SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  47
แนวทางการพัฒนาการวัดและประเมิน
       คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
           พุทธศักราช ٢٥٥١
        โรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
       คุณลักษณะอันพึงประสงค์ทั้ง ๘ ประการ ซึ่งได้แก่
            ๑) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
            ๒) ซื่อสัตย์สุจริต
            ๓) มีวินัย
            ๔) ใฝ่เรียนรู้
            ๕) อยู่อย่างพอเพียง
            ๖) มุ่งมั่นในการทำางาน
            ๗) รักความเป็นไทย
            ๘) มีจิตสาธารณะ
     การนำาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ทั้ง ๘ ประการดังกล่าว ไปใช้
พัฒนาผู้เรียนให้มประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลนั้น สถานศึกษาต้องมี
                   ี
ความเข้าใจเกี่ยวกับคุณลักษณะอันพึงประสงค์ อย่างชัดเจน โดยพิจารณา
จาก นิยาม ตัวชี้วัดพฤติกรรมบ่งชี้ และเกณฑ์การให้คะแนนของ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
ข้อที่ ๑ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
นิยาม
           รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออก
ถึงการเป็นพลเมืองดีของชาติ ธำารงไว้ซึ่งความเป็นชาติไทย ศรัทธา ยึด
มั่นในศาสนา และเคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์
           ผู้ที่รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ คือ ผู้ที่มลักษณะซึ่งแสดงออก
                                                   ี
ถึงการเป็นพลเมืองดีของชาติ มีความสามัคคีปรองดอง ภูมิใจ เชิดชูความ
เป็นชาติไทย ปฏิบัติตนตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ และแสดงความจงรัก
ภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์
ตัวชี้วัด       ๑.๑ เป็นพลเมืองดีของชาติ
            ๑.๒ ธำารงไว้ซึ่งความเป็นชาติไทย
2

           ๑.๓ ศรัทธา ยึดมั่นและปฏิบัติตนตามหลักศาสนา
           ๑.๔ เคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์
ตัวชี้วัดและพฤติกรรมบ่งชี้
    ตัวชี้วัด                            พฤติกรรมบ่งชี้
๑.๑ เป็นพลเมือง    ๑.๑.๑         ยืนตรงเคารพธงชาติ ร้องเพลงชาติ และ
ดี                 อธิบายความหมาย
   ของชาติ                ของเพลงชาติได้ถูกต้อง
                   ๑.๑.๒         ปฏิบัติตนตามสิทธิและ หน้าที่พลเมืองดีของ
                   ชาติ
                   ๑.๑.๓         มีความสามัคคี ปรองดอง
๑.๒ ธำารงไว้ซึ่ง   ๑.๒.๑         เข้าร่วม ส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมที่สร้าง
ความเป็น           ความสามัคคี ปรองดอง              ที่เป็นประโยชน์ต่อ
    ชาติไทย        โรงเรียน ชุมชนและสังคม
                   ๑.๒.๒ หวงแหน ปกป้อง ยกย่องความเป็นชาติไทย
๑.๓ ศรัทธา ยึด ๑.๓.๑             เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ
มั่นและ    ปฏิบัติ ๑.๓.๒         ปฏิบัติตนตามหลักของศาสนาที่ตนนับถือ
ตนตามหลัก          ๑.๓.๓         เป็นแบบอย่างที่ดีของศาสนิกชน
    ของศาสนา
๑.๔ เคารพ          ๑.๔.๑         เข้าร่วมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่
เทิดทูน                  เกี่ยวกับสถาบัน                    พระมหากษัตริย์
    สถาบัน พระ     ๑.๔.๒ แสดงความสำานึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระ
มหากษัตริย์        มหากษัตริย์
                   ๑.๔.๓ แสดงออกซึ่งความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหา
                   กษัตริย์




ตัวชี้วัดที่ ๑.๑ เป็นพลเมืองดีของชาติ
พฤติกรรมบ่งชี้    ไม่ผ่าน (๐)        ผ่าน (๑)        ดี (๒)      ดีเยี่ยม (๓)
๑.๑.๑ ยืนตรง    ไม่ยืนตรง         ยืนตรงเมื่อ     ยืนตรงเมื่อ    ยืนตรงเมื่อ
   เคารพ        เคารพธงชาติ       ได้ยินเพลง      ได้ยินเพลง     ได้ยินเพลง
   ธงชาติ ร้อง                    ชาติ ร้อง       ชาติ ร้อง      ชาติ ร้อง
   เพลงชาติ                       เพลงชาติ และ    เพลงชาติ       เพลงชาติ
   และอธิบาย                      อธิบายความ      และอธิบาย      และอธิบาย
   ความหมาย                       หมายของ         ความหมาย       ความหมาย
   ของเพลง                        เพลงชาติได้     ของเพลง        ของเพลง
   ชาติได้ถูก                     ถูกต้อง         ชาติได้ถูก     ชาติได้ถูก
   ต้อง                           ปฏิบัติตนตาม    ต้อง ปฏิบัติ   ต้อง ปฏิบัติ
๑.๑.๒ ปฏิบัติตน                   สิทธิและ        ตนตามสิทธิ     ตนตามสิทธิ
3

   ตามสิทธิ                       หน้าที่ของ        และหน้าที่     และหน้าที่
   หน้าที่                        นักเรียน และ      ของนักเรียน    ของพลเมือง
   พลเมืองดี                      ให้ความร่วม       และให้ความ     ดี และให้
   ของชาติ                        มือ ร่วมใจใน      ร่วมมือ        ความร่วมมือ
๑.๑.๓ มีความ                      การทำากิจกรรม     ร่วมใจในการ    ร่วมใจใน
   สามัคคี                        กับสมาชิกใน       ทำากิจกรรม     การทำา
   ปรองดอง                        ชั้นเรียน         กับสมาชิกใน    กิจกรรมกับ
                                                    โรงเรียน       สมาชิกใน
                                                                   โรงเรียนและ
                                                                   ชุมชน



ตัวชี้วัดที่ ๑.๒ ธำารงไว้ซึ่งความเป็นชาติไทย
พฤติกรรมบ่งชี้    ไม่ผ่าน (๐)        ผ่าน (๑)           ดี (๒)     ดีเยี่ยม (๓)
๑.๒.๑ เข้าร่วม ไม่เข้าร่วม        เข้าร่วม          เข้าร่วม       เข้าร่วม
    ส่งเสริม    กิจกรรมที่สร้าง   กิจกรรมที่สร้าง   กิจกรรม และ    กิจกรรม
    สนับสนุน    ความสามัคคี       ความสามัคคี       มีส่วนร่วมใน   และมีส่วน
    กิจกรรมที่                    ปรองดอง           การจัด         ร่วมในการ
    สร้างความ                     และเป็น           กิจกรรมที่     จัดกิจกรรม
    สามัคคี                       ประโยชน์ต่อ       สร้างความ      ที่สร้างความ
    ปรองดอง                       โรงเรียนและ       สามัคคี        สามัคคี
    ที่เป็น                       ชุมชน             ปรองดอง        ปรองดอง
    ประโยชน์                                        และเป็น        และเป็น
    ต่อโรงเรียน                                     ประโยชน์ต่อ    ประโยชน์ต่อ
    ชุมชนและ                                        โรงเรียน และ   โรงเรียน
    สังคม                                           ชุมชน          ชุมชน และ
๑.๒.๒                                                              สังคม
    หวงแหน                                                         ชื่นชมใน
    ปกป้อง                                                         ความเป็น
    ยกย่อง                                                         ชาติไทย
    ความเป็น
    ชาติไทย

ตัวชี้วัดที่ ๑.๓ ศรัทธา ยึดมั่น และปฏิบัติตนตามหลักของศาสนา
พฤติกรรมบ่งชี้      ไม่ผ่าน (๐)      ผ่าน (๑)           ดี (๒)     ดีเยี่ยม (๓)
๑.๓.๑ เข้าร่วม    ไม่เข้าร่วม     เข้าร่วม          เข้าร่วม       เข้าร่วม
    กิจกรรม       กิจกรรมทาง      กิจกรรม           กิจกรรมทาง     กิจกรรม
    ทางศาสนา      ศาสนาที่ตน      ทางศาสนาที่       ศาสนาที่ตน     ทางศาสนา
    ที่ตนนับถือ   นับถือ          ตนนับถือ          นับถือ และ     ที่ตนนับถือ
๑.๓.๒ ปฏิบัติ                     และปฏิบัติตน      ปฏิบัติตน      ปฏิบัติตน
4

    ตนตาม                             ตามหลักของ         ตามหลักของ ตามหลัก
    หลักของ                           ศาสนาตาม           ศาสนาอย่าง ของศาสนา
    ศาสนาที่ตน                        โอกาส              สมำ่าเสมอ  อย่าง
    นับถือ                                                          สมำ่าเสมอ
๑.๓.๓ เป็นแบบ                                                       และเป็น
    อย่าง ที่ดี                                                     แบบอย่างที่
    ของศาสนิ                                                        ดี
    กชน                                                             ของศาสนิ
                                                                    กชน




ตัวชี้วัดที่ ๑.๔ เคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์
พฤติกรรมบ่งชี้       ไม่ผ่าน (๐)          ผ่าน (๑)           ดี (๒)     ดีเยี่ยม (๓)
๑.๔.๑ เข้าร่วม     ไม่เข้าร่วม        เข้าร่วม           เข้าร่วม       เข้าร่วม
    และมีส่วน      กิจกรรมที่เกี่ยว   กิจกรรมที่เกี่ยว   กิจกรรม และ    กิจกรรมและ
    ร่วมในการ      กับสถาบันพระ       กับสถาบันพระ       มีส่วนร่วมใน   มีส่วนร่วมใน
    จัดกิจกรรม     มหากษัตริย์        มหากษัตริย์        การจัด         การจัด
    ที่เกี่ยวกับ                      ตามที่โรงเรียน     กิจกรรมที่     กิจกรรมที่
    สถาบันพระ                         และชุมชนจัด        เกี่ยวกับ      เกี่ยวกับ
    มหากษัตริย์                       ขึ้น               สถาบันพระ      สถาบันพระ
๑.๔.๒ แสดง                                               มหากษัตริย์    มหากษัตริย์
    ความสำานึก                                           ตามที่         ตามที่
    ในพระ                                                โรงเรียนและ    โรงเรียนและ
    มหากรุณาธิ                                           ชุมชนจัดขึ้น   ชุมชนจัดขึ้น
    คุณของพระ                                                           ชื่นชมใน
    มหากษัตริย์                                                         พระราช-
๑.๔.๓                                                                   กรณียกิจ
    แสดงออก                                                             พระปรีชา
    ซึ่งความ                                                            สามารถ
    จงรักภักดี                                                          ของพระมหา
    ต่อสถาบัน                                                           กษัตริย์
5

     พระมหา                                                        และพระ
     กษัตริย์                                                      ราชวงศ์


เกณฑ์การให้คะแนน                    ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ตัวชี้วัดที่ ๑.๑ เป็นพลเมืองดีของชาติ
พฤติกรรมบ่งชี้    ไม่ผ่าน (๐)       ผ่าน (๑)          ดี (๒)       ดีเยี่ยม (๓)
๑.๑.๑ ยืนตรง    ไม่ยืนตรง        ยืนตรงเมื่อ      ยืนตรงเมื่อ      ยืนตรงเมื่อ
   เคารพ        เคารพธงชาติ      ได้ยินเพลง       ได้ยินเพลง       ได้ยินเพลง
   ธงชาติ ร้อง                   ชาติ ร้อง        ชาติ ร้อง        ชาติ ร้อง
   เพลงชาติ                      เพลงชาติ         เพลงชาติ         เพลงชาติ
   และอธิบาย                     และอธิบาย        และอธิบาย        และอธิบาย
   ความหมาย                      ความหมาย         ความหมาย         ความหมาย
   ของเพลง                       ของเพลงชาติ      ของเพลงชาติ      ของเพลง
   ชาติได้ถูก                    ได้ถูกต้อง       ได้ถูกต้อง       ชาติได้ถูก
   ต้อง                          ปฏิบัติตนตาม     ปฏิบัติตนตาม     ต้อง ปฏิบัติ
๑.๑.๒ ปฏิบัติตน                  สิทธิและ         สิทธิและ         ตนและ
   ตามสิทธิ                      หน้าที่ของ       หน้าที่ของ       ชักชวนผู้อื่น
   หน้าที่                       นักเรียน         พลเมืองดี        ปฏิบัติตาม
   พลเมืองดี                     และให้ความ       และให้ความ       สิทธิและ
   ของชาติ                       ร่วมมือ ร่วมใจ   ร่วมมือ ร่วมใจ   หน้าที่ของ
๑.๑.๓ มีความ                     ในการทำา         ในการทำา         พลเมืองดี
   สามัคคี                       กิจกรรมกับ       กิจกรรมกับ       และให้ความ
   ปรองดอง                       สมาชิกใน         สมาชิกใน         ร่วมมือ
                                 โรงเรียน         โรงเรียน และ     ร่วมใจใน
                                                  ชุมชน            การทำา
                                                                   กิจกรรมกับ
                                                                   สมาชิกใน
                                                                   โรงเรียน
                                                                   ชุมชน และ
                                                                   สังคม

ตัวชี้วัดที่ ๑.๒ ธำารงไว้ซึ่งความเป็นชาติไทย
พฤติกรรมบ่งชี้   ไม่ผ่าน (๐)        ผ่าน (๑)          ดี (๒)       ดีเยี่ยม (๓)
๑.๒.๑ เข้าร่วม ไม่เข้าร่วม       เข้าร่วม         เข้าร่วม         เป็นผู้นำาหรือ
    ส่งเสริม   กิจกรรมที่สร้าง   กิจกรรม และ      กิจกรรม และ      เป็นแบบ
    สนับสนุน   ความสามัคคี       มีส่วนร่วมใน     มีส่วนร่วมใน     อย่าง ในการ
    กิจกรรมที่                   การจัด           การจัด           จัดกิจกรรม
    สร้างความ                    กิจกรรมที่       กิจกรรมที่       ที่สร้างความ
    สามัคคี                      สร้าง            สร้างความ        สามัคคี
6

    ปรองดอง                       ความสามัคคี    สามัคคี        ปรองดอง
    ที่เป็น                       ปรองดอง        ปรองดอง        และเป็น
    ประโยชน์                      และเป็น        และเป็น        ประโยชน์ต่อ
    ต่อโรงเรียน                   ประโยชน์ต่อ    ประโยชน์ต่อ    โรงเรียน
    ชุมชนและ                      โรงเรียน และ   โรงเรียน       ชุมชน และ
    สังคม                         ชุมชน          ชุมชน และ      สังคม
๑.๒.๒ หวงแหน                                     สังคม ชืนชม
                                                          ่     ชื่นชม
    ปกป้อง                                       ในความเป็น     ปกป้อง
    ยกย่อง                                       ชาติไทย        ในความเป็น
    ความเป็น                                                    ชาติไทย
    ชาติไทย


ตัวชี้วัดที่ ๑.๓ ศรัทธา ยึดมั่น และปฏิบัติตนตามหลักของศาสนา
พฤติกรรมบ่งชี้      ไม่ผ่าน (๐)      ผ่าน (๑)        ดี (๒)     ดีเยี่ยม (๓)
๑.๓.๑ เข้าร่วม    ไม่เข้าร่วม     เข้าร่วม       เข้าร่วม       เข้าร่วม
    กิจกรรม       กิจกรรมทาง      กิจกรรม        กิจกรรมทาง     กิจกรรม
    ทางศาสนา      ศาสนาที่ตน      ทางศาสนา       ศาสนาที่ตน     ทางศาสนา
    ที่ตนนับถือ   นับถือ          ที่ตนนับถือ    นับถือ และ     ที่ตนนับถือ
๑.๓.๒ ปฏิบัติ                     และปฏิบัติตน   ปฏิบัติตนตาม   ปฏิบัติตน
    ตนตาม                         ตามหลักของ     หลักของ        ตามหลัก
    หลักของ                       ศาสนาตาม       ศาสนาอย่าง     ของศาสนา
    ศาสนาที่ตน                    โอกาส          สมำ่าเสมอ      อย่าง
    นับถือ                                                      สมำ่าเสมอ
๑.๓.๓ เป็นแบบ                                                   และเป็น
    อย่างที่ดี                                                  แบบอย่างที่
    ของศาสนิ                                                    ดี
    กชน                                                         ของศาสนิ
                                                                กชน




ตัวชี้วัดที่ ๑.๔ เคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์
7

พฤติกรรมบ่งชี้       ไม่ผ่าน (๐)      ผ่าน (๑)         ดี (๒)    ดีเยี่ยม (๓)
๑.๔.๑ เข้าร่วม     ไม่เข้าร่วม     เข้าร่วม       เข้าร่วม       เข้าร่วม
    และมีส่วน      กิจกรรมที่      กิจกรรมที่     กิจกรรม และ    กิจกรรมและ
    ร่วมในการ      เกี่ยวข้องกับ   เกี่ยวกับ      มีส่วนร่วมใน   มีส่วนร่วมใน
    จัดกิจกรรม     สถาบันพระมหา    สถาบันพระ      การจัด         การจัด
    ที่เกี่ยวกับ   กษัตริย์        มหากษัตริย์    กิจกรรมที่     กิจกรรมที่
    สถาบันพระ                      ตามที่         เกี่ยวกับ      เกี่ยวกับ
    มหากษัตริย์                    โรงเรียนและ    สถาบันพระ      สถาบันพระ
๑.๔.๒ แสดง                         ชุมชนจัดขึ้น   มหากษัตริย์    มหากษัตริย์
    ความสำานึก                                    ตามที่         ตามที่
    ในพระ                                         โรงเรียนและ    โรงเรียนและ
    มหากรุณาธิ                                    ชุมชนจัดขึ้น   ชุมชนจัดขึ้น
    คุณของพระ                                                    ชื่นชมใน
    มหากษัตริย์                                                  พระราช-
๑.๔.๓                                                            กรณียกิจ
    แสดงออก                                                      พระปรีชา
    ซึ่งความ                                                     สามารถของ
    จงรักภักดี                                                   พระมหา
    ต่อสถาบัน                                                    กษัตริย์
    พระมหา                                                       และพระ
    กษัตริย์                                                     ราชวงศ์
8




ข้อที่ ๒ ซื่อสัตย์สุจริต
นิยาม
          ซื่อสัตย์สุจริต หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการยึด
มั่นในความถูกต้องประพฤติ ตรงตามความเป็นจริงต่อตนเองและผู้อื่นทั้ง
ทางกาย วาจา ใจ
            ผู้ที่มีความซื่อสัตย์สุจริต คือ ผูที่ประพฤติตรงตามความเป็น
                                              ้
จริงทั้งทางกาย วาจา ใจ และยึดหลักความจริง ความถูกต้องในการ
ดำาเนินชีวิต มีความละอายและเกรงกลัวต่อการกระทำาผิด
ตัวชี้วัด ๒.๑ ประพฤติตรงตามความเป็นจริงต่อตนเองทั้งทาง
กาย วาจา ใจ
           ๒.๒ ประพฤติตรงตามความเป็นจริงต่อผู้อื่นทั้งทางกาย
       วาจา ใจ
ตัวชี้วัดและพฤติกรรมบ่งชี้
      ตัวชี้วัด                            พฤติกรรมบ่งชี้
๒.๑ ประพฤติ           ๒.๑.๑ให้ข้อมูลที่ถูกต้องและเป็นจริง
ตรงตาม        ความ    ๒.๑.๒      ปฏิบัติตนโดยคำานึงถึงความถูกต้องละอาย
เป็นจริงต่อ           และเกรงกลัว
     ตนเองทั้งทาง          ต่อการกระทำาผิด
กาย วาจา ใจ           ๒.๑.๓      ปฏิบัติตามคำามั่นสัญญา
๒.๒ ประพฤติ           ๒.๒.๑      ไม่ถือเอาสิ่งของหรือผลงานของผู้อื่นมาเป็น
ตรงตาม        ความ    ของตนเอง
เป็นจริงต่อ ผู้อื่น   ๒.๒.๒      ปฏิบัติตนต่อผู้อื่นด้วยความซื่อตรง
ทั้งทางกาย            ๒.๒.๓      ไม่หาประโยชน์ในทางที่ไม่ถูกต้อง
     วาจา ใจ
9




เกณฑ์การให้คะแนน                     ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ตั วชี้ วัด ที่ ๒.๑ ประพฤติ ตรงตามความเป็ นจริ งต่ อ ตนเองทั้ ง ทาง
กาย วาจา ใจ
พฤติกรรมบ่งชี้    ไม่ผ่าน (๐)          ผ่าน (๑)          ดี (๒)      ดีเยี่ยม (๓)
๒.๑.๑ ให้ข้อมูล ไม่ให้ข้อมูลที่
                             ถูก   ให้ข้อมูลที่ถูก   ให้ข้อมูลที่    ให้ข้อมูลที่
    ที่ถูกต้อง  ต้องและเป็นจริง    ต้องและเป็น       ถูกต้องและ      ถูกต้องและ
    และเป็นจริง                    จริง ปฏิบัติใน    เป็นจริง        เป็นจริง
๒.๑.๒ ปฏิบัติ                      สิ่งที่ถูกต้อง    ปฏิบัติในสิ่ง   ปฏิบัติในสิ่ง
    ตนโดย                          ทำาตามสัญญา       ที่ถูกต้อง      ที่ถูกต้อง
    คำานึงถึง                      ที่ตนให้ไว้กับ    ทำาตาม          ทำาตาม
    ความถูก                        เพื่อน พ่อแม่     สัญญาที่ตน      สัญญาที่ตน
    ต้องละอาย                      หรือผู้ปกครอง     ให้ไว้กับ       ให้ไว้กับ
    และเกรง                        และครู            เพื่อน          เพื่อน พ่อ
    กลัว ต่อ                       ละอายและ          พ่อแม่ หรือ     แม่ หรือผู้
    การกระทำา                      เกรงกลัวที่จะ     ผู้ปกครอง       ปกครอง
    ผิด                            ทำาความผิด        และครู          และครู
๒.๑.๓ ปฏิบัติ                                        ละอายและ        ละอายและ
    ตาม                                              เกรงกลัวที่จะ   เกรงกลัวที่
                                                     ทำาความผิด      จะทำาความ
     คำามั่น                                                         ผิด เป็นแบบ
     สัญญา                                                           อย่างที่ดี
                                                                     ด้านความ
                                                                     ซื่อสัตย์

ตัวชี้วัดที่ ๒.๒ ประพฤติตรงตามความเป็นจริงต่อผู้อื่นทั้งทางกาย
วาจา ใจ
พฤติกรรมบ่งชี้     ไม่ผ่าน (๐)         ผ่าน (๑)          ดี (๒)      ดีเยี่ยม (๓)
๒.๒.๑ ไม่ถือเอา นำาสิ่งของของ      ไม่นำาสิ่งของ     ไม่นำาสิ่งของ   ไม่นำาสิ่งของ
    สิ่งของหรือ คนอื่นมาเป็น       และผลงาน          และผลงาน        และผลงาน
    ผลงานของ ของตนเอง              ของผู้อื่นมา      ของผู้อื่นมา    ของผู้อื่นมา
    ผู้อื่นมาเป็น                  เป็นของตนเอง      เป็นของ         เป็นของ
    ของตนเอง                       ปฏิบัติตนต่อผู้   ตนเอง           ตนเอง
๒.๒.๒ ปฏิบัติตน                    อื่นด้วยความ      ปฏิบัติตนต่อ    ปฏิบัติตนต่อ
    ต่อผู้อื่นด้วย                 ซื่อตรง           ผู้อื่นด้วย     ผู้อื่นด้วย
    ความ                                             ความซื่อตรง     ความซื่อตรง
    ซื่อตรง                                          ไม่หา           ไม่หา
๒.๒.๓ ไม่หา                                          ประโยชน์ใน      ประโยชน์ใน
10

     ประโยชน์                                        ทางที่            ทางที่ไม่ถูก
     ในทางที่ไม่                                     ไม่ถูกต้อง        ต้อง และ
     ถูกต้อง                                                           เป็นแบบ
                                                                       อย่างที่ดีแก่
                                                                       เพื่อนด้าน
                                                                       ความ
                                                                       ซื่อสัตย์




เกณฑ์การให้คะแนน                     ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ตั วชี้ วัด ที่ ๒.๑ ประพฤติ ตรงตามความเป็ นจริ งต่ อ ตนเองทั้ ง ทาง
กาย วาจา ใจ
พฤติกรรมบ่งชี้    ไม่ผ่าน (๐)          ผ่าน (๑)          ดี (๒)        ดีเยี่ยม (๓)
๒.๑.๑ ให้ข้อมูล ไม่ให้ข้อมูลที่
                             ถูก   ให้ข้อมูลที่ถูก   ให้ข้อมูลที่ถูก   ให้ข้อมูลที่
    ที่ถูกต้อง  ต้องและเป็นจริง    ต้องและเป็น       ต้องและเป็น       ถูกต้องและ
    และเป็นจริง                    จริง ปฏิบัติใน    จริง ปฏิบัติใน    เป็นจริง
๒.๑.๒ ปฏิบัติ                      สิ่งที่ถูกต้อง    สิ่งที่ถูกต้อง    ปฏิบัติในสิ่ง
    ตนโดย                          ทำาตาม            ทำาตาม            ที่ถูกต้อง
    คำานึงถึง                      สัญญาที่ตน        สัญญาที่ตน        ทำาตาม
    ความถูก                        ให้ไว้กับเพื่อน   ให้ไว้กับเพื่อน   สัญญาที่ตน
    ต้องละอาย                      พ่อแม่ หรือผู้    พ่อแม่ หรือผู้    ให้ไว้กับ
    และเกรง                        ปกครอง และ        ปกครอง และ        เพื่อน พ่อ
    กลัวต่อ                        ครู ละอาย         ครู ละอาย         แม่ หรือผู้
    การกระทำา                      และเกรงกลัว       และเกรงกลัว       ปกครอง
    ผิด                            ที่จะทำาความ      ที่จะทำาความ      และครู
๒.๑.๓ ปฏิบัติ                      ผิด               ผิด               ละอายและ
    ตามคำามั่น                                                         เกรงกลัวที่
    สัญญา                                                              จะทำาความ
                                                                       ผิด เป็น
                                                                       แบบอย่างที่
                                                                       ดีด้านความ
                                                                       ซื่อสัตย์

ตัวชี้วัดที่ ๒.๒ ประพฤติตรงตามความเป็นจริงต่อผู้อื่นทั้งทางกาย
วาจา ใจ
11

พฤติกรรมบ่งชี้     ไม่ผ่าน (๐)      ผ่าน (๑)         ดี (๒)      ดีเยี่ยม (๓)
๒.๒.๑ ไม่ถือเอา นำาสิ่งของของ    ไม่นำาสิ่งของ   ไม่นำาสิ่งของ   ไม่นำาสิ่งของ
    สิ่งของหรือ คนอื่นมาเป็น     และผลงาน        และผลงาน        และผลงาน
    ผลงานของ ของตนเอง            ของผู้อื่นมา    ของผู้อื่นมา    ของผู้อื่นมา
    ผู้อื่นมาเป็น                เป็นของ         เป็นของ         เป็นของ
    ของตนเอง                     ตนเอง ปฏิบัติ   ตนเอง ปฏิบัติ   ตนเอง
๒.๒.๒ ปฏิบัติตน                  ตนต่อผู้อื่น    ตนต่อผู้อื่น    ปฏิบัติตนต่อ
    ต่อผู้อื่นด้วย               ด้วยความ        ด้วยความ        ผู้อื่นด้วย
    ความ                         ซื่อตรง         ซื่อตรง ไม่     ความซื่อตรง
    ซื่อตรง                                      หาประโยชน์      ไม่หา
๒.๒.๓ ไม่หา                                      ในทางที่ไม่     ประโยชน์ใน
    ประโยชน์                                     ถูกต้อง         ทางที่ไม่ถูก
    ในทางที่                                                     ต้อง และ
    ไม่ถูกต้อง                                                   เป็นแบบ
                                                                 อย่างที่ดี
                                                                 ด้านความ
                                                                 ซื่อสัตย์




ข้อที่ ๓ มีวินัย
นิยาม
         มีวินัย หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการยึดมั่นในข้อ
ตกลง กฎเกณฑ์ และระเบียบข้อบังคับของครอบครัว โรงเรียน และสังคม
           ผู้ที่มีวินัย คือ ผูที่ปฏิบัติตนตามข้อตกลง กฎเกณฑ์
                               ้
ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครัว โรงเรียน และสังคมเป็นปกติวิสัย ไม่
ละเมิดสิทธิของผู้อื่น
ตัวชี้วัด ๓.๑ ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคับ
ของครอบครัว โรงเรียน และสังคม
ตัวชี้วัดและพฤติกรรมบ่งชี้
    ตัวชี้วัด                    พฤติกรรมบ่งชี้
๓.๑ ปฏิบัติตาม ๓.๑.๑ปฏิบัติตน ตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อ
       ข้อตกลง บังคับ
12

   กฎเกณฑ์               ของครอบครัว โรงเรียนและสังคม ไม่ละเมิดสิทธิ
   ระเบียบ ข้อ     ของผู้อื่น
   บังคับ ของ      ๓.๑.๒         ตรงต่อเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ใน
   ครอบครัว        ชีวิตประจำาวัน และ
   โรงเรียน และ          รับผิดชอบในการทำางาน
   สังคม

เกณฑ์การให้คะแนน                    ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ตัวชี้วัดที่ ๓.๑ ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของ
ครอบครัว โรงเรียนและสังคม
พฤติกรรมบ่งชี้      ไม่ผ่าน (๐)      ผ่าน (๑)         ดี (๒)       ดีเยี่ยม (๓)
๓.๑.๑ ปฏิบัติตน   ไม่ปฏิบัติตน    ปฏิบัติตามข้อ    ปฏิบัติตาม      ปฏิบตตาม
                                                                         ั ิ
    ตามข้อ        ตามข้อตกลง      ตกลง กฎ          ข้อตกลง         ข้อตกลง
    ตกลง กฎ       กฎเกณฑ์         เกณฑ์            กฎเกณฑ์         กฎเกณฑ์
    เกณฑ์         ระเบียบ ข้อ     ระเบียบ ข้อ      ระเบียบ ข้อ     ระเบียบ ข้อ
    ระเบียบข้อ    บังคับของ       บังคับของ        บังคับ ของ      บังคับของ
    บังคับของ     ครอบครัวและ     ครอบครัวและ      ครอบครัว        ครอบครัว
    ครอบครัว      โรงเรียน        โรงเรียน ตรง     และโรงเรียน     โรงเรียน
    โรงเรียน                      ต่อเวลาในการ     ตรงต่อเวลา      และสังคม
    และสังคม                      ปฏิบัติกิจกรรม   ในการปฏิบัติ    ไม่ละเมิด
    ไม่ละเมิด                     ต่าง ๆ ในชีวติ   กิจกรรมต่าง     สิทธิของผู้
    สิทธิของผู้                   ประจำาวัน        ๆ ในชีวต
                                                          ิ        อื่น ตรง
    อื่น                                           ประจำาวัน       ต่อเวลา
๓.๑.๒ ตรงต่อ                                       และรับผิด       ในการ
    เวลาในการ                                      ชอบในการ        ปฏิบัติ
    ปฏิบัติ                                        ทำางาน          กิจกรรมต่าง
    กิจกรรม                                                        ๆ
    ต่าง ๆ ใน                                                      ในชีวิต
    ชีวิตประจำา                                                    ประจำาวัน
    วัน และรับ                                                     และรับผิด
    ผิดชอบใน                                                       ชอบในการ
    การทำางาน                                                      ทำางาน


เกณฑ์การให้คะแนน                    ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ตัวชี้วัดที่ ๓.๑ ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคับ
ของครอบครัว โรงเรียนและสังคม
พฤติกรรมบ่งชี้  ไม่ผ่าน (๐)        ผ่าน (๑)           ดี (๒)       ดีเยี่ยม (๓)
๓.๑.๑ ปฏิบัติ  ไม่ปฏิบัติตน       ปฏิบัติตามข้อ    ปฏิบัติตามข้อ   ปฏิบัติตาม
13

    ตนตามข้อ      ตามข้อตกลง    ตกลง กฎ         ตกลง กฎ         ข้อตกลง
    ตกลง กฎ       กฎเกณฑ์       เกณฑ์           เกณฑ์           กฎเกณฑ์
    เกณฑ์         ระเบียบ ข้อ   ระเบียบ ข้อ     ระเบียบ ข้อ     ระเบียบ ข้อ
    ระเบียบ ข้อ   บังคับของ     ตกลง ของ        ตกลงของ         ตกลง ของ
    บังคับของ     ครอบครัวและ   ครอบครัว        ครอบครัว        ครอบครัว
    ครอบครัว      โรงเรียน      และโรงเรียน     โรงเรียน และ    โรงเรียน
    โรงเรียน                    ตรงต่อเวลา      สังคม ไม่       และสังคม
    และสังคม                    ในการปฏิบัติ    ละเมิดสิทธิ     ไม่ละเมิด
    ไม่ละเมิด                   กิจกรรมต่าง ๆ   ของผู้อื่น      สิทธิของผู้
    สิทธิของผู้                 ในชีวิตประจำา   ตรงต่อเวลา      อื่น ตรง
    อื่น                        วัน             ในการปฏิบัติ    ต่อเวลา
๓.๑.๒ ตรงต่อ                    และรับผิด       กิจกรรมต่าง ๆ   ในการ
    เวลาในการ                   ชอบ             ในชีวิตประจำา   ปฏิบัติ
    ปฏิบัติ                     ในการทำางาน     วัน             กิจกรรมต่าง
    กิจกรรม                                     และรับผิด       ๆ
    ต่าง ๆ                                      ชอบ             ในชีวิต
    ในชีวิต                                     ในการทำางาน     ประจำาวัน
    ประจำาวัน                                                   และรับผิด
    และรับผิด                                                   ชอบในการ
    ชอบในการ                                                    ทำางาน
    ทำางาน                                                      ปฏิบัติเป็น
                                                                ปกติวิสัย
                                                                และเป็น
                                                                แบบอย่างที่
                                                                ดี
14



ข้อที่ ๔ ใฝ่เรียนรู้
นิยาม
            ใฝ่เรียนรู้ หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจ
เพียรพยายามในการเรียน แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและ
ภายนอกโรงเรียน
            ผู้ที่ใฝ่เรียนรู้ คือ ผู้ทมีลักษณะซึ่งแสดงออกถึงความตั้งใจ
                                      ี่
เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ แสวงหาความรู้
จากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนอย่างสมำ่าเสมอ ด้วยการ
เลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปเป็นองค์ความรู้
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถ่ายทอด เผยแพร่ และนำาไปใช้ในชีวิตประจำาวันได้
ตัวชี้วัด ๔.๑ ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วม
กิจกรรมการเรียนรู้
          ๔.๒ แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ ต่าง ๆ ทั้งภายใน
และภายนอกโรงเรียน
             ด้วยการเลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม สรุปเป็นองค์
             ความรู้ และสามารถนำาไปใช้
             ในชีวิตประจำาวันได้
ตัวชี้วัดและพฤติกรรมบ่งชี้
       ตัวชี้วัด                            พฤติกรรมบ่งชี้
๔.๑ ตั้งใจ เพียร     ๔.๑.๑        ตั้งใจเรียน
   พยายาม ใน         ๔.๑.๒        เอาใจใส่และมีความเพียรพยายามในการเรียน
   การเรียนและ       รู้
   เข้าร่วม          ๔.๑.๓        สนใจเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ
   กิจกรรมการ
   เรียนรู้
๔.๒ แสวงหา           ๔.๒.๑          ศึกษาค้นคว้าหาความรู้จากหนังสือ เอกสาร
ความรู้จาก                   สิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยีต่าง ๆ แหล่งเรียนรู้ทั้งภายใน
    แหล่งเรียนรู้            และภายนอกโรงเรียน และเลือกใช้สื่อได้อย่างเหมาะ
ต่าง ๆ                       สม
   ทั้งภายในและ      ๔.๒.๒          บันทึกความรู้ วิเคราะห์ตรวจสอบ จากสิ่งที่
   ภายนอก            เรียนรู้ สรุปเป็นองค์ความรู้
   โรงเรียน ด้วย     ๔.๒.๓          แลกเปลี่ยนความรู้ ด้วยวิธีการต่าง ๆ และนำา
   การเลือกใช้สื่อ   ไปใช้ในชีวิตประจำาวัน
   อย่างเหมาะสม
   สรุปเป็นองค์
   ความรู้ และ
15

      สามารถนำาไป
      ใช้ใน
      ชีวิตประจำาวัน
ได้




เกณฑ์การให้คะแนน                             ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ตั ว ชี้ วั ด ที่ ๔.๑   ตั้ ง ใจ เพี ย รพยายาม ในการเรี ย นและเข้ า ร่ ว ม
กิจกรรม
  พฤติกรรมบ่งชี้    ไม่ผ่าน (๐)         ผ่าน (๑)           ดี (๒)      ดีเยี่ยม (๓)
 ๔.๑.๑ ตั้งใจ      ไม่ตงใจเรียน
                       ั้           เข้าเรียนตรง     เข้าเรียนตรง      เข้าเรียนตรง
 เรียน                              เวลา ตังใจ ้     เวลา ตังใจ  ้     เวลา ตังใจ ้
 ๔.๑.๒ เอาใจใส่                     เรียน เอาใจใส่   เรียน เอาใจ       เรียน เอาใจ
       และมีความ                    ในการเรียน มี    ใส่ และมีความ     ใส่ และมี
       เพียร                        ส่วนร่วมในการ    เพียรพยายาม       ความเพียร
       พยายามใน                     เรียนรูและเข้า
                                           ้         ในการเรียนรู้     พยายามใน
       การเรียนรู้                  ร่วมกิจกรรม      มีสวนร่วมใน
                                                         ่             การเรียนรู้ มี
 ๔.๑.๓ เข้าร่วม                     การเรียนรู้      การเรียนรูและ ้   ส่วนร่วมใน
       กิจกรรม                      ต่าง ๆ เป็น      เข้าร่วม          การเรียนรู้
       การเรียนรู้                  บางครัง  ้       กิจกรรมการ        และเข้าร่วม
       ต่าง ๆ                                        เรียนรูตาง ๆ
                                                             ้ ่       กิจกรรมการ
                                                     บ่อยครัง  ้       เรียนรูตาง ๆ
                                                                              ้ ่
                                                                       ทังภายใน
                                                                          ้
                                                                       และภายนอก
                                                                       โรงเรียนเป็น
                                                                       ประจำา

ตัวชี้วัดที่ ๔.๒ แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ ต่าง ๆ ทั้งภายในและ
ภายนอกโรงเรียน ด้วยการเลือกใช้สื่อ
             อย่างเหมาะสม สรุปเป็นองค์ความรู้ สามารถนำาไปใช้ใชีวต
                                                                ิ
ประจำาวันได้
 พฤติกรรมบ่งชี้  ไม่ผ่าน (๐)           ผ่าน (๑)         ดี (๒)         ดีเยี่ยม (๓)
 ๔.๒.๑ ศึกษา    ไม่ศกษาค้นคว้า
                    ึ               ศึกษาค้นคว้า     ศึกษาค้นคว้า      ศึกษาค้นคว้า
16

     ค้นคว้า         หาความรู้          ความรูจาก
                                               ้          หาความรูจาก้      หาความรูจาก้
     หาความรู้                          หนังสือ           หนังสือ           หนังสือ
     จากหนังสือ                         เอกสาร สิ่ง       เอกสาร สิ่ง       เอกสาร สิง   ่
     เอกสาร สิ่ง                        พิมพ์ สื่อ        พิมพ์ สื่อ        พิมพ์ สือ
                                                                                    ่
     พิมพ์ สือ  ่                       เทคโนโลยี         เทคโนโลยี         เทคโนโลยี
     เทคโนโลยี                          แหล่งเรียนรู้     และ               และ
     ต่าง ๆ                             ทั้งภายในและ      สารสนเทศ          สารสนเทศ
     แหล่งเรียนรู้                      ภายนอก            แหล่งเรียนรู้     แหล่งเรียนรู้
     ทังภายใน
        ้                               โรงเรียน          ทั้งภายในและ      ทั้งภายใน
     และภายนอก                          เลือกใช้สื่อได้   ภายนอก            และ
     โรงเรียน                           อย่างเหมาะ        โรงเรียน และ      ภายนอก
     และเลือก                           สม และ            เลือกใช้สื่อได้   โรงเรียน
     ใช้สื่อได้                         มีการบันทึก       อย่างเหมาะ        เลือกใช้สอ     ื่
     อย่างเหมาะ                         ความรู้           สม                ได้อย่าง
     สม                                                   มีการบันทึก       เหมาะสม มี
 ๔.๒.๒ บันทึก                                             ความรู้           การบันทึก
     ความรู้                                              วิเคราะห์         ความรู้
     วิเคราะห์                                            ข้อมูล สรุป       วิเคราะห์
     ข้อมูล จาก                                           เป็นองค์ความ      ข้อมูล สรุป
     สิ่งที่เรียนรู้                                      รู้ และ แลก       เป็นองค์ความ
     สรุปเป็น                                             เปลี่ยนเรียนรู้   รู้ และแลก
     องค์ความรู้                                          กับผู้อื่นได้     เปลี่ยนเรียน
 ๔.๒.๓ แลก                                                                  รู้ ด้วยวิธี
     เปลียนเรียนรู้
            ่                                                               การที่หลาก
     ด้วยวิธีการ                                                            หลาย และ
     ต่าง ๆ และ                                                             นำาไปใช้ใน
     นำาไปใช้ใน                                                             ชีวิตประจำา
     ชีวตประจำา
          ิ                                                                 วันได้
     วัน


เกณฑ์การให้คะแนน                        ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ตั ว ชี้ วั ด ที่ ๔.๑      ตั้ ง ใจ เพี ย รพยายาม ในการเรี ย นและเข้ า ร่ ว ม
กิจกรรม
 พฤติกรรมบ่งชี้          ไม่ผ่าน (๐)      ผ่าน (๑)           ดี (๒)         ดีเยี่ยม (๓)
 ๔.๑.๑ ตั้งใจ           ไม่ตังใจเรียน
                             ้          เข้าเรียนตรง      เข้าเรียนตรง      เข้าเรียนตรง
 เรียน                                  เวลา ตั้งใจ       เวลา ตั้งใจ       เวลา ตั้งใจ
 ๔.๑.๒ เอาใจใส่                         เรียน เอาใจใส่    เรียน เอาใจใส่    เรียน เอาใจ
       และมีความ                        และมีความ         และมีความ         ใส่ และมี
       เพียร                            เพียรพยายาม       เพียรพยายาม       ความเพียร
       พยายามใน                         ในการเรียนรู้     ในการเรียนรู้     พยายามใน
17

    การเรียนรู้                        มีส่วนร่วมในการ      มีส่วนร่วมใน        การเรียนรู้ มี
๔.๑.๓ เข้าร่วม                         เรียนรู้และเข้า      การเรียนรู้และ      ส่วนร่วมใน
    กิจกรรมการ                         ร่วมกิจกรรมการ       เข้าร่วม            การเรียนรู้
    เรียนรู้ต่าง ๆ                     เรียนรู้   ต่าง ๆ    กิจกรรมการ          และเข้าร่วม
                                       บางครั้ง             เรียนรู้ต่าง ๆ      กิจกรรมการ
                                                            ทั้งภายในและ        เรียนรู้ต่าง ๆ
                                                            ภายนอก              ทั้งภายใน
                                                            โรงเรียนบ่อย        และภายนอก
                                                            ครั้ง               โรงเรียนเป็น
                                                                                ประจำา และ
                                                                                เป็นแบบ
                                                                                อย่างที่ดี

ตัวชี้วัดที่ ๒ แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ ต่าง ๆ ทั้งภายในและ
ภายนอกโรงเรียน ด้วยการเลือกใช้สื่อ              อย่างเหมาะสม สรุป
เป็นองค์ความรู้ สามารถนำาไปใช้ในชีวตประจำาวันได้
                                   ิ
พฤติกรรมบ่งชี้         ไม่ผ่าน (๐)      ผ่าน (๑)              ดี (๒)          ดีเยี่ยม (๓)
๔.๒.๑ ศึกษา            ไม่ศกษา
                           ึ         ศึกษาค้นคว้า          ศึกษาค้นคว้า      ศึกษาค้นคว้า
     ค้นคว้า           ค้นคว้า       ความรูจาก
                                            ้              หาความรูจาก้      หาความรูจาก
                                                                                       ้
     หาความรู้         หาความรู้     หนังสือ เอกสาร        หนังสือ           หนังสือ เอกสาร
     จากหนังสือ                      สิ่งพิมพ์ สื่อ        เอกสาร สิ่ง       สิ่งพิมพ์ สื่อ
     เอกสาร สิ่ง                     เทคโนโลยี             พิมพ์ สื่อ        เทคโนโลยี และ
     พิมพ์ สือ  ่                    แหล่งเรียนรู้ ทั้ง    เทคโนโลยี         สารสนเทศ
     เทคโนโลยี                       ภายในและ              และ               แหล่งเรียนรู้
     ต่าง ๆ แหล่ง                    ภายนอก                สารสนเทศ          ทั้งภายในและ
     เรียนรู้ทั้ง                    โรงเรียน เลือก        แหล่งเรียนรู้     ภายนอก
     ภายในและ                        ใช้สื่อได้อย่าง       ทั้งภายในและ      โรงเรียน เลือก
     ภายนอก                          เหมาะสม และ           ภายนอก            ใช้สื่อ
     โรงเรียน                        มีการบันทึก           โรงเรียน          ได้อย่างเหมาะ
     และเลือกใช้                     ความรู้               และเลือกใช้       สม              มี
     สื่อได้อย่าง                                          สื่อได้อย่าง      การบันทึกความ
     เหมาะสม                                               เหมาะสม           รู้ วิเคราะห์
๔.๒.๒ บันทึก                                               มีการบันทึก       ข้อมูล สรุปเป็น
     ความรู้                                               ความรู้           องค์ความรู้ แลก
     วิเคราะห์                                             วิเคราะห์         เปลี่ยนเรียนรู้
     ข้อมูล จาก                                            ข้อมูล สรุป       ด้วยวิธีการที่
     สิ่งที่เรียนรู้                                       เป็นองค์ความ      หลากหลาย
     สรุปเป็นองค์                                          รู้ แลกเปลี่ยน    และเผยแพร่แก่
     ความรู้                                               เรียนรู้กับ ผู้   บุคคลทั่วไปนำา
๔.๒.๓ แลก                                                  อื่นได้และนำา     ไปใช้ในชีวิต
     เปลี่ยนเรียน                                          ไปใช้ในชีวิต      ประจำาวันได้
     รู้ด้วยวิธีการ                                        ประจำาวันได้
     ต่าง ๆ เพื่อ
     นำาไปใช้ใน
18

     ชีวิตประจำา
     วัน

ข้อที่ ๕ อยูอย่างพอเพียง
            ่
นิยาม
            อยู่อย่างพอเพียง หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการ
ดำาเนินชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม มีภูมิคุ้มกัน
ในตัวที่ดี และปรับตัวเพื่ออยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
            ผู้ที่อยู่อย่างพอเพียง คือ ผู้ที่ดำาเนินชีวิตอย่างประมาณตน
มีเหตุผล รอบคอบ ระมัดระวัง อยู่รวมกับผู้อื่นด้วยความรับผิดชอบ ไม่
                                   ่
เบียดเบียนผู้อื่น เห็นคุณค่าของทรัพยากรต่าง ๆ มีการวางแผนป้องกัน
ความเสี่ยงและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง
ตัวชี้วัด ๕.๑. ดำาเนินชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ
มีคุณธรรม
          ๕.๒ มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ปรับตัวเพื่ออยู่ในสังคมได้
อย่างมีความสุข
ตัวชี้วัดและพฤติกรรมบ่งชี้
       ตัวชี้วัด                           พฤติกรรมบ่งชี้
 ๕.๑ ดำาเนินชีวิต ๕.๑.๑          ใช้ ท รั พ ย์ สิ น ของตนเอง เช่ น เงิ น สิ่ ง ของ
อย่าง พอประมาณ เครื่องใช้ ฯลฯ อย่าง
    มีเหตุผล                     ประหยัด คุ้มค่าและเก็บรักษาดูแลอย่างดี รวม
รอบคอบ มี           ทั้งการใช้เวลาอย่าง
คุณธรรม                    เหมาะสม
                    ๕.๑.๒        ใช้ทรัพยากรของส่วนรวมอย่างประหยัด คุ้ม
                    ค่าและเก็บรักษาดูแลอย่างดี
                    ๕.๑.๓        ปฏิบัติตนและตัดสินใจด้วยความรอบคอบ มี
                    เหตุผล
                    ๕.๑.๔        ไม่เอาเปรียบผู้อื่นและไม่ทำาให้ผู้อื่นเดือดร้อน
                           พร้อมให้อภัยเมื่อผู้อื่น     กระทำาผิดพลาด
๕.๒ มีภมิคุ้มกัน
          ู         ๕.๒.๑        วางแผนการเรียน การทำางานและการใช้ชีวิต
ในตัวที่ดี ปรับ     ประจำาวันบนพื้นฐาน
ตัวเพื่ออยู่ใน                   ของความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร
    สังคมได้        ๕.๒.๒        รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพ
อย่างมี        ความ       แวดล้อม ยอมรับและ            ปรับตัวเพื่ออยู่ร่วมกับผู้อื่น
สุข                       ได้อย่างมีความสุข
19




เกณฑ์การให้คะแนน                         ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ตัวชี้วัดที่ ๕.๑         ดำาเนินชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ
มีคุณธรรม
 พฤติกรรมบ่งชี้           ไม่ผ่าน (๐)      ผ่าน (๑)        ดี (๒)        ดีเยี่ยม (๓)
๕.๑.๑        ใช้          ใช้เงินและ    ใช้ทรัพย์สิน   ใช้ทรัพย์สิน      ใช้ทรัพย์สิน
    ทรัพย์สนของิ          ของใช้ส่วน    ของตนเอง       ของตนเอง          ของตนเอง
    ตนเอง เช่น            ตัวอย่างไม่   และทรัพยากร    และทรัพยากร       และ
    เงิน สิ่งของ          ประหยัด       ของส่วนรวม     ของส่วนรวม        ทรัพยากร
    เครื่องใช้ ฯลฯ                      อย่างประหยัด   อย่างประหยัด      ของส่วนรวม
    อย่าง ประหยัด                       คุ้มค่า เก็บ   คุ้มค่า เก็บ      อย่าง
    คุมค่าและเก็บ
        ้                               รักษาดูแล      รักษาดูแล         ประหยัด คุ้ม
    รักษาดูแลอย่าง                      อย่างดี        อย่างดี           ค่า เก็บ
    ดี รวมทังการใช้
                 ้                      รอบคอบ มี      รอบคอบ มี         รักษาดูแล
    เวลาอย่างเหมาะ                      เหตุผล         เหตุผล            อย่างดี
    สม                                                 ไม่เอาเปรียบผู้   รอบคอบ มี
๕.๑.๒        ใช้                                       อืน และไม่
                                                         ่               เหตุผล
    ทรัพยากรของ                                        ทำาให้ผู้อื่น     ไม่เอาเปรียบ
    ส่วนรวมอย่าง                                       เดือดร้อน         ผูอน ไม่
                                                                           ้ ื่
    ประหยัด คุ้ม                                                         ทำาให้ผู้อื่น
    ค่าและเก็บ                                                           เดือดร้อน
    รักษาดูแล                                                            และให้อภัย
    อย่างดี                                                              เมื่อผู้อื่น
๕.๑.๓ ปฏิบัติตน                                                          กระทำาผิด
    และตัดสินใจ                                                          พลาด
    ด้วยความ
    รอบคอบ
    มีเหตุผล
๕.๑.๔ ไม่เอา
    เปรียบผู้อื่น
    และไม่ทำาให้ผู้
    อืนเดือดร้อน
      ่
    พร้อมให้อภัย
    เมื่อผู้อื่นกระทำา
20

       ผิดพลาด
ตั ว ชี้ วั ด ที่ ๕.๒ มี ภูมิ คุ้ ม กั น ในตั ว ที่ ดี ปรั บ ตั ว เพื่ อ อยู่ ใ นสั ง คมได้
อย่างมีความสุข
 พฤติกรรมบ่งชี้      ไม่ผ่าน (๐)     ผ่าน (๑)                  ดี (๒)       ดีเยี่ยม (๓)
 ๕.๒.๑ วางแผน      ไม่วางแผนการ ใช้ ความรู้                ใช้ ความรู้      ใช้ ความรู้
    การเรียน       เรียนและการใช้ ข้อมูล                   ข้อมูล           ข้อมูล
    การทำางาน      ชีวิตประจำาวัน ข่าวสาร ใน               ข่าวสารใน        ข่าวสารใน
    และการใช้                     การวางแผน                การวางแผน        การวางแผน
    ชีวตประจำา
       ิ                          การเรียน                 การเรียน         การเรียน
    วันบนพืน  ้                   การทำางาน                การทำางาน        การทำางาน
    ฐานของ                        และใช้                   และใช้           และใช้ใน
    ความรู้                       ในชีวิตประจำา            ในชีวิตประจำา    ชีวตประจำาวัน
                                                                                ิ
    ข้อมูล                        วัน                      วัน              ยอมรับ การ
    ข่าวสาร                       รับรู้การ                ยอมรับการ        เปลียนแปลง
                                                                                     ่
 ๕.๒.๒ รู้เท่าทัน                 เปลียนแปลง
                                        ่                  เปลียนแปลง
                                                               ่            ของ
    การ                           ของครอบครัว              ของครอบครัว      ครอบครัว
    เปลี่ยนแปลง                   ชุมชน และ                ชุมชน สังคม      ชุมชน สังคม
    ของสังคม                      สภาพ                     และสภาพ          สภาพ
    และสภาพ                       แวดล้อม                  แวดล้อม          แวดล้อม
    แวดล้อม                                                                 และปรับตัว
    ยอมรับ และ                                                              อยูรวมกับผู้
                                                                                  ่่
    ปรับตัวอยู่                                                             อืน
                                                                              ่
    ร่วมกับผู้อื่น                                                          ได้อย่างมี
    ได้อย่างมี                                                              ความสุข
    ความสุข

เกณฑ์การให้คะแนน                                 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ตัวชี้วัดที่ ๕.๑        ดำาเนินชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ
มีคุณธรรม
 พฤติกรรมบ่งชี้          ไม่ผ่าน (๐)        ผ่าน (๑)           ดี (๒)       ดีเยี่ยม (๓)
 ๕.๑.๑       ใ ช้      ใช้เงินและ        ใช้ทรัพย์สิน      ใช้ทรัพย์สิน     ใช้ทรัพย์สิน
     ท รั พ ย์ สิ น    ของใช้ส่วน        ของตนเอง          ของตนเอง         ของตนเอง
     ของ               ตัวอย่างไม่       และทรัพยากร       และทรัพยากร      และ
     ตนเอง เช่น        ประหยัด           ของส่วนรวม        ของส่วนรวม       ทรัพยากร
     เงิน สิ่งของ                        อย่างประหยัด      อย่างประหยัด     ของส่วนรวม
     เครื่องใช้                          คุ้มค่า เก็บ      คุ้มค่า   เก็บ   อย่าง
     ฯลฯ อย่าง                           รักษาดูแล         รักษาดูแล        ประหยัด คุ้ม
             ประห                        อย่างดี           อย่างดี          ค่า เก็บ
     ยั ด คุ้ ม ค่ า                     รอบคอบ มี         รอบคอบ มี        รักษาดูแล
     แ ล ะ เ ก็ บ                        เหตุผล            เหตุผล           อย่างดี
21

    รั ก ษ า ดู แ ล             ไม่เอาเปรียบผู้   ไม่เอาเปรียบผู้    ตัดสินใจ
    อย่างดี รวม                 อืน และไม่
                                  ่               อืน ไม่ทำาให้ผู้
                                                     ่               ด้วยความ
    ทั้ ง ก า ร ใ ช้            ทำาให้ผู้อื่น     อื่นเดือดร้อน      รอบคอบ มี
    เวลาอย่ า ง                 เดือดร้อน         และให้อภัย         เหตุผล
    เหมาะสม                                       เมื่อผู้อื่น       ไม่เอาเปรียบ
๕.๑.๒        ใช้                                  กระทำาผิด          ผูอน ไม่
                                                                        ้ ื่
    ทรัพยากร                                      พลาด               ทำาให้ผู้อื่น
    ของส่วน                                                          เดือดร้อน
    รวมอย่าง                                                         ให้อภัยเมื่อ
    ประหยัด                                                          ผู้อื่นกระทำา
    คุ้มค่าและ                                                       ผิดพลาด
    เก็บรักษา                                                        และเป็น
    ดูแลอย่างดี                                                      แบบอย่างที่
                                                                     ดี
๕.๑.๓ ปฏิบัติ
      ตนและ
      ตัดสินใจ
      ด้วยความ
      รอบคอบ
      มีเหตุผล
๕ .๑ .๔ ไ ม่ เ อ า
      เปรี ย บผู้ อื่ น
      แ ล ะ ไ ม่
      ทำา ใ ห้ ผู้ อื่ น
      เ ดื อ ด ร้ อ น
      พ ร้ อ ม ใ ห้
      อภั ย เมื่ อ ผู้
      อื่ น ก ร ะ ทำา
      ผิดพลาด




ตัวชี้วัดที่ ๕.๒ มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ปรับตัวเพื่ออยู่ในสังคมได้
อย่างมีความสุข
พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (๐)        ผ่าน (๑)           ดี (๒)          ดีเยี่ยม (๓)
๕.๒.๑ วางแผน ไม่วางแผนการ       ใช้ความรู้        ใช้ความรู้         ใช้ความรู้
22

    การเรียน      เรียนและการใช้   ข้อมูลข่าวสาร   ข้อมูลข่าวสาร     ข้อมูล
    การทำางาน ชีวิตประจำาวัน       ในการวางแผน     ในการวางแผน       ข่าวสารใน
    และการใช้                      การเรียน การ    การเรียน การ      การวางแผน
    ชีวตประจำา
        ิ                          ทำางานและ       ทำางานและ         การเรียน
    วันบนพืน  ้                    การใช้ในชีวิต   การใช้ในชีวิต     การทำางาน
    ฐานของ                         ประจำาวัน       ประจำาวัน         และการใช้
    ความรู้                        และยอมรับ       ยอมรับ การ        ในชีวิต
    ข้อมูล                         การ             เปลียนแปลง
                                                       ่             ประจำาวัน รู้
    ข่าวสาร                        เปลียนแปลง
                                       ่           ของครอบครัว       เท่าทันกับ
๕.๒.๒ รู้เท่าทัน                   ของครอบครัว     ชุมชน สังคม       การ
    การ                            ชุมชน สังคม     และสภาพ           เปลี่ยนแปล
    เปลี่ยนแปล                     และสภาพ         แวดล้อม และ       งของ
    งของสังคม                      แวดล้อม         ปรับตัวอยู่ร่วม   ครอบครัว
    และสภาพ                                        กับผู้อื่นได้     ชุมชน
    แวดล้อม                                        อย่างมีความ       สังคม และ
    ยอมรับ                                         สุข               สภาพ
    และปรับตัว                                                       แวดล้อม
    เพื่ออยู่ร่วม                                                    และปรับตัว
    กับผู้อื่นได้                                                    เพื่อ อยู่ร่วม
    อย่างมี                                                          กับผู้อื่น
    ความสุข                                                          ได้อย่างมี
                                                                     ความสุข
23


ข้อที่ ๖ มุ่งมั่นในการทำางาน
นิยาม
          มุ่งมั่นในการทำางาน หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึง
ความตั้งใจและรับผิดชอบในการทำาหน้าที่การงาน ด้วยความเพียร
พยายาม อดทน เพื่อให้งานสำาเร็จตามเป้าหมาย
           ผู้ที่มุ่งมั่นในการทำางาน คือ ผู้ที่มลักษณะซึ่งแสดงออกถึง
                                                ี
ความตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ทได้รับมอบหมายด้วยความเพียรพยายาม ทุมเท
                           ี่                                    ่
กำาลังกาย กำาลังใจ ในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ให้สำาเร็จลุล่วง ตามเป้า
หมายที่กำาหนดด้วยความรับผิดชอบ และมีความภาคภูมิใจในผลงาน
ตัวชี้วัด   ๖.๑ ตั้งใจและรับผิดชอบในหน้าที่การงาน
            ๖.๒ ทำางานด้วย ความเพียรพยายาม และ อดทนเพื่อให้
            งานสำาเร็จตามเป้าหมาย
ตัวชี้วัดและพฤติกรรมบ่งชี้
      ตัวชี้วัด                       พฤติกรรมบ่งชี้
๖.๑ ตั้งใจและรับ    ๖.๑.๑      เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบ
ผิดชอบ        ใน    หมาย
การปฏิบัติหน้าที่   ๖.๑.๒      ตั้งใจและรับผิดชอบในการทำางานให้สำาเร็จ
     การงาน         ๖.๑.๓      ปรับปรุงและพัฒนาการทำางานด้วยตนเอง
๖.๒ ทำางานด้วย      ๖.๒.๑      ทุ่มเททำางาน อดทน ไม่ย่อท้อต่อปัญหาและ
   ความเพียร        อุปสรรคในการทำางาน
   พยายาม และ       ๖.๒.๒      พยายามแก้ปัญหาและอุปสรรคในการทำางาน
   อดทนเพื่อให้     ให้สำาเร็จ
   งานสำาเร็จตาม    ๖.๒.๓      ชื่นชมผลงานด้วยความภาคภูมิใจ
   เป้าหมาย
คุณลักษณะ หลักสูตร 51
คุณลักษณะ หลักสูตร 51
คุณลักษณะ หลักสูตร 51
คุณลักษณะ หลักสูตร 51
คุณลักษณะ หลักสูตร 51
คุณลักษณะ หลักสูตร 51
คุณลักษณะ หลักสูตร 51
คุณลักษณะ หลักสูตร 51
คุณลักษณะ หลักสูตร 51
คุณลักษณะ หลักสูตร 51
คุณลักษณะ หลักสูตร 51
คุณลักษณะ หลักสูตร 51
คุณลักษณะ หลักสูตร 51
คุณลักษณะ หลักสูตร 51
คุณลักษณะ หลักสูตร 51
คุณลักษณะ หลักสูตร 51
คุณลักษณะ หลักสูตร 51
คุณลักษณะ หลักสูตร 51
คุณลักษณะ หลักสูตร 51
คุณลักษณะ หลักสูตร 51
คุณลักษณะ หลักสูตร 51
คุณลักษณะ หลักสูตร 51
คุณลักษณะ หลักสูตร 51
คุณลักษณะ หลักสูตร 51

Contenu connexe

Tendances

ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
website22556
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
Wareerut Hunter
 
หลักสูตรลูกเสือสามัญ
หลักสูตรลูกเสือสามัญหลักสูตรลูกเสือสามัญ
หลักสูตรลูกเสือสามัญ
watdang
 
โครงการค่ายคุณธรรม
โครงการค่ายคุณธรรมโครงการค่ายคุณธรรม
โครงการค่ายคุณธรรม
phochai
 
บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2
Pattama Poyangyuen
 
แผนปฐมนิเทศ 1
แผนปฐมนิเทศ  1แผนปฐมนิเทศ  1
แผนปฐมนิเทศ 1
watdang
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
flimgold
 
ใบงาน เศษส่วนกับทศนิยม
ใบงาน เศษส่วนกับทศนิยมใบงาน เศษส่วนกับทศนิยม
ใบงาน เศษส่วนกับทศนิยม
kanjana2536
 
2. บันได 5 ขั้นqsccs
2. บันได 5 ขั้นqsccs2. บันได 5 ขั้นqsccs
2. บันได 5 ขั้นqsccs
krurutsamee
 
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนโจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
Nok Yupa
 
กำหนดการสอนม.1จ้า
กำหนดการสอนม.1จ้ากำหนดการสอนม.1จ้า
กำหนดการสอนม.1จ้า
krusuparat01
 

Tendances (20)

ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
Punmanee study 7
Punmanee study 7Punmanee study 7
Punmanee study 7
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
หลักสูตรลูกเสือสามัญ
หลักสูตรลูกเสือสามัญหลักสูตรลูกเสือสามัญ
หลักสูตรลูกเสือสามัญ
 
โครงการค่ายคุณธรรม
โครงการค่ายคุณธรรมโครงการค่ายคุณธรรม
โครงการค่ายคุณธรรม
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
ใบงานจำนวนนับ
ใบงานจำนวนนับใบงานจำนวนนับ
ใบงานจำนวนนับ
 
โครงการ เยี่ยมบ้าน
โครงการ     เยี่ยมบ้านโครงการ     เยี่ยมบ้าน
โครงการ เยี่ยมบ้าน
 
บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2
 
แผนการเรียนรู้ที่ 7
แผนการเรียนรู้ที่ 7แผนการเรียนรู้ที่ 7
แผนการเรียนรู้ที่ 7
 
แผนปฐมนิเทศ 1
แผนปฐมนิเทศ  1แผนปฐมนิเทศ  1
แผนปฐมนิเทศ 1
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
 
ใบงาน เศษส่วนกับทศนิยม
ใบงาน เศษส่วนกับทศนิยมใบงาน เศษส่วนกับทศนิยม
ใบงาน เศษส่วนกับทศนิยม
 
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
 
2. บันได 5 ขั้นqsccs
2. บันได 5 ขั้นqsccs2. บันได 5 ขั้นqsccs
2. บันได 5 ขั้นqsccs
 
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนโจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
 
กำหนดการสอนม.1จ้า
กำหนดการสอนม.1จ้ากำหนดการสอนม.1จ้า
กำหนดการสอนม.1จ้า
 
โจทย์ปัญหาระคนป.4 6.
โจทย์ปัญหาระคนป.4 6.โจทย์ปัญหาระคนป.4 6.
โจทย์ปัญหาระคนป.4 6.
 

En vedette

การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
บุษรากร ขนันทอง
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
krupornpana55
 
แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51
แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51
แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51
krupornpana55
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
Naphachol Aon
 
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของมาตรฐาน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ สภาพที่...
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของมาตรฐาน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ สภาพที่...ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของมาตรฐาน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ สภาพที่...
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของมาตรฐาน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ สภาพที่...
krutitirut
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม
krupornpana55
 
มาตรฐานปฐมวัย 11 มาตรฐาน 51 ตังบ่งชี้..
มาตรฐานปฐมวัย  11   มาตรฐาน  51  ตังบ่งชี้..มาตรฐานปฐมวัย  11   มาตรฐาน  51  ตังบ่งชี้..
มาตรฐานปฐมวัย 11 มาตรฐาน 51 ตังบ่งชี้..
Montree Jareeyanuwat
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
juckit009
 
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
nang_phy29
 

En vedette (20)

การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51
แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51
แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51
 
แนวทางการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
แนวทางการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์แนวทางการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
แนวทางการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
 
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
Stu 21
Stu 21Stu 21
Stu 21
 
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
 
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...
 
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของมาตรฐาน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ สภาพที่...
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของมาตรฐาน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ สภาพที่...ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของมาตรฐาน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ สภาพที่...
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของมาตรฐาน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ สภาพที่...
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม
 
ตัวอย่างแบบประเมินการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา
ตัวอย่างแบบประเมินการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษาตัวอย่างแบบประเมินการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา
ตัวอย่างแบบประเมินการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา
 
5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)
5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)
5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)
 
มาตรฐานปฐมวัย 11 มาตรฐาน 51 ตังบ่งชี้..
มาตรฐานปฐมวัย  11   มาตรฐาน  51  ตังบ่งชี้..มาตรฐานปฐมวัย  11   มาตรฐาน  51  ตังบ่งชี้..
มาตรฐานปฐมวัย 11 มาตรฐาน 51 ตังบ่งชี้..
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
 
แบบพิมพ์ที่ 2 การพิมพ์ภาษาอังกฤษ
แบบพิมพ์ที่ 2 การพิมพ์ภาษาอังกฤษแบบพิมพ์ที่ 2 การพิมพ์ภาษาอังกฤษ
แบบพิมพ์ที่ 2 การพิมพ์ภาษาอังกฤษ
 

Similaire à คุณลักษณะ หลักสูตร 51

11.ภาคผนวกคุณลักษณะอันพึงประสงค์
11.ภาคผนวกคุณลักษณะอันพึงประสงค์11.ภาคผนวกคุณลักษณะอันพึงประสงค์
11.ภาคผนวกคุณลักษณะอันพึงประสงค์
nang_phy29
 
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
sasiton sangangam
 
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งบทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
pentanino
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
korakate
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
korakate
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
korakate
 
กิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคมกิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคม
kruarada
 
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
thanathip
 

Similaire à คุณลักษณะ หลักสูตร 51 (20)

11.ภาคผนวกคุณลักษณะอันพึงประสงค์
11.ภาคผนวกคุณลักษณะอันพึงประสงค์11.ภาคผนวกคุณลักษณะอันพึงประสงค์
11.ภาคผนวกคุณลักษณะอันพึงประสงค์
 
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมโครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
 
หลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษาหลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษา
 
หลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษาหลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษา
 
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชน
 
สังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลายสังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลาย
 
อังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลายอังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลาย
 
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งบทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
 
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
ความหมายของครู
ความหมายของครูความหมายของครู
ความหมายของครู
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
 
กิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคมกิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคม
 
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
 
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
 

คุณลักษณะ หลักสูตร 51

  • 1. แนวทางการพัฒนาการวัดและประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ٢٥٥١ โรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ทั้ง ๘ ประการ ซึ่งได้แก่ ๑) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒) ซื่อสัตย์สุจริต ๓) มีวินัย ๔) ใฝ่เรียนรู้ ๕) อยู่อย่างพอเพียง ๖) มุ่งมั่นในการทำางาน ๗) รักความเป็นไทย ๘) มีจิตสาธารณะ การนำาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ทั้ง ๘ ประการดังกล่าว ไปใช้ พัฒนาผู้เรียนให้มประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลนั้น สถานศึกษาต้องมี ี ความเข้าใจเกี่ยวกับคุณลักษณะอันพึงประสงค์ อย่างชัดเจน โดยพิจารณา จาก นิยาม ตัวชี้วัดพฤติกรรมบ่งชี้ และเกณฑ์การให้คะแนนของ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ ข้อที่ ๑ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ นิยาม รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออก ถึงการเป็นพลเมืองดีของชาติ ธำารงไว้ซึ่งความเป็นชาติไทย ศรัทธา ยึด มั่นในศาสนา และเคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ผู้ที่รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ คือ ผู้ที่มลักษณะซึ่งแสดงออก ี ถึงการเป็นพลเมืองดีของชาติ มีความสามัคคีปรองดอง ภูมิใจ เชิดชูความ เป็นชาติไทย ปฏิบัติตนตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ และแสดงความจงรัก ภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ ตัวชี้วัด ๑.๑ เป็นพลเมืองดีของชาติ ๑.๒ ธำารงไว้ซึ่งความเป็นชาติไทย
  • 2. 2 ๑.๓ ศรัทธา ยึดมั่นและปฏิบัติตนตามหลักศาสนา ๑.๔ เคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ตัวชี้วัดและพฤติกรรมบ่งชี้ ตัวชี้วัด พฤติกรรมบ่งชี้ ๑.๑ เป็นพลเมือง ๑.๑.๑ ยืนตรงเคารพธงชาติ ร้องเพลงชาติ และ ดี อธิบายความหมาย ของชาติ ของเพลงชาติได้ถูกต้อง ๑.๑.๒ ปฏิบัติตนตามสิทธิและ หน้าที่พลเมืองดีของ ชาติ ๑.๑.๓ มีความสามัคคี ปรองดอง ๑.๒ ธำารงไว้ซึ่ง ๑.๒.๑ เข้าร่วม ส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมที่สร้าง ความเป็น ความสามัคคี ปรองดอง ที่เป็นประโยชน์ต่อ ชาติไทย โรงเรียน ชุมชนและสังคม ๑.๒.๒ หวงแหน ปกป้อง ยกย่องความเป็นชาติไทย ๑.๓ ศรัทธา ยึด ๑.๓.๑ เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ มั่นและ ปฏิบัติ ๑.๓.๒ ปฏิบัติตนตามหลักของศาสนาที่ตนนับถือ ตนตามหลัก ๑.๓.๓ เป็นแบบอย่างที่ดีของศาสนิกชน ของศาสนา ๑.๔ เคารพ ๑.๔.๑ เข้าร่วมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่ เทิดทูน เกี่ยวกับสถาบัน พระมหากษัตริย์ สถาบัน พระ ๑.๔.๒ แสดงความสำานึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระ มหากษัตริย์ มหากษัตริย์ ๑.๔.๓ แสดงออกซึ่งความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหา กษัตริย์ ตัวชี้วัดที่ ๑.๑ เป็นพลเมืองดีของชาติ พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดีเยี่ยม (๓) ๑.๑.๑ ยืนตรง ไม่ยืนตรง ยืนตรงเมื่อ ยืนตรงเมื่อ ยืนตรงเมื่อ เคารพ เคารพธงชาติ ได้ยินเพลง ได้ยินเพลง ได้ยินเพลง ธงชาติ ร้อง ชาติ ร้อง ชาติ ร้อง ชาติ ร้อง เพลงชาติ เพลงชาติ และ เพลงชาติ เพลงชาติ และอธิบาย อธิบายความ และอธิบาย และอธิบาย ความหมาย หมายของ ความหมาย ความหมาย ของเพลง เพลงชาติได้ ของเพลง ของเพลง ชาติได้ถูก ถูกต้อง ชาติได้ถูก ชาติได้ถูก ต้อง ปฏิบัติตนตาม ต้อง ปฏิบัติ ต้อง ปฏิบัติ ๑.๑.๒ ปฏิบัติตน สิทธิและ ตนตามสิทธิ ตนตามสิทธิ
  • 3. 3 ตามสิทธิ หน้าที่ของ และหน้าที่ และหน้าที่ หน้าที่ นักเรียน และ ของนักเรียน ของพลเมือง พลเมืองดี ให้ความร่วม และให้ความ ดี และให้ ของชาติ มือ ร่วมใจใน ร่วมมือ ความร่วมมือ ๑.๑.๓ มีความ การทำากิจกรรม ร่วมใจในการ ร่วมใจใน สามัคคี กับสมาชิกใน ทำากิจกรรม การทำา ปรองดอง ชั้นเรียน กับสมาชิกใน กิจกรรมกับ โรงเรียน สมาชิกใน โรงเรียนและ ชุมชน ตัวชี้วัดที่ ๑.๒ ธำารงไว้ซึ่งความเป็นชาติไทย พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดีเยี่ยม (๓) ๑.๒.๑ เข้าร่วม ไม่เข้าร่วม เข้าร่วม เข้าร่วม เข้าร่วม ส่งเสริม กิจกรรมที่สร้าง กิจกรรมที่สร้าง กิจกรรม และ กิจกรรม สนับสนุน ความสามัคคี ความสามัคคี มีส่วนร่วมใน และมีส่วน กิจกรรมที่ ปรองดอง การจัด ร่วมในการ สร้างความ และเป็น กิจกรรมที่ จัดกิจกรรม สามัคคี ประโยชน์ต่อ สร้างความ ที่สร้างความ ปรองดอง โรงเรียนและ สามัคคี สามัคคี ที่เป็น ชุมชน ปรองดอง ปรองดอง ประโยชน์ และเป็น และเป็น ต่อโรงเรียน ประโยชน์ต่อ ประโยชน์ต่อ ชุมชนและ โรงเรียน และ โรงเรียน สังคม ชุมชน ชุมชน และ ๑.๒.๒ สังคม หวงแหน ชื่นชมใน ปกป้อง ความเป็น ยกย่อง ชาติไทย ความเป็น ชาติไทย ตัวชี้วัดที่ ๑.๓ ศรัทธา ยึดมั่น และปฏิบัติตนตามหลักของศาสนา พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดีเยี่ยม (๓) ๑.๓.๑ เข้าร่วม ไม่เข้าร่วม เข้าร่วม เข้าร่วม เข้าร่วม กิจกรรม กิจกรรมทาง กิจกรรม กิจกรรมทาง กิจกรรม ทางศาสนา ศาสนาที่ตน ทางศาสนาที่ ศาสนาที่ตน ทางศาสนา ที่ตนนับถือ นับถือ ตนนับถือ นับถือ และ ที่ตนนับถือ ๑.๓.๒ ปฏิบัติ และปฏิบัติตน ปฏิบัติตน ปฏิบัติตน
  • 4. 4 ตนตาม ตามหลักของ ตามหลักของ ตามหลัก หลักของ ศาสนาตาม ศาสนาอย่าง ของศาสนา ศาสนาที่ตน โอกาส สมำ่าเสมอ อย่าง นับถือ สมำ่าเสมอ ๑.๓.๓ เป็นแบบ และเป็น อย่าง ที่ดี แบบอย่างที่ ของศาสนิ ดี กชน ของศาสนิ กชน ตัวชี้วัดที่ ๑.๔ เคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดีเยี่ยม (๓) ๑.๔.๑ เข้าร่วม ไม่เข้าร่วม เข้าร่วม เข้าร่วม เข้าร่วม และมีส่วน กิจกรรมที่เกี่ยว กิจกรรมที่เกี่ยว กิจกรรม และ กิจกรรมและ ร่วมในการ กับสถาบันพระ กับสถาบันพระ มีส่วนร่วมใน มีส่วนร่วมใน จัดกิจกรรม มหากษัตริย์ มหากษัตริย์ การจัด การจัด ที่เกี่ยวกับ ตามที่โรงเรียน กิจกรรมที่ กิจกรรมที่ สถาบันพระ และชุมชนจัด เกี่ยวกับ เกี่ยวกับ มหากษัตริย์ ขึ้น สถาบันพระ สถาบันพระ ๑.๔.๒ แสดง มหากษัตริย์ มหากษัตริย์ ความสำานึก ตามที่ ตามที่ ในพระ โรงเรียนและ โรงเรียนและ มหากรุณาธิ ชุมชนจัดขึ้น ชุมชนจัดขึ้น คุณของพระ ชื่นชมใน มหากษัตริย์ พระราช- ๑.๔.๓ กรณียกิจ แสดงออก พระปรีชา ซึ่งความ สามารถ จงรักภักดี ของพระมหา ต่อสถาบัน กษัตริย์
  • 5. 5 พระมหา และพระ กษัตริย์ ราชวงศ์ เกณฑ์การให้คะแนน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ตัวชี้วัดที่ ๑.๑ เป็นพลเมืองดีของชาติ พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดีเยี่ยม (๓) ๑.๑.๑ ยืนตรง ไม่ยืนตรง ยืนตรงเมื่อ ยืนตรงเมื่อ ยืนตรงเมื่อ เคารพ เคารพธงชาติ ได้ยินเพลง ได้ยินเพลง ได้ยินเพลง ธงชาติ ร้อง ชาติ ร้อง ชาติ ร้อง ชาติ ร้อง เพลงชาติ เพลงชาติ เพลงชาติ เพลงชาติ และอธิบาย และอธิบาย และอธิบาย และอธิบาย ความหมาย ความหมาย ความหมาย ความหมาย ของเพลง ของเพลงชาติ ของเพลงชาติ ของเพลง ชาติได้ถูก ได้ถูกต้อง ได้ถูกต้อง ชาติได้ถูก ต้อง ปฏิบัติตนตาม ปฏิบัติตนตาม ต้อง ปฏิบัติ ๑.๑.๒ ปฏิบัติตน สิทธิและ สิทธิและ ตนและ ตามสิทธิ หน้าที่ของ หน้าที่ของ ชักชวนผู้อื่น หน้าที่ นักเรียน พลเมืองดี ปฏิบัติตาม พลเมืองดี และให้ความ และให้ความ สิทธิและ ของชาติ ร่วมมือ ร่วมใจ ร่วมมือ ร่วมใจ หน้าที่ของ ๑.๑.๓ มีความ ในการทำา ในการทำา พลเมืองดี สามัคคี กิจกรรมกับ กิจกรรมกับ และให้ความ ปรองดอง สมาชิกใน สมาชิกใน ร่วมมือ โรงเรียน โรงเรียน และ ร่วมใจใน ชุมชน การทำา กิจกรรมกับ สมาชิกใน โรงเรียน ชุมชน และ สังคม ตัวชี้วัดที่ ๑.๒ ธำารงไว้ซึ่งความเป็นชาติไทย พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดีเยี่ยม (๓) ๑.๒.๑ เข้าร่วม ไม่เข้าร่วม เข้าร่วม เข้าร่วม เป็นผู้นำาหรือ ส่งเสริม กิจกรรมที่สร้าง กิจกรรม และ กิจกรรม และ เป็นแบบ สนับสนุน ความสามัคคี มีส่วนร่วมใน มีส่วนร่วมใน อย่าง ในการ กิจกรรมที่ การจัด การจัด จัดกิจกรรม สร้างความ กิจกรรมที่ กิจกรรมที่ ที่สร้างความ สามัคคี สร้าง สร้างความ สามัคคี
  • 6. 6 ปรองดอง ความสามัคคี สามัคคี ปรองดอง ที่เป็น ปรองดอง ปรองดอง และเป็น ประโยชน์ และเป็น และเป็น ประโยชน์ต่อ ต่อโรงเรียน ประโยชน์ต่อ ประโยชน์ต่อ โรงเรียน ชุมชนและ โรงเรียน และ โรงเรียน ชุมชน และ สังคม ชุมชน ชุมชน และ สังคม ๑.๒.๒ หวงแหน สังคม ชืนชม ่ ชื่นชม ปกป้อง ในความเป็น ปกป้อง ยกย่อง ชาติไทย ในความเป็น ความเป็น ชาติไทย ชาติไทย ตัวชี้วัดที่ ๑.๓ ศรัทธา ยึดมั่น และปฏิบัติตนตามหลักของศาสนา พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดีเยี่ยม (๓) ๑.๓.๑ เข้าร่วม ไม่เข้าร่วม เข้าร่วม เข้าร่วม เข้าร่วม กิจกรรม กิจกรรมทาง กิจกรรม กิจกรรมทาง กิจกรรม ทางศาสนา ศาสนาที่ตน ทางศาสนา ศาสนาที่ตน ทางศาสนา ที่ตนนับถือ นับถือ ที่ตนนับถือ นับถือ และ ที่ตนนับถือ ๑.๓.๒ ปฏิบัติ และปฏิบัติตน ปฏิบัติตนตาม ปฏิบัติตน ตนตาม ตามหลักของ หลักของ ตามหลัก หลักของ ศาสนาตาม ศาสนาอย่าง ของศาสนา ศาสนาที่ตน โอกาส สมำ่าเสมอ อย่าง นับถือ สมำ่าเสมอ ๑.๓.๓ เป็นแบบ และเป็น อย่างที่ดี แบบอย่างที่ ของศาสนิ ดี กชน ของศาสนิ กชน ตัวชี้วัดที่ ๑.๔ เคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์
  • 7. 7 พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดีเยี่ยม (๓) ๑.๔.๑ เข้าร่วม ไม่เข้าร่วม เข้าร่วม เข้าร่วม เข้าร่วม และมีส่วน กิจกรรมที่ กิจกรรมที่ กิจกรรม และ กิจกรรมและ ร่วมในการ เกี่ยวข้องกับ เกี่ยวกับ มีส่วนร่วมใน มีส่วนร่วมใน จัดกิจกรรม สถาบันพระมหา สถาบันพระ การจัด การจัด ที่เกี่ยวกับ กษัตริย์ มหากษัตริย์ กิจกรรมที่ กิจกรรมที่ สถาบันพระ ตามที่ เกี่ยวกับ เกี่ยวกับ มหากษัตริย์ โรงเรียนและ สถาบันพระ สถาบันพระ ๑.๔.๒ แสดง ชุมชนจัดขึ้น มหากษัตริย์ มหากษัตริย์ ความสำานึก ตามที่ ตามที่ ในพระ โรงเรียนและ โรงเรียนและ มหากรุณาธิ ชุมชนจัดขึ้น ชุมชนจัดขึ้น คุณของพระ ชื่นชมใน มหากษัตริย์ พระราช- ๑.๔.๓ กรณียกิจ แสดงออก พระปรีชา ซึ่งความ สามารถของ จงรักภักดี พระมหา ต่อสถาบัน กษัตริย์ พระมหา และพระ กษัตริย์ ราชวงศ์
  • 8. 8 ข้อที่ ๒ ซื่อสัตย์สุจริต นิยาม ซื่อสัตย์สุจริต หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการยึด มั่นในความถูกต้องประพฤติ ตรงตามความเป็นจริงต่อตนเองและผู้อื่นทั้ง ทางกาย วาจา ใจ ผู้ที่มีความซื่อสัตย์สุจริต คือ ผูที่ประพฤติตรงตามความเป็น ้ จริงทั้งทางกาย วาจา ใจ และยึดหลักความจริง ความถูกต้องในการ ดำาเนินชีวิต มีความละอายและเกรงกลัวต่อการกระทำาผิด ตัวชี้วัด ๒.๑ ประพฤติตรงตามความเป็นจริงต่อตนเองทั้งทาง กาย วาจา ใจ ๒.๒ ประพฤติตรงตามความเป็นจริงต่อผู้อื่นทั้งทางกาย วาจา ใจ ตัวชี้วัดและพฤติกรรมบ่งชี้ ตัวชี้วัด พฤติกรรมบ่งชี้ ๒.๑ ประพฤติ ๒.๑.๑ให้ข้อมูลที่ถูกต้องและเป็นจริง ตรงตาม ความ ๒.๑.๒ ปฏิบัติตนโดยคำานึงถึงความถูกต้องละอาย เป็นจริงต่อ และเกรงกลัว ตนเองทั้งทาง ต่อการกระทำาผิด กาย วาจา ใจ ๒.๑.๓ ปฏิบัติตามคำามั่นสัญญา ๒.๒ ประพฤติ ๒.๒.๑ ไม่ถือเอาสิ่งของหรือผลงานของผู้อื่นมาเป็น ตรงตาม ความ ของตนเอง เป็นจริงต่อ ผู้อื่น ๒.๒.๒ ปฏิบัติตนต่อผู้อื่นด้วยความซื่อตรง ทั้งทางกาย ๒.๒.๓ ไม่หาประโยชน์ในทางที่ไม่ถูกต้อง วาจา ใจ
  • 9. 9 เกณฑ์การให้คะแนน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ตั วชี้ วัด ที่ ๒.๑ ประพฤติ ตรงตามความเป็ นจริ งต่ อ ตนเองทั้ ง ทาง กาย วาจา ใจ พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดีเยี่ยม (๓) ๒.๑.๑ ให้ข้อมูล ไม่ให้ข้อมูลที่ ถูก ให้ข้อมูลที่ถูก ให้ข้อมูลที่ ให้ข้อมูลที่ ที่ถูกต้อง ต้องและเป็นจริง ต้องและเป็น ถูกต้องและ ถูกต้องและ และเป็นจริง จริง ปฏิบัติใน เป็นจริง เป็นจริง ๒.๑.๒ ปฏิบัติ สิ่งที่ถูกต้อง ปฏิบัติในสิ่ง ปฏิบัติในสิ่ง ตนโดย ทำาตามสัญญา ที่ถูกต้อง ที่ถูกต้อง คำานึงถึง ที่ตนให้ไว้กับ ทำาตาม ทำาตาม ความถูก เพื่อน พ่อแม่ สัญญาที่ตน สัญญาที่ตน ต้องละอาย หรือผู้ปกครอง ให้ไว้กับ ให้ไว้กับ และเกรง และครู เพื่อน เพื่อน พ่อ กลัว ต่อ ละอายและ พ่อแม่ หรือ แม่ หรือผู้ การกระทำา เกรงกลัวที่จะ ผู้ปกครอง ปกครอง ผิด ทำาความผิด และครู และครู ๒.๑.๓ ปฏิบัติ ละอายและ ละอายและ ตาม เกรงกลัวที่จะ เกรงกลัวที่ ทำาความผิด จะทำาความ คำามั่น ผิด เป็นแบบ สัญญา อย่างที่ดี ด้านความ ซื่อสัตย์ ตัวชี้วัดที่ ๒.๒ ประพฤติตรงตามความเป็นจริงต่อผู้อื่นทั้งทางกาย วาจา ใจ พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดีเยี่ยม (๓) ๒.๒.๑ ไม่ถือเอา นำาสิ่งของของ ไม่นำาสิ่งของ ไม่นำาสิ่งของ ไม่นำาสิ่งของ สิ่งของหรือ คนอื่นมาเป็น และผลงาน และผลงาน และผลงาน ผลงานของ ของตนเอง ของผู้อื่นมา ของผู้อื่นมา ของผู้อื่นมา ผู้อื่นมาเป็น เป็นของตนเอง เป็นของ เป็นของ ของตนเอง ปฏิบัติตนต่อผู้ ตนเอง ตนเอง ๒.๒.๒ ปฏิบัติตน อื่นด้วยความ ปฏิบัติตนต่อ ปฏิบัติตนต่อ ต่อผู้อื่นด้วย ซื่อตรง ผู้อื่นด้วย ผู้อื่นด้วย ความ ความซื่อตรง ความซื่อตรง ซื่อตรง ไม่หา ไม่หา ๒.๒.๓ ไม่หา ประโยชน์ใน ประโยชน์ใน
  • 10. 10 ประโยชน์ ทางที่ ทางที่ไม่ถูก ในทางที่ไม่ ไม่ถูกต้อง ต้อง และ ถูกต้อง เป็นแบบ อย่างที่ดีแก่ เพื่อนด้าน ความ ซื่อสัตย์ เกณฑ์การให้คะแนน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ตั วชี้ วัด ที่ ๒.๑ ประพฤติ ตรงตามความเป็ นจริ งต่ อ ตนเองทั้ ง ทาง กาย วาจา ใจ พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดีเยี่ยม (๓) ๒.๑.๑ ให้ข้อมูล ไม่ให้ข้อมูลที่ ถูก ให้ข้อมูลที่ถูก ให้ข้อมูลที่ถูก ให้ข้อมูลที่ ที่ถูกต้อง ต้องและเป็นจริง ต้องและเป็น ต้องและเป็น ถูกต้องและ และเป็นจริง จริง ปฏิบัติใน จริง ปฏิบัติใน เป็นจริง ๒.๑.๒ ปฏิบัติ สิ่งที่ถูกต้อง สิ่งที่ถูกต้อง ปฏิบัติในสิ่ง ตนโดย ทำาตาม ทำาตาม ที่ถูกต้อง คำานึงถึง สัญญาที่ตน สัญญาที่ตน ทำาตาม ความถูก ให้ไว้กับเพื่อน ให้ไว้กับเพื่อน สัญญาที่ตน ต้องละอาย พ่อแม่ หรือผู้ พ่อแม่ หรือผู้ ให้ไว้กับ และเกรง ปกครอง และ ปกครอง และ เพื่อน พ่อ กลัวต่อ ครู ละอาย ครู ละอาย แม่ หรือผู้ การกระทำา และเกรงกลัว และเกรงกลัว ปกครอง ผิด ที่จะทำาความ ที่จะทำาความ และครู ๒.๑.๓ ปฏิบัติ ผิด ผิด ละอายและ ตามคำามั่น เกรงกลัวที่ สัญญา จะทำาความ ผิด เป็น แบบอย่างที่ ดีด้านความ ซื่อสัตย์ ตัวชี้วัดที่ ๒.๒ ประพฤติตรงตามความเป็นจริงต่อผู้อื่นทั้งทางกาย วาจา ใจ
  • 11. 11 พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดีเยี่ยม (๓) ๒.๒.๑ ไม่ถือเอา นำาสิ่งของของ ไม่นำาสิ่งของ ไม่นำาสิ่งของ ไม่นำาสิ่งของ สิ่งของหรือ คนอื่นมาเป็น และผลงาน และผลงาน และผลงาน ผลงานของ ของตนเอง ของผู้อื่นมา ของผู้อื่นมา ของผู้อื่นมา ผู้อื่นมาเป็น เป็นของ เป็นของ เป็นของ ของตนเอง ตนเอง ปฏิบัติ ตนเอง ปฏิบัติ ตนเอง ๒.๒.๒ ปฏิบัติตน ตนต่อผู้อื่น ตนต่อผู้อื่น ปฏิบัติตนต่อ ต่อผู้อื่นด้วย ด้วยความ ด้วยความ ผู้อื่นด้วย ความ ซื่อตรง ซื่อตรง ไม่ ความซื่อตรง ซื่อตรง หาประโยชน์ ไม่หา ๒.๒.๓ ไม่หา ในทางที่ไม่ ประโยชน์ใน ประโยชน์ ถูกต้อง ทางที่ไม่ถูก ในทางที่ ต้อง และ ไม่ถูกต้อง เป็นแบบ อย่างที่ดี ด้านความ ซื่อสัตย์ ข้อที่ ๓ มีวินัย นิยาม มีวินัย หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการยึดมั่นในข้อ ตกลง กฎเกณฑ์ และระเบียบข้อบังคับของครอบครัว โรงเรียน และสังคม ผู้ที่มีวินัย คือ ผูที่ปฏิบัติตนตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ้ ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครัว โรงเรียน และสังคมเป็นปกติวิสัย ไม่ ละเมิดสิทธิของผู้อื่น ตัวชี้วัด ๓.๑ ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคับ ของครอบครัว โรงเรียน และสังคม ตัวชี้วัดและพฤติกรรมบ่งชี้ ตัวชี้วัด พฤติกรรมบ่งชี้ ๓.๑ ปฏิบัติตาม ๓.๑.๑ปฏิบัติตน ตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อ ข้อตกลง บังคับ
  • 12. 12 กฎเกณฑ์ ของครอบครัว โรงเรียนและสังคม ไม่ละเมิดสิทธิ ระเบียบ ข้อ ของผู้อื่น บังคับ ของ ๓.๑.๒ ตรงต่อเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ใน ครอบครัว ชีวิตประจำาวัน และ โรงเรียน และ รับผิดชอบในการทำางาน สังคม เกณฑ์การให้คะแนน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ตัวชี้วัดที่ ๓.๑ ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของ ครอบครัว โรงเรียนและสังคม พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดีเยี่ยม (๓) ๓.๑.๑ ปฏิบัติตน ไม่ปฏิบัติตน ปฏิบัติตามข้อ ปฏิบัติตาม ปฏิบตตาม ั ิ ตามข้อ ตามข้อตกลง ตกลง กฎ ข้อตกลง ข้อตกลง ตกลง กฎ กฎเกณฑ์ เกณฑ์ กฎเกณฑ์ กฎเกณฑ์ เกณฑ์ ระเบียบ ข้อ ระเบียบ ข้อ ระเบียบ ข้อ ระเบียบ ข้อ ระเบียบข้อ บังคับของ บังคับของ บังคับ ของ บังคับของ บังคับของ ครอบครัวและ ครอบครัวและ ครอบครัว ครอบครัว ครอบครัว โรงเรียน โรงเรียน ตรง และโรงเรียน โรงเรียน โรงเรียน ต่อเวลาในการ ตรงต่อเวลา และสังคม และสังคม ปฏิบัติกิจกรรม ในการปฏิบัติ ไม่ละเมิด ไม่ละเมิด ต่าง ๆ ในชีวติ กิจกรรมต่าง สิทธิของผู้ สิทธิของผู้ ประจำาวัน ๆ ในชีวต ิ อื่น ตรง อื่น ประจำาวัน ต่อเวลา ๓.๑.๒ ตรงต่อ และรับผิด ในการ เวลาในการ ชอบในการ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ทำางาน กิจกรรมต่าง กิจกรรม ๆ ต่าง ๆ ใน ในชีวิต ชีวิตประจำา ประจำาวัน วัน และรับ และรับผิด ผิดชอบใน ชอบในการ การทำางาน ทำางาน เกณฑ์การให้คะแนน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ตัวชี้วัดที่ ๓.๑ ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคับ ของครอบครัว โรงเรียนและสังคม พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดีเยี่ยม (๓) ๓.๑.๑ ปฏิบัติ ไม่ปฏิบัติตน ปฏิบัติตามข้อ ปฏิบัติตามข้อ ปฏิบัติตาม
  • 13. 13 ตนตามข้อ ตามข้อตกลง ตกลง กฎ ตกลง กฎ ข้อตกลง ตกลง กฎ กฎเกณฑ์ เกณฑ์ เกณฑ์ กฎเกณฑ์ เกณฑ์ ระเบียบ ข้อ ระเบียบ ข้อ ระเบียบ ข้อ ระเบียบ ข้อ ระเบียบ ข้อ บังคับของ ตกลง ของ ตกลงของ ตกลง ของ บังคับของ ครอบครัวและ ครอบครัว ครอบครัว ครอบครัว ครอบครัว โรงเรียน และโรงเรียน โรงเรียน และ โรงเรียน โรงเรียน ตรงต่อเวลา สังคม ไม่ และสังคม และสังคม ในการปฏิบัติ ละเมิดสิทธิ ไม่ละเมิด ไม่ละเมิด กิจกรรมต่าง ๆ ของผู้อื่น สิทธิของผู้ สิทธิของผู้ ในชีวิตประจำา ตรงต่อเวลา อื่น ตรง อื่น วัน ในการปฏิบัติ ต่อเวลา ๓.๑.๒ ตรงต่อ และรับผิด กิจกรรมต่าง ๆ ในการ เวลาในการ ชอบ ในชีวิตประจำา ปฏิบัติ ปฏิบัติ ในการทำางาน วัน กิจกรรมต่าง กิจกรรม และรับผิด ๆ ต่าง ๆ ชอบ ในชีวิต ในชีวิต ในการทำางาน ประจำาวัน ประจำาวัน และรับผิด และรับผิด ชอบในการ ชอบในการ ทำางาน ทำางาน ปฏิบัติเป็น ปกติวิสัย และเป็น แบบอย่างที่ ดี
  • 14. 14 ข้อที่ ๔ ใฝ่เรียนรู้ นิยาม ใฝ่เรียนรู้ หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียน แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและ ภายนอกโรงเรียน ผู้ที่ใฝ่เรียนรู้ คือ ผู้ทมีลักษณะซึ่งแสดงออกถึงความตั้งใจ ี่ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ แสวงหาความรู้ จากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนอย่างสมำ่าเสมอ ด้วยการ เลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปเป็นองค์ความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถ่ายทอด เผยแพร่ และนำาไปใช้ในชีวิตประจำาวันได้ ตัวชี้วัด ๔.๑ ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วม กิจกรรมการเรียนรู้ ๔.๒ แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ ต่าง ๆ ทั้งภายใน และภายนอกโรงเรียน ด้วยการเลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม สรุปเป็นองค์ ความรู้ และสามารถนำาไปใช้ ในชีวิตประจำาวันได้ ตัวชี้วัดและพฤติกรรมบ่งชี้ ตัวชี้วัด พฤติกรรมบ่งชี้ ๔.๑ ตั้งใจ เพียร ๔.๑.๑ ตั้งใจเรียน พยายาม ใน ๔.๑.๒ เอาใจใส่และมีความเพียรพยายามในการเรียน การเรียนและ รู้ เข้าร่วม ๔.๑.๓ สนใจเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ กิจกรรมการ เรียนรู้ ๔.๒ แสวงหา ๔.๒.๑ ศึกษาค้นคว้าหาความรู้จากหนังสือ เอกสาร ความรู้จาก สิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยีต่าง ๆ แหล่งเรียนรู้ทั้งภายใน แหล่งเรียนรู้ และภายนอกโรงเรียน และเลือกใช้สื่อได้อย่างเหมาะ ต่าง ๆ สม ทั้งภายในและ ๔.๒.๒ บันทึกความรู้ วิเคราะห์ตรวจสอบ จากสิ่งที่ ภายนอก เรียนรู้ สรุปเป็นองค์ความรู้ โรงเรียน ด้วย ๔.๒.๓ แลกเปลี่ยนความรู้ ด้วยวิธีการต่าง ๆ และนำา การเลือกใช้สื่อ ไปใช้ในชีวิตประจำาวัน อย่างเหมาะสม สรุปเป็นองค์ ความรู้ และ
  • 15. 15 สามารถนำาไป ใช้ใน ชีวิตประจำาวัน ได้ เกณฑ์การให้คะแนน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ตั ว ชี้ วั ด ที่ ๔.๑ ตั้ ง ใจ เพี ย รพยายาม ในการเรี ย นและเข้ า ร่ ว ม กิจกรรม พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดีเยี่ยม (๓) ๔.๑.๑ ตั้งใจ ไม่ตงใจเรียน ั้ เข้าเรียนตรง เข้าเรียนตรง เข้าเรียนตรง เรียน เวลา ตังใจ ้ เวลา ตังใจ ้ เวลา ตังใจ ้ ๔.๑.๒ เอาใจใส่ เรียน เอาใจใส่ เรียน เอาใจ เรียน เอาใจ และมีความ ในการเรียน มี ใส่ และมีความ ใส่ และมี เพียร ส่วนร่วมในการ เพียรพยายาม ความเพียร พยายามใน เรียนรูและเข้า ้ ในการเรียนรู้ พยายามใน การเรียนรู้ ร่วมกิจกรรม มีสวนร่วมใน ่ การเรียนรู้ มี ๔.๑.๓ เข้าร่วม การเรียนรู้ การเรียนรูและ ้ ส่วนร่วมใน กิจกรรม ต่าง ๆ เป็น เข้าร่วม การเรียนรู้ การเรียนรู้ บางครัง ้ กิจกรรมการ และเข้าร่วม ต่าง ๆ เรียนรูตาง ๆ ้ ่ กิจกรรมการ บ่อยครัง ้ เรียนรูตาง ๆ ้ ่ ทังภายใน ้ และภายนอก โรงเรียนเป็น ประจำา ตัวชี้วัดที่ ๔.๒ แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ ต่าง ๆ ทั้งภายในและ ภายนอกโรงเรียน ด้วยการเลือกใช้สื่อ อย่างเหมาะสม สรุปเป็นองค์ความรู้ สามารถนำาไปใช้ใชีวต ิ ประจำาวันได้ พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดีเยี่ยม (๓) ๔.๒.๑ ศึกษา ไม่ศกษาค้นคว้า ึ ศึกษาค้นคว้า ศึกษาค้นคว้า ศึกษาค้นคว้า
  • 16. 16 ค้นคว้า หาความรู้ ความรูจาก ้ หาความรูจาก้ หาความรูจาก้ หาความรู้ หนังสือ หนังสือ หนังสือ จากหนังสือ เอกสาร สิ่ง เอกสาร สิ่ง เอกสาร สิง ่ เอกสาร สิ่ง พิมพ์ สื่อ พิมพ์ สื่อ พิมพ์ สือ ่ พิมพ์ สือ ่ เทคโนโลยี เทคโนโลยี เทคโนโลยี เทคโนโลยี แหล่งเรียนรู้ และ และ ต่าง ๆ ทั้งภายในและ สารสนเทศ สารสนเทศ แหล่งเรียนรู้ ภายนอก แหล่งเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ ทังภายใน ้ โรงเรียน ทั้งภายในและ ทั้งภายใน และภายนอก เลือกใช้สื่อได้ ภายนอก และ โรงเรียน อย่างเหมาะ โรงเรียน และ ภายนอก และเลือก สม และ เลือกใช้สื่อได้ โรงเรียน ใช้สื่อได้ มีการบันทึก อย่างเหมาะ เลือกใช้สอ ื่ อย่างเหมาะ ความรู้ สม ได้อย่าง สม มีการบันทึก เหมาะสม มี ๔.๒.๒ บันทึก ความรู้ การบันทึก ความรู้ วิเคราะห์ ความรู้ วิเคราะห์ ข้อมูล สรุป วิเคราะห์ ข้อมูล จาก เป็นองค์ความ ข้อมูล สรุป สิ่งที่เรียนรู้ รู้ และ แลก เป็นองค์ความ สรุปเป็น เปลี่ยนเรียนรู้ รู้ และแลก องค์ความรู้ กับผู้อื่นได้ เปลี่ยนเรียน ๔.๒.๓ แลก รู้ ด้วยวิธี เปลียนเรียนรู้ ่ การที่หลาก ด้วยวิธีการ หลาย และ ต่าง ๆ และ นำาไปใช้ใน นำาไปใช้ใน ชีวิตประจำา ชีวตประจำา ิ วันได้ วัน เกณฑ์การให้คะแนน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ตั ว ชี้ วั ด ที่ ๔.๑ ตั้ ง ใจ เพี ย รพยายาม ในการเรี ย นและเข้ า ร่ ว ม กิจกรรม พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดีเยี่ยม (๓) ๔.๑.๑ ตั้งใจ ไม่ตังใจเรียน ้ เข้าเรียนตรง เข้าเรียนตรง เข้าเรียนตรง เรียน เวลา ตั้งใจ เวลา ตั้งใจ เวลา ตั้งใจ ๔.๑.๒ เอาใจใส่ เรียน เอาใจใส่ เรียน เอาใจใส่ เรียน เอาใจ และมีความ และมีความ และมีความ ใส่ และมี เพียร เพียรพยายาม เพียรพยายาม ความเพียร พยายามใน ในการเรียนรู้ ในการเรียนรู้ พยายามใน
  • 17. 17 การเรียนรู้ มีส่วนร่วมในการ มีส่วนร่วมใน การเรียนรู้ มี ๔.๑.๓ เข้าร่วม เรียนรู้และเข้า การเรียนรู้และ ส่วนร่วมใน กิจกรรมการ ร่วมกิจกรรมการ เข้าร่วม การเรียนรู้ เรียนรู้ต่าง ๆ เรียนรู้ ต่าง ๆ กิจกรรมการ และเข้าร่วม บางครั้ง เรียนรู้ต่าง ๆ กิจกรรมการ ทั้งภายในและ เรียนรู้ต่าง ๆ ภายนอก ทั้งภายใน โรงเรียนบ่อย และภายนอก ครั้ง โรงเรียนเป็น ประจำา และ เป็นแบบ อย่างที่ดี ตัวชี้วัดที่ ๒ แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ ต่าง ๆ ทั้งภายในและ ภายนอกโรงเรียน ด้วยการเลือกใช้สื่อ อย่างเหมาะสม สรุป เป็นองค์ความรู้ สามารถนำาไปใช้ในชีวตประจำาวันได้ ิ พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดีเยี่ยม (๓) ๔.๒.๑ ศึกษา ไม่ศกษา ึ ศึกษาค้นคว้า ศึกษาค้นคว้า ศึกษาค้นคว้า ค้นคว้า ค้นคว้า ความรูจาก ้ หาความรูจาก้ หาความรูจาก ้ หาความรู้ หาความรู้ หนังสือ เอกสาร หนังสือ หนังสือ เอกสาร จากหนังสือ สิ่งพิมพ์ สื่อ เอกสาร สิ่ง สิ่งพิมพ์ สื่อ เอกสาร สิ่ง เทคโนโลยี พิมพ์ สื่อ เทคโนโลยี และ พิมพ์ สือ ่ แหล่งเรียนรู้ ทั้ง เทคโนโลยี สารสนเทศ เทคโนโลยี ภายในและ และ แหล่งเรียนรู้ ต่าง ๆ แหล่ง ภายนอก สารสนเทศ ทั้งภายในและ เรียนรู้ทั้ง โรงเรียน เลือก แหล่งเรียนรู้ ภายนอก ภายในและ ใช้สื่อได้อย่าง ทั้งภายในและ โรงเรียน เลือก ภายนอก เหมาะสม และ ภายนอก ใช้สื่อ โรงเรียน มีการบันทึก โรงเรียน ได้อย่างเหมาะ และเลือกใช้ ความรู้ และเลือกใช้ สม มี สื่อได้อย่าง สื่อได้อย่าง การบันทึกความ เหมาะสม เหมาะสม รู้ วิเคราะห์ ๔.๒.๒ บันทึก มีการบันทึก ข้อมูล สรุปเป็น ความรู้ ความรู้ องค์ความรู้ แลก วิเคราะห์ วิเคราะห์ เปลี่ยนเรียนรู้ ข้อมูล จาก ข้อมูล สรุป ด้วยวิธีการที่ สิ่งที่เรียนรู้ เป็นองค์ความ หลากหลาย สรุปเป็นองค์ รู้ แลกเปลี่ยน และเผยแพร่แก่ ความรู้ เรียนรู้กับ ผู้ บุคคลทั่วไปนำา ๔.๒.๓ แลก อื่นได้และนำา ไปใช้ในชีวิต เปลี่ยนเรียน ไปใช้ในชีวิต ประจำาวันได้ รู้ด้วยวิธีการ ประจำาวันได้ ต่าง ๆ เพื่อ นำาไปใช้ใน
  • 18. 18 ชีวิตประจำา วัน ข้อที่ ๕ อยูอย่างพอเพียง ่ นิยาม อยู่อย่างพอเพียง หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการ ดำาเนินชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม มีภูมิคุ้มกัน ในตัวที่ดี และปรับตัวเพื่ออยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ผู้ที่อยู่อย่างพอเพียง คือ ผู้ที่ดำาเนินชีวิตอย่างประมาณตน มีเหตุผล รอบคอบ ระมัดระวัง อยู่รวมกับผู้อื่นด้วยความรับผิดชอบ ไม่ ่ เบียดเบียนผู้อื่น เห็นคุณค่าของทรัพยากรต่าง ๆ มีการวางแผนป้องกัน ความเสี่ยงและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง ตัวชี้วัด ๕.๑. ดำาเนินชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม ๕.๒ มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ปรับตัวเพื่ออยู่ในสังคมได้ อย่างมีความสุข ตัวชี้วัดและพฤติกรรมบ่งชี้ ตัวชี้วัด พฤติกรรมบ่งชี้ ๕.๑ ดำาเนินชีวิต ๕.๑.๑ ใช้ ท รั พ ย์ สิ น ของตนเอง เช่ น เงิ น สิ่ ง ของ อย่าง พอประมาณ เครื่องใช้ ฯลฯ อย่าง มีเหตุผล ประหยัด คุ้มค่าและเก็บรักษาดูแลอย่างดี รวม รอบคอบ มี ทั้งการใช้เวลาอย่าง คุณธรรม เหมาะสม ๕.๑.๒ ใช้ทรัพยากรของส่วนรวมอย่างประหยัด คุ้ม ค่าและเก็บรักษาดูแลอย่างดี ๕.๑.๓ ปฏิบัติตนและตัดสินใจด้วยความรอบคอบ มี เหตุผล ๕.๑.๔ ไม่เอาเปรียบผู้อื่นและไม่ทำาให้ผู้อื่นเดือดร้อน พร้อมให้อภัยเมื่อผู้อื่น กระทำาผิดพลาด ๕.๒ มีภมิคุ้มกัน ู ๕.๒.๑ วางแผนการเรียน การทำางานและการใช้ชีวิต ในตัวที่ดี ปรับ ประจำาวันบนพื้นฐาน ตัวเพื่ออยู่ใน ของความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร สังคมได้ ๕.๒.๒ รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพ อย่างมี ความ แวดล้อม ยอมรับและ ปรับตัวเพื่ออยู่ร่วมกับผู้อื่น สุข ได้อย่างมีความสุข
  • 19. 19 เกณฑ์การให้คะแนน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ตัวชี้วัดที่ ๕.๑ ดำาเนินชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดีเยี่ยม (๓) ๕.๑.๑ ใช้ ใช้เงินและ ใช้ทรัพย์สิน ใช้ทรัพย์สิน ใช้ทรัพย์สิน ทรัพย์สนของิ ของใช้ส่วน ของตนเอง ของตนเอง ของตนเอง ตนเอง เช่น ตัวอย่างไม่ และทรัพยากร และทรัพยากร และ เงิน สิ่งของ ประหยัด ของส่วนรวม ของส่วนรวม ทรัพยากร เครื่องใช้ ฯลฯ อย่างประหยัด อย่างประหยัด ของส่วนรวม อย่าง ประหยัด คุ้มค่า เก็บ คุ้มค่า เก็บ อย่าง คุมค่าและเก็บ ้ รักษาดูแล รักษาดูแล ประหยัด คุ้ม รักษาดูแลอย่าง อย่างดี อย่างดี ค่า เก็บ ดี รวมทังการใช้ ้ รอบคอบ มี รอบคอบ มี รักษาดูแล เวลาอย่างเหมาะ เหตุผล เหตุผล อย่างดี สม ไม่เอาเปรียบผู้ รอบคอบ มี ๕.๑.๒ ใช้ อืน และไม่ ่ เหตุผล ทรัพยากรของ ทำาให้ผู้อื่น ไม่เอาเปรียบ ส่วนรวมอย่าง เดือดร้อน ผูอน ไม่ ้ ื่ ประหยัด คุ้ม ทำาให้ผู้อื่น ค่าและเก็บ เดือดร้อน รักษาดูแล และให้อภัย อย่างดี เมื่อผู้อื่น ๕.๑.๓ ปฏิบัติตน กระทำาผิด และตัดสินใจ พลาด ด้วยความ รอบคอบ มีเหตุผล ๕.๑.๔ ไม่เอา เปรียบผู้อื่น และไม่ทำาให้ผู้ อืนเดือดร้อน ่ พร้อมให้อภัย เมื่อผู้อื่นกระทำา
  • 20. 20 ผิดพลาด ตั ว ชี้ วั ด ที่ ๕.๒ มี ภูมิ คุ้ ม กั น ในตั ว ที่ ดี ปรั บ ตั ว เพื่ อ อยู่ ใ นสั ง คมได้ อย่างมีความสุข พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดีเยี่ยม (๓) ๕.๒.๑ วางแผน ไม่วางแผนการ ใช้ ความรู้ ใช้ ความรู้ ใช้ ความรู้ การเรียน เรียนและการใช้ ข้อมูล ข้อมูล ข้อมูล การทำางาน ชีวิตประจำาวัน ข่าวสาร ใน ข่าวสารใน ข่าวสารใน และการใช้ การวางแผน การวางแผน การวางแผน ชีวตประจำา ิ การเรียน การเรียน การเรียน วันบนพืน ้ การทำางาน การทำางาน การทำางาน ฐานของ และใช้ และใช้ และใช้ใน ความรู้ ในชีวิตประจำา ในชีวิตประจำา ชีวตประจำาวัน ิ ข้อมูล วัน วัน ยอมรับ การ ข่าวสาร รับรู้การ ยอมรับการ เปลียนแปลง ่ ๕.๒.๒ รู้เท่าทัน เปลียนแปลง ่ เปลียนแปลง ่ ของ การ ของครอบครัว ของครอบครัว ครอบครัว เปลี่ยนแปลง ชุมชน และ ชุมชน สังคม ชุมชน สังคม ของสังคม สภาพ และสภาพ สภาพ และสภาพ แวดล้อม แวดล้อม แวดล้อม แวดล้อม และปรับตัว ยอมรับ และ อยูรวมกับผู้ ่่ ปรับตัวอยู่ อืน ่ ร่วมกับผู้อื่น ได้อย่างมี ได้อย่างมี ความสุข ความสุข เกณฑ์การให้คะแนน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ตัวชี้วัดที่ ๕.๑ ดำาเนินชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดีเยี่ยม (๓) ๕.๑.๑ ใ ช้ ใช้เงินและ ใช้ทรัพย์สิน ใช้ทรัพย์สิน ใช้ทรัพย์สิน ท รั พ ย์ สิ น ของใช้ส่วน ของตนเอง ของตนเอง ของตนเอง ของ ตัวอย่างไม่ และทรัพยากร และทรัพยากร และ ตนเอง เช่น ประหยัด ของส่วนรวม ของส่วนรวม ทรัพยากร เงิน สิ่งของ อย่างประหยัด อย่างประหยัด ของส่วนรวม เครื่องใช้ คุ้มค่า เก็บ คุ้มค่า เก็บ อย่าง ฯลฯ อย่าง รักษาดูแล รักษาดูแล ประหยัด คุ้ม ประห อย่างดี อย่างดี ค่า เก็บ ยั ด คุ้ ม ค่ า รอบคอบ มี รอบคอบ มี รักษาดูแล แ ล ะ เ ก็ บ เหตุผล เหตุผล อย่างดี
  • 21. 21 รั ก ษ า ดู แ ล ไม่เอาเปรียบผู้ ไม่เอาเปรียบผู้ ตัดสินใจ อย่างดี รวม อืน และไม่ ่ อืน ไม่ทำาให้ผู้ ่ ด้วยความ ทั้ ง ก า ร ใ ช้ ทำาให้ผู้อื่น อื่นเดือดร้อน รอบคอบ มี เวลาอย่ า ง เดือดร้อน และให้อภัย เหตุผล เหมาะสม เมื่อผู้อื่น ไม่เอาเปรียบ ๕.๑.๒ ใช้ กระทำาผิด ผูอน ไม่ ้ ื่ ทรัพยากร พลาด ทำาให้ผู้อื่น ของส่วน เดือดร้อน รวมอย่าง ให้อภัยเมื่อ ประหยัด ผู้อื่นกระทำา คุ้มค่าและ ผิดพลาด เก็บรักษา และเป็น ดูแลอย่างดี แบบอย่างที่ ดี ๕.๑.๓ ปฏิบัติ ตนและ ตัดสินใจ ด้วยความ รอบคอบ มีเหตุผล ๕ .๑ .๔ ไ ม่ เ อ า เปรี ย บผู้ อื่ น แ ล ะ ไ ม่ ทำา ใ ห้ ผู้ อื่ น เ ดื อ ด ร้ อ น พ ร้ อ ม ใ ห้ อภั ย เมื่ อ ผู้ อื่ น ก ร ะ ทำา ผิดพลาด ตัวชี้วัดที่ ๕.๒ มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ปรับตัวเพื่ออยู่ในสังคมได้ อย่างมีความสุข พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดีเยี่ยม (๓) ๕.๒.๑ วางแผน ไม่วางแผนการ ใช้ความรู้ ใช้ความรู้ ใช้ความรู้
  • 22. 22 การเรียน เรียนและการใช้ ข้อมูลข่าวสาร ข้อมูลข่าวสาร ข้อมูล การทำางาน ชีวิตประจำาวัน ในการวางแผน ในการวางแผน ข่าวสารใน และการใช้ การเรียน การ การเรียน การ การวางแผน ชีวตประจำา ิ ทำางานและ ทำางานและ การเรียน วันบนพืน ้ การใช้ในชีวิต การใช้ในชีวิต การทำางาน ฐานของ ประจำาวัน ประจำาวัน และการใช้ ความรู้ และยอมรับ ยอมรับ การ ในชีวิต ข้อมูล การ เปลียนแปลง ่ ประจำาวัน รู้ ข่าวสาร เปลียนแปลง ่ ของครอบครัว เท่าทันกับ ๕.๒.๒ รู้เท่าทัน ของครอบครัว ชุมชน สังคม การ การ ชุมชน สังคม และสภาพ เปลี่ยนแปล เปลี่ยนแปล และสภาพ แวดล้อม และ งของ งของสังคม แวดล้อม ปรับตัวอยู่ร่วม ครอบครัว และสภาพ กับผู้อื่นได้ ชุมชน แวดล้อม อย่างมีความ สังคม และ ยอมรับ สุข สภาพ และปรับตัว แวดล้อม เพื่ออยู่ร่วม และปรับตัว กับผู้อื่นได้ เพื่อ อยู่ร่วม อย่างมี กับผู้อื่น ความสุข ได้อย่างมี ความสุข
  • 23. 23 ข้อที่ ๖ มุ่งมั่นในการทำางาน นิยาม มุ่งมั่นในการทำางาน หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึง ความตั้งใจและรับผิดชอบในการทำาหน้าที่การงาน ด้วยความเพียร พยายาม อดทน เพื่อให้งานสำาเร็จตามเป้าหมาย ผู้ที่มุ่งมั่นในการทำางาน คือ ผู้ที่มลักษณะซึ่งแสดงออกถึง ี ความตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ทได้รับมอบหมายด้วยความเพียรพยายาม ทุมเท ี่ ่ กำาลังกาย กำาลังใจ ในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ให้สำาเร็จลุล่วง ตามเป้า หมายที่กำาหนดด้วยความรับผิดชอบ และมีความภาคภูมิใจในผลงาน ตัวชี้วัด ๖.๑ ตั้งใจและรับผิดชอบในหน้าที่การงาน ๖.๒ ทำางานด้วย ความเพียรพยายาม และ อดทนเพื่อให้ งานสำาเร็จตามเป้าหมาย ตัวชี้วัดและพฤติกรรมบ่งชี้ ตัวชี้วัด พฤติกรรมบ่งชี้ ๖.๑ ตั้งใจและรับ ๖.๑.๑ เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบ ผิดชอบ ใน หมาย การปฏิบัติหน้าที่ ๖.๑.๒ ตั้งใจและรับผิดชอบในการทำางานให้สำาเร็จ การงาน ๖.๑.๓ ปรับปรุงและพัฒนาการทำางานด้วยตนเอง ๖.๒ ทำางานด้วย ๖.๒.๑ ทุ่มเททำางาน อดทน ไม่ย่อท้อต่อปัญหาและ ความเพียร อุปสรรคในการทำางาน พยายาม และ ๖.๒.๒ พยายามแก้ปัญหาและอุปสรรคในการทำางาน อดทนเพื่อให้ ให้สำาเร็จ งานสำาเร็จตาม ๖.๒.๓ ชื่นชมผลงานด้วยความภาคภูมิใจ เป้าหมาย