึงกติกาที่ได้ ตกลงไว้ก่อนการเรียนการ สอนนั่นคือความสำาเร็จ รางวัล และคะแนนของกลุ่ม ส่วนการ จัดการเรียนการสอนแบบปกติ นั้น นักเรียนทำางานตามความ สามารถของตนเอง มีการให้ ความร่วมมือในการทำางานกับ ผู้อื่นน้อย ทำาให้นักเรียนที่ได้ รับการสอนแบบแบ่งกลุ่มตาม ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน(STAD) มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสูงกว่านักเรียนที่ ได้รับการสอนแบบปกติ และ สอดคล้องกับการศึกษา ค้นคว้าของ นพนภา อ๊อกด้วง ที่ได้ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ - 6 -
  • 7. บทความวิจัย รายวิชา 276 – 402 การวิจัยทางการศึกษา 56(2) คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เรียนเรื่องคำาและหน้าที่ของคำา ในภาษาไทย ที่ได้รับการสอน แบบแบ่งกลุ่มตามผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน(STAD) กับวิธี การสอนแบบปกติ พบว่า ผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องคำา และหน้าที่ของคำาในภาษา ไทยของนักเรียนกลุ่มทดลอง ที่สอนโดยการเรียนแบบแบ่ง กลุ่มตามผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน(STAD) สูงกว่ากลุ่ม ควบคุมที่สอนโดยวิธีปกติ ข้อเสนอแนะในการวิจัย 1.ควรศึกษาวิจัยการเรียน แบบ STAD กับกลุ่มตัวอย่า งอื่นๆหรือเนื้อหาอื่นๆเพื่อ ติดตามประสิทธิภาพการเรียน ต่อไป 2.กลุ่มตัวอย่างควรมีขนาด ควรมีขนาดใหญ่พอที่จะเป็น ตัวแทนที่ดีของประชากรได้ 3.ควรเพิ่มเวลาในการจัดการ เรียนแบบ STAD รายการอ้างอิง เลือกรายการอ้างอิงเฉพาะรายการที่ปรากฏในบทความวิจัย เท่านั้น ตามรูปแบบที่กำาหนดไว้ดังต่อไปนี้ กรณีหนังสือ ผู้แต่ง. (ปีที่พิมพ์์). ชื่อหนังสือ. เล่มที่หรือจำานวนเล่ม (ถ้าม์ี). ครั้งที่พิมพ์์ (ถ้าม์ี). ชื่อชุดหนังสือและลำาดับที์่ (ถ้าม์ี). สถานที่พิมพ์: สำานักพิมพ์. ตัวอย่าง ทิศนา แขมมณี. (2545). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการ จัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. - 7 -
  • 8. บทความวิจัย รายวิชา 276 – 402 การวิจัยทางการศึกษา 56(2) คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี Eggen, Paul D. et all. (1979). Strategies for teacher, Information processing models in classroom. N.J.: Prentice-Hall. กรณีบทความในหนังสือ ผู้เขียนบทความ. (ปีที่พิมพ์์). ชื่อบทความ. ใน ชื่อบรรณาธิการ (ถ้าม์ี), ชื่อเรื่อง, เลขหน้า. สถานที่พิมพ์ : สำานักพิมพ์. ตัวอย่าง ปทีป เมธาคุณวุฒิ. (2545). การเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการ วิจัย. ใน ไพฑูรย์ สินลารัตน์ (บรรณาธิการ), การเรียนการสอน ที่มีวิจัยเป็นฐาน, หน้า 21 – 37. กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. Brown, R., and Dyer, A.F. 1972. Cell division in higher plants. In F.C. Steward (ed.), Plant physiology: An advance treatise, pp. 49-90. New York: Academic Press. กรณีบทความในวารสาร ผู้เขียนบทความ. (ปีที่พิมพ์์). ชื่อบทความ. ชื่อวารสาร ปีที่หรือ เล่มที์่ (เดือน ป์ี): เลขหน้า. ตัวอย่าง สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ และทัศนีย์ บุญเดิม. (2536). การสอนแบบ Research Based Learning. วารสารวิธีวิทยาการวิจัย 6(1): 1 – 14. Braun, I.H. (1988). Understanding scoring reliability: Experiments in calibrating essay readers. Journal of Educational Statistics 13(1): 1-18 กรณีวิทยานิพนธ์ ผู้เขียนวิทยานิพนธ์. (ปีที่พิมพ์์). ชื่อวิทยานิพนธ์. ระดับ วิทยานิพนธ์ ชื่อสาขาวิชาหรือภาควิชา คณะ ชื่อ มหาวิทยาลัย. ตัวอย่าง - 8 -
  • 9. บทความวิจัย รายวิชา 276 – 402 การวิจัยทางการศึกษา 56(2) คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี สมพงษ์ ปั้นหุ่น. (2548). การพัฒนาแบบตรวจสอบรายการ ประเมินแบบเสริมพลังอำานาจเพื่อพัฒนาทักษะการประเมิน ของครูและนักเรียน. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต ภาค วิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. Buppha Devahuti. (1975). Use of computer in serials control in Thai libraries. Master’s Thesis. Department of Library Science, Graduate School, Chulalongkorn University. กรณีสื่ออิเล็กทรอนิกส์ แฟ้มข้อมูลและโปรแกรม คอมพิวเตอร์ ชื่อผู้รับผิดชอบหลัก. (ปีที่จัดท์ำ). ชื่อแฟ้มข้อมูล (หรือชื่อ โปรแกรม). สถานที่ผลิต: ชื่อผู้ผลิตหรือผู้เผยแพร่. ตัวอย่าง จุฑา ธรรมชาติ. (2550). การศึกษาและวิเคราะห์สภาพการใช้แบบ สอบอัตนัยในการวัดและประเมินผล การเรียนรู้ของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสาร อิเล็กทรอนิกส์ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย [ออนไลน์]. สืบค้นจาก: www.edu.chula.ac.th/OJED (12 มิถุนายน 2551) Inada, K. (1995). A Buddhist response to the nature of human rights. Journal of Buddhist Ethics [Online]. Available at: http://www. cac.psu.edu/jbe/twocont.html (accessed 1995, June 21) - 9 -
  • 10. บทความวิจัย รายวิชา 276 – 402 การวิจัยทางการศึกษา 56(2) คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี สมพงษ์ ปั้นหุ่น. (2548). การพัฒนาแบบตรวจสอบรายการ ประเมินแบบเสริมพลังอำานาจเพื่อพัฒนาทักษะการประเมิน ของครูและนักเรียน. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต ภาค วิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. Buppha Devahuti. (1975). Use of computer in serials control in Thai libraries. Master’s Thesis. Department of Library Science, Graduate School, Chulalongkorn University. กรณีสื่ออิเล็กทรอนิกส์ แฟ้มข้อมูลและโปรแกรม คอมพิวเตอร์ ชื่อผู้รับผิดชอบหลัก. (ปีที่จัดทำำ). ชื่อแฟ้มข้อมูล (หรือชื่อ โปรแกรม). สถานที่ผลิต: ชื่อผู้ผลิตหรือผู้เผยแพร่. ตัวอย่าง จุฑา ธรรมชาติ. (2550). การศึกษาและวิเคราะห์สภาพการใช้แบบ สอบอัตนัยในการวัดและประเมินผล การเรียนรู้ของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสาร อิเล็กทรอนิกส์ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย [ออนไลน์]. สืบค้นจาก: www.edu.chula.ac.th/OJED (12 มิถุนายน 2551) Inada, K. (1995). A Buddhist response to the nature of human rights. Journal of Buddhist Ethics [Online]. Available at: http://www. cac.psu.edu/jbe/twocont.html (accessed 1995, June 21) - 9 -