SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  38
Télécharger pour lire hors ligne
 
 
หนึ่งวันกับกิจวัตรในเดือนเราะมะฎอน 
[ ไทย – Thai – ‫] ﺗﺎﻳﻼﻧﺪي‬  
 
เว็บไซต www.rasoulallah.net
 
 
แปลโดย : แวมูฮัมหมัดซาบรี แวยะโกะ
ตรวจทานโดย : ซุฟอัม อุษมาน 
2011 – 1432 
 
 
 
 
 
﴿‫رﻣﻀﺎن‬ ‫ﻲﻓ‬ ‫ﻳﻮﻣﻚ‬﴾
»‫اﺤﻛ‬ ‫ﺑﺎﻟﻠﻐﺔ‬‫ﺎﻳﻼﻧﺪﻳ‬‫ﺔ‬«
 
‫اﷲ‬ ‫رﺳﻮل‬ ‫ﻣﻮﻗﻊ‬www.rasoulallah.net
‫ﺗﺮﻤﺟﺔ‬:‫ﻳﻌﻘﻮب‬ ‫ﺻﺮﺒي‬ ‫ﺤﻣﻤﺪ‬
‫ﻣﺮاﺟﻌﺔ‬:‫ﻋﺜﻤﺎن‬ ‫ﺻﺎﻲﻓ‬
2011 – 1432
3 
 
ดวยพระนามของอัลลอฮฺ ผูทรงเมตตา ปรานียิ่งเสมอ
หนึ่งวันกับกิจวัตรในเดือนเราะมะฎอน 
 
สารบัญ 
ละหมาดศุบหฺ 
หลังละหมาดศุบหฺ 
เดินทางไปทํางาน 
ละหมาดซุฮฺริ 
ละหมาดอัศรฺ 
กอนอะซานมัฆริบ 
ละหมาดมัฆริบ 
ละหมาดอิชาอ 
หลังละหมาดตะรอวีหฺ 
นอน 
ละหมาดตะฮัจุด 
กินสะหูร 
ความปรารถนาบางประการที่เกี่ยวของกับการถือศีลอด
พรอมกับหลักฐานของทุกความปรารถนา 
4 
 
ละหมาดศุบหฺ 
ใหกลาวตามการอะซาน(ทุกประโยค ยกเวนเมื่อรับประโยค
“หัยยะอะลัศเศาะลาฮฺ” กับ “หัยยะอะลัลฟะลาหฺ” ใหกลาววา
(
َ
‫ﻻ‬
َ
‫ل‬ْ‫ﻮ‬َ‫ﺣ‬
َ
‫ﻻ‬َ‫و‬
َ
‫ة‬َّ‫ﻮ‬
ُ
‫ﻗ‬
َّ
‫إﻻ‬‫ﺎﷲ‬ِ‫ﺑ‬ ) (อานวา ลาเหาละ วะลา กุววะตะ อิล
ลา บิลลาฮฺ) ทั้งนี้เพื่อที่จะไดรับผลบุญเหมือนกับผูอะซาน -ผูแปล)
แลวใหเศาะละวาตแกทานนบี ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม
หลังจากนั้นก็ใหอานดุอาอ อัล-วะสีละฮฺ (ดุอาอหลังจากอะซาน) วา
»‫اﻢﻬﻠﻟ‬
َّ
‫ﺎﻣ‬َّ‫اﺤﻛ‬ ِ‫ة‬َ‫ﻋﻮ‬َّ ‫ا‬ ِ‫ه‬ِ‫ﺬ‬
َ
‫ﻫ‬
َّ
‫ب‬َ‫ر‬
ً
‫ﺪا‬
َّ
‫ـﻤ‬
َ
‫ـﺤ‬
ُ
‫ﻣ‬ ِ‫آت‬ ،ِ‫ﺔ‬
َ
‫ﺎﺋﻤ‬
َ
‫اﻟﻘ‬ ِ‫ة‬‫ﻼ‬
َّ
‫اﻟﺼ‬َ‫و‬ ،ِ‫ﺔ‬
ُ
‫ـﻪ‬
َ
‫ﺗ‬
ْ
‫ﺪ‬
َ
‫ﻋ‬َ‫و‬ ‫ِي‬
َّ
‫ا‬
ً
‫ﻮدا‬
ُ
‫ـﻤ‬
ْ
‫ـﺤ‬
َ
‫ﻣ‬
ً
‫ﺎﻣﺎ‬
َ
‫ﻘ‬
َ
‫ﻣ‬
ُ
‫ﻪ‬
ْ
‫ﺜ‬
َ
‫ﻌ‬
ْ
‫اﻧ‬َ‫و‬ ،
َ
‫ﺔ‬
َ
‫ﻴﻠ‬ ِ‫ﻀ‬
َ
‫اﻟﻔ‬َ‫و‬
َ
‫ﺔ‬
َ
‫ﻴﻠ‬ِ‫ﺳ‬َ‫اﻟﻮ‬«
)‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫اﻛﺨﺎري‬٦١٤،٤٧١٩(
“อัลลอฮุมมะ ร็อบบะ ฮาซิฮิดดะอฺวะติตตามมะฮฺ วัศเศาะลาติล
กออิมะฮฺ อาติ มุหัมมะดะนิลวะสีละฮฺ วัลฟะฎีละฮฺ วับอัษฮุ มะกอ
มัน มะหฺมูดะนิลละซี วะอัดตะฮฺ”
ความวา “โออัลลอฮฺ พระเปนเจาแหงการเชิญชวนอันสมบูรณ
และการละหมาดที่กําลังจะปฏิบัติอยูนี้ ขอพระองคทรงโปรด
ประทานความดี ประเสริฐ และขอพระองคทรงโปรดนํามุหัม
มัดสูตําแหนงที่ไดรับการสรรเสริญ ซึ่งพระองคไดทรงสัญญา
ไวดวยเถิด”
5 
 
(ทานนบีกลาววา ใครที่กลาวเชนนี้) “เขาจะไดรับการ
ชะฟาอะฮฺจากฉันในวันกิยามะฮฺ” (บันทึกโดยอัล-บุคอรีย :
614,4719)
ดุอาอระหวางการอะซานกับอิกอมะฮฺจะไมถูกผลักไส
ดังนั้นจงฉกฉวยชวงเวลาแหงการตอบรับนี้เถิด และพึงทราบเถิดวา
ดุอาอของผูที่ถือศีลอดก็ไมถูกผลักไสเชนเดียวกัน ดังที่ทานเราะสู
ลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาววา
»
ٌ
‫ﺔ‬
َ
‫ﺛ‬
َ
‫ﻼ‬
َ
‫ﺛ‬
َ
‫ﻻ‬
ُّ
‫د‬َ‫ﺮ‬
ُ
‫ﺗ‬
ْ
‫ﻢ‬
ُ
‫ﻬ‬
ُ
‫ﻳ‬َ‫ﻮ‬
ْ
‫ﻋ‬
َ
‫د‬:ُ‫ِﻢ‬‫ﺋ‬‫ﺎ‬
َّ
‫اﻟﺼ‬
َّ َ
‫ﺣ‬َ‫ﺮ‬ِ‫ﻄ‬
ْ
‫ﻔ‬
ُ
‫ﻓ‬،
ُ
‫ﺎم‬
َ
‫ﻣ‬ِ‫اﻹ‬َ‫و‬
ُ
‫ِل‬‫د‬‫ﺎ‬
َ
‫اﻟﻌ‬،
ُ
‫ة‬َ‫ﻮ‬
ْ
‫ﻋ‬
َ
‫د‬َ‫و‬ِ‫ﻮم‬
ُ
‫ﻠ‬
ْ
‫ﻈ‬
َ
‫اﻟﻤ‬‫ﺎ‬
َ
‫ﻬ‬
ُ
‫ﻌ‬
َ
‫ﻓ‬ْ‫ﺮ‬
َ
‫ﻳ‬
ُ َّ
‫اﺑ‬
َ
‫ق‬
ْ
‫ﻮ‬
َ
‫ﻓ‬ِ‫ﺎم‬
َ
‫ﻤ‬
َ
‫اﻟﻐ‬
َ
‫ﻳ‬َ‫و‬
ُ
‫ﺢ‬
َ
‫ﺘ‬
ْ
‫ﻔ‬‫ﺎ‬
َ
‫ﻬ‬
َ
‫ﻟ‬
َ
‫اب‬َ‫ﻮ‬
ْ
‫ﺑ‬
َ
‫أ‬
ِ‫ء‬‫ﺎ‬
َ
‫ﻤ‬
َّ
‫اﻟﺴ‬،
ُ
‫ﻮل‬
ُ
‫ﻘ‬
َ
‫ﻳ‬َ‫و‬
ُّ
‫ب‬َّ‫اﻟﺮ‬:ِ‫ﻲﺗ‬َّ‫ِﺰ‬‫ﻋ‬َ‫و‬ِ‫ﻚ‬
َّ
‫ﻧ‬َ ُ‫ﺮﺼ‬
ْ
‫ﻧ‬
َ َ
‫ﻷ‬
ْ
‫ﻮ‬
َ
‫ﻟ‬َ‫و‬
َ
‫ﺪ‬
ْ
‫ﻌ‬
َ
‫ﻧ‬ٍ‫ﻦﻴ‬ِ‫ﺣ‬«
)‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫اﻟﺮﺘﻣﺬي‬٣٥٩٨،‫اﻟﺮﺘﻏﻴﺐ‬ ‫ﺿﻌﻴﻒ‬ ‫ﻲﻓ‬ ‫اﻷﻛﺎ‬ ‫وﺿﻌﻔﻪ‬
‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫واﻟﺮﺘﻫﻴﺐ‬٥٩٧(
ความวา “บุคคลสามประเภทที่การขอดุอาอของเขาจะไมถูก
ผลักไส นั้นคือ ผูที่ถือศีลอดกระทั่งเขาไดละศีลอด อิมามที่
เที่ยงธรรม และดุอาอของผูถูกอธรรม ซึ่งอัลลอฮฺจะดุอาอนั้น
ขึ้นเหนือเมฆ และใหประตูแหงฟากฟาทั้งหลายเปดเพื่อรับดุ
อาอนั้น และอัลลอฮฺจะตรัสวา ดวยกับเกียรติของขา แนแท
6 
 
ฉันตองชวยเหลือเจาอยางแนนอน แมมันจะผานไปแลวก็
ตาม” (บันทึกโดยอัต-ติรมิซีย : 3598, อัล-อัลบานีย กลาววาเปนหะ
ดีษเฎาะอีฟ ดู เฎาะอีฟ อัต-ตัรฆีบ วัต-ตัรฮีบ 597 ถึงแมนวาหะดีษ
ขางตนนี้อยูในทัศนะที่เฎาะอีฟ แตก็ยังมีหะดีษอื่นๆ ที่มีเนื้อหาที่
คลายคลึงกันเชน
»
ُ
‫ث‬
َ
‫ﻼ‬
َ
‫ﺛ‬ٍ‫ات‬َ‫ﻮ‬
َ
‫ﻋ‬
َ
‫د‬
ٌ
‫ﺎت‬
َ
‫ﺎﺑ‬
َ
‫ﺠ‬
َ
‫ﺘ‬
ْ
‫ﺴ‬
ُ
‫ﻣ‬:
ُ
‫ة‬َ‫ﻮ‬
ْ
‫ﻋ‬
َ
‫د‬ِ‫ﺋ‬‫ﺎ‬
َّ
‫اﻟﺼ‬،ِ‫ﻢ‬
ُ
‫ة‬َ‫ﻮ‬
ْ
‫ﻋ‬
َ
‫د‬َ‫و‬،ِ‫ﻮم‬
ُ
‫ﻠ‬
ْ
‫ﻈ‬
َ
‫ﻤ‬
ْ
‫اﻟ‬
ُ
‫ة‬َ‫ﻮ‬
ْ
‫ﻋ‬
َ
‫د‬َ‫و‬ِ‫ِﺮ‬‫ﻓ‬‫ﺎ‬
َ
‫ﺴ‬
ُ
‫ﻤ‬
ْ
‫اﻟ‬«)‫اﻟﻄﺮﺒا‬ ‫ﺨء‬ ‫ا‬‫ﺑﺮﻗﻢ‬١٣١٣‫وﺻﺤﺤﻪ‬ ،
‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫اﺠﻟﺎﻣﻊ‬ ‫ﺻﺤﻴﺢ‬ ‫ﻲﻓ‬ ‫اﻷﻛﺎ‬٣٠٣٠(
ความวา “ดุอาอของบุคคลสามประเภทตอไปนี้เปนดุอาอที่ถูก
ตอบรับ ไดแก ดุอาอของผูถือศีลอด ดุอาอของผูถูกอธรรม
และดุอาอของผูเดินทาง” (อัด-ดุอาอ โดยทานอัฏ-ฏ็อบรอนีย ชัยคฺ
อัล-อัลบานียมีทัศนะวา เศาะฮีหฺ ในหนังสือ เศาะฮีหฺ อัล-ญามิอฺ
3030 -ผูแปล)
กอนที่จะละหมาดศุบหฺ ก็ใหละหมาดสุนัตเราะวาติบสอง
ร็อกอัตกอนศุบหฺกอน ซึ่งสุนัตเราะวาติบนั้นมีทั้งหมด 12 ร็อกอัต
ดังที่ทานอิมามมุสลิมไดบันทึกในหนังสือเศาะฮีหฺของทาน จากทาน
7 
 
หญิงอุมมุหะบีบะฮฺ ภรรยาของทานนบี ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ
วะสัลลัม ไดเลาวา
»
ً
‫ﺨ‬ُّ‫ﻮ‬
َ
‫ﻄ‬
َ
‫ﻳ‬
ً
‫ﺔ‬
َ
‫ﻌ‬
ْ
‫ﻛ‬َ‫ر‬
َ
‫ة‬َ ْ
‫ﺮﺸ‬
َ
‫ﻋ‬ ْ َ
‫ﻲﺘ‬
ْ
‫ِﻨ‬‫ﺛ‬ ٍ‫م‬
ْ
‫ﻮ‬
َ
‫ﻳ‬
َّ ُ
‫ﻞﻛ‬ ِ ِ‫ﺑ‬
ِّ
‫ﻲﻠ‬
َ
‫ﺼ‬
ُ
‫ﻳ‬ ٍ‫ﻢ‬ِ‫ﻠ‬
ْ
‫ﺴ‬
ُ
‫ﻣ‬ ٍ‫ﺪ‬
ْ
‫ﺒ‬
َ
‫ﻗ‬
ْ
‫ِﻦ‬‫ﻣ‬ ‫ﺎ‬
َ
‫ﻣ‬
ٍ‫ﺔ‬
َ
‫ﻳﻀ‬ِ‫ﺮ‬
َ
‫ﻓ‬ َ ْ
‫ﺮﻴ‬
َ
‫ﻟ‬ِ‫ﺔ‬
َّ
‫ﻨ‬َ ْ
‫اﺠﻟ‬ ِ‫ﻲﻓ‬ ‫ﺎ‬
ً
‫ﺘ‬
ْ
‫ﻴ‬
َ
‫ﺑ‬ ُ َ ُ‫اﷲ‬
َ
‫ﻰﻨ‬
َ
‫ﻧ‬
َّ
‫ﻻ‬ِ‫إ‬«)‫ﻣﺴﻠﻢ‬‫ﺑﺮﻗﻢ‬٧٢٨(
ความวา “ไมมีบาวมุสลิมคนไหนที่ไดละหมาดสุนัตวันละ 12
ร็อกอัต นอกจากอัลลอฮฺจะสรางบานใหเขาหลังหนึ่งในสวน
สวรรค” (บันทึกโดยมุสลิม : 728)
และการละหมาดสุนัตเราะวาติบที่บานยอมเปนสิ่งที่
ประเสริฐที่สุด
ใหละหมาดศุบหฺเปนญะมาอะฮฺ ดังที่ทานอิมามมุสลิม 657
ไดรายงานจากทานุนดุบ บิน อับดุลลอฮฺ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ ได
เลาวา ทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาววา
»
ْ
‫ﻦ‬
َ
‫ﻣ‬
َّ
‫ﻰﻠ‬
َ
‫ﺻ‬
َ
‫ﺢ‬
ْ
‫ﺒ‬
ُّ
‫اﻟﺼ‬َ‫ﻮ‬
ُ
‫ﻬ‬
َ
‫ﻓ‬ِ‫ﻲﻓ‬ِ‫ﺔ‬
َّ
‫ِﻣ‬‫ذ‬،ِ‫ﷲ‬‫ا‬
َ
‫ﻼ‬
َ
‫ﻓ‬ُ‫ﻢ‬
ُ
‫ﻜ‬
َّ
‫ﻨ‬
َ
‫ﺒ‬
ُ
‫ﻠ‬
ْ
‫ﻄ‬
َ
‫ﻓ‬ُ‫اﷲ‬
ْ
‫ِﻦ‬‫ﻣ‬
ِ‫ﻪ‬ِ‫ﺘ‬
َّ
‫ِﻣ‬‫ذ‬ٍ‫ء‬ ْ َ
ِ‫ﺑ‬
ُ
‫ﻪ‬
َ
‫ﻛ‬ِ‫ر‬
ْ
‫ﺪ‬
ُ
‫ﻴ‬
َ
‫ﻓ‬
ُ
‫ﻪ‬
َّ
‫ﺒ‬
ُ
‫ﻜ‬
َ
‫ﻴ‬
َ
‫ﻓ‬ِ‫ﻲﻓ‬ِ‫ﺎر‬
َ
‫ﻧ‬َ‫ﻢ‬
َّ
‫ﻨ‬
َ
‫ﻬ‬
َ
‫ﺟ‬«)‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫ﻣﺴﻠﻢ‬٦٥٧(
ความวา “ผูใดที่ละหมาดศุบหฺ เขาก็จะไดอยูในความคุมครอง
ของอัลลอฮฺ ดังนั้นพวกเจาจงอยาสรางความเดือดรอนใดๆ
แกผูที่อัลลอฮฺไดใหความคุมครองแกเขาเถิด ไมเชนนั้น เขาก็
8 
 
จะพบเจอกับการลงโทษดวยกับการคว่ําใบหนาลากสู
นรกญะฮันนัม” (บันทึกโดยมุสลิม : 657)
ทานอัน-นะวะวีย ไดกลาวในหนังสือ “ชัรหุนมุสลิม
(5/158)” วา ‫ﻣﺔ‬ ‫ا‬ ณ ที่นี้ หมายถึง “คุมครองหรือใหความ
ปลอดภัย”
หลังละหมาดศุบหฺ 
อานอัซการฺ(บทซิกิรฺตางๆ เพื่อรําลึกถึงอัลลอฮฺ)หลังจากได
ใหสลามของการละหมาด
หลังจากละหมาดแลวก็ใหนั่งอยูในมัสญิด(สําหรับผูหญิงก็
ใหนั่ง ณ ที่เธอไดละหมาด) จนกระทั่งดวงอาทิตยขึ้น ซึ่งผลบุญของ
มันนั้นคือเสมือนการทําหัจญและอุมเราะฮฺอยางสมบูรณ ทั้งนี้ก็ให
ขะมักเขมนในชวงเวลานี้ดวยการอานอัลกุรอาน และใหสัมผัสถึงคํา
ดํารัสของอัลลอฮฺ อัซซะวะญัลลาที่วา
﴿ۡ‫ج‬
َ
‫ف‬
ۡ
‫ٱل‬
َ
‫ان‬َ‫ء‬ۡ‫ر‬
ُ
‫ق‬َ‫و‬
ٗ
‫ود‬ُ‫ه‬
ۡ
‫ش‬َ‫م‬
َ
‫ن‬
َ
‫ك‬ ِ‫ر‬ۡ‫ج‬
َ
‫ف‬
ۡ
‫ٱل‬
َ
‫ان‬َ‫ء‬ۡ‫ر‬
ُ
‫ق‬
َّ
‫ن‬ِ‫إ‬ِۖ‫ر‬‫ا‬٧٨﴾]‫اﻹﺮﺳاء‬
:٧٨[ 
9 
 
ความวา “และการอานยามรุงอรุณ แทจริงการอานยามรุงอรุณ
นั้นเปนพยานยืนยันเสมอ” (สูเราะฮฺ อัล-อิสรออ 78)
อานอัซการยามเชา และละหมาดฎฮา(นั้นคือ หลังจากที่
ดวงอาทิตยขึ้นประมาณ 20 นาที) จํานวนร็อกอัตที่นอยที่สุดคือ สอง
ร็อกอัต แตถาตองการที่จะเพิ่มจํานวนร็อกอัตอีก ก็ใหละหมาดทีละ
สองๆ ตามที่อัลลอฮฺทรงประสงค
ชวงเดินทางไปทํางาน 
การที่ทานไดเดินทางไปทํางานนั้น ก็ถือวาทานอยูในชวงอิ
บาดะฮฺ ดังนั้นจงกอบโกยผลบุญตางๆ จนกระทั่งทานไดรับผลบุญ
ตลอดชวงเวลาที่ทานทํางาน (ทานยังสามารถใชชวงเวลาที่เดินทาง
ไปทํางานนั้นดวยการอิสติฆฟารฺ(ขออภัยโทษ), ตัสบีหฺ(สรรเสริญ
อัลลอฮฺ), หรือฟงอัลกุรอาน) พึงยําเกรงตออัลลอฮฺเถิด และจงรักษา
ลิ้นของทาน อวัยวะตางๆของทาน และหากวายังมีชวงเวลาที่วาง
จากการทํางานเหลืออีกก็ใหฉกฉวยโอกาสนั้นดวยการอาน
อัลกุรอาน
10 
 
ละหมาดซุฮฺริ
สุนัตใหกลาวตามการอะซาน
การดุอาอระหวางการอะซานและอิกอมะฮฺนั้นจะไมถูกผลัก
ไส ดังนั้นจงฉกฉวยชวงเวลาแหงการตอบรับนี้เถิด
ใหละหมาดสุนัตเราะวาติบสี่ร็อกอัตกอนละหมาด(สอง
สลาม)
ใหฉกฉวยชวงเวลานี้ดวยการอานอัลกุรอานจนกระทั่งได
ยืนละหมาด (สงเสริมใหใชอัลกุรอานเลมเล็ก ฉบับพกพา เพื่อใหมัน
อยูกับทานตลอดเวลาไมวาจะอยูที่ทํางานหรือโรงเรียนหรือที่อื่นๆ)
หลังจากละหมาดก็ใหอานอัซการฺหลังจากที่ไดใหสลามของ
การละหมาด
ใหละหมาดสุนัตเราะวาติบสองร็อกอัตหลังจากละหมาด
ฟรฎซุฮฺริ
สําหรับคนที่ไมมีภารกิจอะไรที่ตองทําในชวงเวลานี้ ก็ใหเขา
ฉกฉวยโอกาสนี้ดวยการทําอิบาดะฮฺตางๆ ที่มีความหลากหลาย แต
ใหอานอัลกุรอานใหมากที่สุด
ละหมาดอัศริ
สุนัตใหกลาวตามการอะซาน
11 
 
ใหดุอาอระหวางการอะซานและอิกอมะฮฺ
ไมมีการละหมาดสุนัตกอนและหลังละหมาดอัศริ แตทานน
บี ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาววา
»َ‫ﻢ‬ِ‫ﺣ‬َ‫ر‬ُ‫اﷲ‬
ً
‫أ‬َ‫ﺮ‬
ْ
‫اﻣ‬
َّ
‫ﻰﻠ‬
َ
‫ﺻ‬
َ
‫ﻞ‬
ْ
‫ﺒ‬
َ
‫ﻗ‬ِ
ْ
‫ﺮﺼ‬
َ
‫ﻌ‬
ْ
‫اﻟ‬
ً
‫ﻌﺎ‬
َ
‫ﺑ‬
ْ
‫ر‬
َ
‫أ‬«)‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫داود‬ ‫أﺑﻮ‬1271
‫واﻟﺮﺘﻫﻴﺐ‬ ‫اﻟﺮﺘﻏﻴﺐ‬ ‫ﺻﺤﻴﺢ‬ ‫ﻲﻓ‬ ‫اﻷﻛﺎ‬ ‫وﺣﺴﻨﻪ‬588(
ความวา “อัลลอฮฺทรงเมตตาผูที่ละหมาดกอนอัศริสี่ร็อกอัต”
(บันทึกโดยอบูดาวูด 1271 ชัยคฺอัล-อัลบานียมีทัศนะวา หะสัน ใน
หนังสือ เศาะฮีหฺ อัต-ตัรฆีบ วัต-ตัรฮีบ 588)
แลวผูใดกันบางในหมูพวกเรา ที่ไมตองการความเมตตา
จากอัลลอฮฺ ??? หลังจากนั้นก็ใหอานอัลกุรอานจนกระทั่งไดยืนขึ้น
ละหมาด
หลังจากละหมาดฟรฎไปแลว ก็ใหอานอัซการฺหลังจากที่ได
ใหสลามจากการละหมาด และถาหากมีการเรียนการสอนในมัสญิด
ก็ใหเขาไปรวมฟงดวย โดยแนนอนอิบาดะฮฺที่ประเสริฐที่สุดในเดือน
เราะมะฎอนนั้นคือการอานอัลกุรอาน แตผูใดที่สามารถผนวกความ
ดีงามอื่นกับการอานอัลกุรอานดวยก็เปนสิ่งที่ดี
12 
 
หลังจากที่ไดเรียนที่มัสญิดแลว ก็ใหนั่งอยูในมัสญิดตอเพื่อ
อานอัลกุรอานตอ ดังที่ทาน อบู ฮุร็อยเราะฮฺ เราะฎิยัลลอฮุอันไดเลา
วา ทานนบี ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาววา
»‫ﻻ‬
ُ
‫ال‬َ‫ﺰ‬
َ
‫ﻳ‬
ُ
‫ﺪ‬
ْ
‫ﺒ‬
َ
‫اﻟﻌ‬
َ
‫ﻼة‬
َّ
‫اﻟﺼ‬ ُ‫ﺮ‬ِ‫ﻈ‬
َ
‫ﺘ‬
ْ
‫ﻨ‬
َ
‫ﻳ‬ ُ‫ه‬
َّ
‫ﻼ‬
َ
‫ﺼ‬
ُ
‫ﻣ‬ ِ‫ﻲﻓ‬
َ
‫ن‬
َ
‫ﺎﻛ‬ ‫ﺎ‬
َ
‫ﻣ‬ ٍ‫ة‬‫ﻼ‬
َ
‫ﺻ‬ ِ‫ﻲﻓ‬
‫ﻼ‬
َ
‫اﻟﻤ‬
ُ
‫ﻮل‬
ُ
‫ﻘ‬
َ
‫ﻳ‬َ‫و‬
ُ
‫ﺔ‬
َ
‫ِﻜ‬‫ﺋ‬:
ُ
‫ـﻪ‬
َ
‫ﻟ‬ ْ‫ﺮ‬ِ‫ﻔ‬
ْ
‫اﻏ‬ َّ‫ـﻢ‬
ُ
‫ﻬ‬
َّ
‫اﻟﻠ‬‫اﻢﻬﻠﻟ‬
َّ َ
‫ﺣ‬
ُ
‫ﻪ‬
ْ
‫ـﻤ‬
َ
‫ﺣ‬
ْ
‫ار‬
َ
‫ث‬ِ‫ﺪ‬
ْ
‫ـﺤ‬
ُ
‫ﻳ‬ ْ‫و‬
َ
‫أ‬
َ
‫ف‬ِ
َ‫ﺮﺼ‬
ْ
‫ﻨ‬
َ
‫ﻓ‬«)‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫ﻣﺴﻠﻢ‬٦٤٩(
ความวา “ถือวาบาวคนหนึ่งยังคงละหมาดอยู ตราบใดที่เขายัง
อยูในที่ละหมาดของเขาเพื่อคอยที่จะละหมาดเวลาตอไป
และมลาอิกะฮฺจะกลาววา โออัลลอฮฺ ไดโปรดใหอภัยแกเขา
โออัลลอฮฺไดโปรดใหความปรานีตอเขา จนกวาเขาจะลุกขึ้น
ไปหรือจนกวาเขาจะมีหะดัษ(สิ้นน้ําละหมาด)” (มุสลิม : 649)
กอนอะซานมัฆริบ
(กอนเขาเวลาละหมาด) 20 นาที ใหกลับบานแลวอาบน้ํา
ละหมาด
ตามดวยการอานอัซการฺยามเย็น และใหมั่นอิสติฆฟารฺ
และตัสบีหฺตออัลลอฮฺใหมากๆ
ดังที่อัลลอฮฺ ตะอาลา ไดตรัสวา
13 
 
﴿ِ‫وع‬
ُ
‫ل‬ ُ‫ط‬
َ
‫ل‬ۡ‫ب‬
َ
‫ق‬
َ
‫ك‬ِ
ّ‫ب‬َ‫ر‬ ِ‫د‬ۡ‫م‬َ
ِ‫ب‬ ۡ‫ح‬ِ
ّ‫ب‬َ‫س‬َ‫و‬
َ
‫ون‬
ُ
‫ول‬
ُ
‫ق‬َ‫ي‬ ‫ا‬َ‫م‬ ٰ َ َ ۡ
ِ‫ب‬ ۡ‫ٱص‬
َ
‫ف‬
ِ‫وب‬ُ‫ر‬
ُ
‫غ‬
ۡ
‫ٱل‬
َ
‫ل‬ۡ‫ب‬
َ
‫ق‬َ‫و‬ ِ‫س‬ۡ‫م‬
َّ
‫ٱلش‬٣٩﴾]‫ق‬:٣٩[ 
ความวา “ดังนั้น เจาจงอดทนตอสิ่งที่พวกเขากลาวถึง และจง
แซซองดวยการสรรเสริญพระเจาของเจากอนการขึ้นของดวง
อาทิตยและกอนการตก(ของมัน)” (สูเราะฮฺก็อฟ 39)
และสําหรับผูที่ถือศีลอดนั้นการดุอาอของเขาในขณะที่เขา
ไดละศีลอดนั้นยอมไมถูกผลักไสอยางแนนอน ดังนั้นจงฉกฉวย
ชวงเวลาที่มีคานี้เถิด
อยาลืมกอนถึงเวลามัฆริบเล็กนอย ใหมีสวนรวมในการ
เลี้ยงอาหารละศีลอดของพี่นอง(ดวยการเลี้ยงอาหารหรือเครื่องดื่ม
แกพวกเขา เชนอินทผลัม -ผูแปล) ซึ่งผูใดก็ตามที่เลี้ยงอาหารแกผูที่
ถือศีลอด เขาจะไดรับผลบุญเทากับผลบุญของผูถือศีลอด(ที่เขาให
อาหาร) (โดยที่ผลบุญนั้น ไมไดลดนอยลงไปจากผูถือศีลอดนั้นแต
อยางใด-ผูแปล) และพยายามใหมี(สวนรวม)ในการเลี้ยงละศีลอด
(ของพี่นอง)ในแตละวันดวย
สําหรับสตรีนั้นในชวงเวลาเย็น เธอก็จะไดรับผลบุญในสวน
ของการจัดเตรียมอาหาร โดยแนนอนในทุกๆ หยาดเหงื่อยอมมีผล
14 
 
บุญ และเธอยังสามารถใชชวงเวลานี้ในการเตรียมอาหารไปพรอมๆ
กับการอิสติฆฟารฺ การสรรเสริญตอัลลอฮฺ การเศาะละวาตตอทานน
บี ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม และยังสามารถรับฟงเทปซิกิรฺ
ตางๆ ซึ่งมันก็เปนการทําอิบาดะฮฺนั้นเอง หรืออาจจะฟงอัลกุรอานก็
ได
ละหมาดมัฆริบ
เมื่ออะซานแลว สงเสริมใหรีบเรงในการละศีลอด(นั้นคือ
เมื่อถึงเวลาละศีลอดแลว ก็ใหรีบละศีลอดโดยทันที) ดังที่ทานเราะสู
ลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาววา
»
َ
‫ﻻ‬
ُ
‫ال‬َ‫ﺰ‬
َ
‫ﻳ‬
ُ
‫ﺎس‬َّ‫اﺠ‬ٍ
ْ
‫ﺮﻴ‬
َ
ِ‫ﺨﺑ‬‫ﺎ‬
َ
‫ﻣ‬‫ﻮا‬
ُ
‫ﻠ‬
َّ
‫ﺠ‬
َ
‫ﻋ‬َ‫ﺮ‬
ْ
‫ﻄ‬ِ‫ﻔ‬‫اﻟ‬« )‫اﻛﺨﺎري‬
‫ﺑﺮﻗﻢ‬١٩٥٧،‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫وﻣﺴﻠﻢ‬١٠٩٨(
ความวา “มนุษยยังคงไดรับความดีงาม ตราบใดที่เขารีบเรงใน
การละศีลอด (เมื่อถึงเวลา)” (บันทึกโดยอัลบุคอรีย 1957 และ
มุสลิม 1098 )
และใหอานดุอาอวา
»َ‫ﺐ‬
َ
‫ﻫ‬
َ
‫ذ‬
ُ
‫ﺄ‬
َ
‫ﻤ‬
َّ
‫اﻟﻈ‬ِ‫ﺖ‬
َّ
‫ﻠ‬
َ
‫ﺘ‬
ْ
‫اﻧ‬َ‫و‬،
ُ
‫وق‬ُ‫ﺮ‬
ُ
‫ﻌ‬
ْ
‫اﻟ‬
َ
‫ﺖ‬
َ
‫ﺒ‬
َ
‫ﻋ‬َ‫و‬ُ‫ﺮ‬
ْ
‫ﺟ‬
َ ْ
‫اﻷ‬
ْ
‫ن‬ِ‫إ‬َ‫ﺎء‬
َ
‫ﺷ‬
ُ َّ
‫اﺑ‬«)‫أﺑﻮ‬
‫داود‬‫ﺑ‬‫ﺮﻗﻢ‬٢٠١٠،‫ﺻﺤﻴﺢ‬‫ﺳﻦﻨ‬‫أ‬‫داود‬‫رﻗﻢ‬٢٠٦٦:‫ﺣﺴﻦ‬(
15 
 
“ซะฮะบัซ เซาะมะอุ, วับตัลละติล อุรูก, วะษะบะตัล อัจญรุ, อิน
ชาอัลลอฮฺ
ความวา “ความกระหายไดดับลงแลว เสนโลหิตก็เปยกชื้น
และผลบุญก็ไดมั่นคงแลว อินชาอัลลอฮฺ (หากอัลลอฮฺทรง
ประสงค)” (รายงานโดย อบู ดาวูด หมายเลข 2010 ดู เศาะฮีหฺ
สุนัน อบี ดาวูด หมายเลข 2066 เปนหะดีษหะสัน)”
ใหทําตามแบบฉบับของทานนบี ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ
วะสัลลัม ในการละศีลอด ดวยการละศีลอดดวยกับผลอินทผลัมสด
(รุฏ็อบ) หากไมมีก็ใหละดวยอินทผลัมแหง(ตะมัรฺ) หากไมมีก็ใหละ
ศีลอดวยกับน้ํา และใหจัดเตรียมสํารับอาหารเพียงนอยนิดเทานั้น
เพราะมันจะชวยใหทานละหมาดตั้งแตเนิ่นๆ (ซึ่งผลบุญของการกิน
และพักผอนนั้นก็จะถูกคํานวน เนื่องดวยทานมีความยําเกรง ดวย
เหตุนั้นการเคารพเชื่อฟงนั้นคือการอิบาดะฮฺและเปนการเขา
ใกลอัลลอฮฺ)
ใหกลาวตามการอะซาน
ใหขอดุอาอระหวางการอะซานและอิกอมะฮฺ ดังที่ไดกลาว
มาแลวขางตน
16 
 
ใหละหมาดสุนัตเราะวาติบหลังจากละหมาดมัฆริบสอง
ร็อกอัต
ละหมาดอิชาอ
เดินทางไปละหมาดอิชาอตั้งแตเนิ่นๆ กอนถึงเวลาสัก
ประมาณ 20 นาที แลวใชชวงเวลานั้นในการอานอัลกุรอาน
สนับสนุนใหอานสวนของอัลกุรอานที่จะอานในละหมาดตะรอวีหฺ
และใหทวนบรรดาอายะฮฺที่มีอิทธิผลตอความรูสึก (อยางนี้แหละ ที่
จะชวยใหทานมีความคุชูอฺหรือมีสมาธิในการละหมาดตะรอวีหฺ)
ใหกลาวตามอะซาน
ใหขอดุอาอระหวางการอะซานและอิกอมะฮฺ
ละหมาดฟรฎอิชาอ ซึ่งมีบันทึกในเศาะฮีหฺมุสลิม จากการ
รายงานของทานอุษมาน อิบนุอัฟฟาน เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ ไดเลาวา
»
ْ
‫ﻦ‬
َ
‫ﻣ‬
َّ
‫ﻰﻠ‬
َ
‫ﺻ‬َ‫ﺎء‬
َ
‫ﺸ‬ِ‫ﻌ‬
ْ
‫اﻟ‬ِ‫ﻲﻓ‬ٍ‫ﺔ‬
َ
‫ﺎﻋ‬
َ َ
‫ﻤﺟ‬
َ
‫ﻜ‬
َ
‫ﻜ‬
َ
‫ﻓ‬‫ﺎ‬
َ
‫ﻤ‬
َّ
‫ﻏ‬
َ
‫ﺎم‬
َ
‫ﻗ‬
َ
‫ﻒ‬
ْ
‫ِﺼ‬‫ﻧ‬،ِ‫ﻞ‬
ْ
‫ﻴ‬
َّ
‫اﻟﻠ‬
ْ
‫ﻦ‬
َ
‫ﻣ‬َ‫و‬
َّ
‫ﻰﻠ‬
َ
‫ﺻ‬
َ
‫ﺢ‬
ْ
‫ﺒ‬
ُّ
‫اﻟﺼ‬ِ‫ﻲﻓ‬ٍ‫ﺔ‬
َ
‫ﺎﻋ‬
َ َ
‫ﻤﺟ‬‫ﺎ‬
َ
‫ﻤ‬
َّ
‫ﻏ‬
َ
‫ﻜ‬
َ
‫ﻜ‬
َ
‫ﻓ‬
َّ
‫ﻰﻠ‬
َ
‫ﺻ‬
َ
‫ﻞ‬
ْ
‫ﻴ‬
َّ
‫اﻟﻠ‬
ُ
‫ﻪ‬
َّ ُ
‫ﻠﻛ‬«)‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫ﻣﺴﻠﻢ‬
٦٥٦(
17 
 
ความวา “ผูใดละหมาอิชาอเปนญะมาอะฮฺเสมือนเขาได
ละหมาดครึ่งคืน และผูใดละหมาดศุบหฺเปนญะมาอะฮฺ เสมือน
เขาไดละหมาดตลอดทั้งคืน” (บันทึกโดยมุสลิม : 656)
อานอัซการ(บทรําลึกตางๆ)หลังจากไดใหสลามของการ
ละหมาด
ใหละหมาดสุนัตเราะวาติบหลังละหมาดอิชาอ 2 ร็อกอัต
ใหละหมาดตะรอวีหฺพรอมกับอิมามจนกระทั่งเสร็จสิ้นไป
พรอมกัน เนื่องจากมีหะดีษของทานนบี ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ
วะสัลลัม ไดกลาววา
»
ْ
‫ﻦ‬
َ
‫ﻣ‬
َ
‫ﺎم‬
َ
‫ﻗ‬
َ
‫ﻊ‬
َ
‫ﻣ‬ِ‫ﺎم‬
َ
‫ﻣ‬ِ
ْ
‫اﻹ‬
َّ َ
‫ﺣ‬،
َ
‫ف‬ِ
َ‫ﺮﺼ‬
ْ
‫ﻨ‬
َ
‫ﻓ‬َ‫ﺐ‬
َ
‫ﺘ‬
َ
‫ﻛ‬
ُ َّ
‫اﺑ‬ُ ََ
‫ﺎم‬
َ
‫ِﻴ‬‫ﻗ‬ٍ‫ﺔ‬
َ
‫ﻠ‬ْ َ
«
)‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫اﻟﻨﺴﺎ‬١٦٠٥،‫اﻟﺮﺘاوﻳﺢ‬ ‫ﺻﻼة‬ ‫ﻲﻓ‬ ‫اﻷﻛﺎ‬ ‫وﺻﺤﺤﻪ‬:٦(
ความวา “ผูใดก็ตามที่ละหมาดพรอมกับอิมาม(ละหมาดตะรอ
วีหฺ) จนอิมามเสร็จสิ้นจากการละหมาด อัลลอฮฺจะบันทึกผล
บุญแกเขาเสมือนเขาไดละหมาดทั้งคืน” (บันทึกโดยอัน-นะสา
อีย : 1605 ชัยคฺอัล-อัลบานีย มีทัศนะวาเศาะฮีหฺ ในหนังสือ เศาะ
ลาฮฺ อัต-ตะรอวีหฺ : 6)
18 
 
ดังนั้นจงพยายามรักษาผลบุญเสมือนไดละหมาดทั้งคืน
ดวยการปฏิบัติตามหะดีษนี้เถิด โดยที่ทานไมควรเลิกละหมาดกอนอิ
มาม
หลังละหมาดตะรอวีหฺ
ใหกลับไปที่บานโดยทันที เพื่อรับประทานอาหาร(อิฟฎอรฺ)
ใหสมบูรณ และเพื่อเปนการเจริญรอยตามแบบอยางของทานนบี
ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม แตก็ใหรับประทานอาหารอยาง
พอประมาณ ซึ่งทานนบี ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาววา
»‫ﺎ‬
َ
‫ﻣ‬
َ َ
‫ﻸ‬
َ
‫ﻣ‬ُ‫ﻦ‬
ْ
‫اﻧ‬
َ
‫م‬
َ
‫آد‬ً‫ء‬
َ
‫ﺨ‬ِ‫و‬‫ا‬ًّ َ
‫ﺮﺷ‬
ْ
‫ِﻦ‬‫ﻣ‬، ٍ‫ﻦ‬
ْ
‫ﻄ‬
َ
‫ﻧ‬ُ‫ﺐ‬
ْ
‫ﺴ‬
َ
‫ﺣ‬ِ‫ﻦ‬
ْ
‫اﺑ‬
َ
‫م‬
َ
‫آد‬
ٌ
‫ت‬
َ
‫ﻼ‬
ُ
‫ﻛ‬
ُ
‫أ‬
َ‫ﻦ‬
ْ
‫ﻤ‬ِ‫ﻘ‬
ُ
‫ﻳ‬،
ُ
‫ﻪ‬
َ
‫ﺒ‬
ْ
‫ﻠ‬
ُ
‫ﺻ‬
ْ
‫ن‬ِ‫ﺈ‬
َ
‫ﻓ‬
َ
‫ن‬
َ
‫ﺎﻛ‬
َ
‫ﻻ‬،
َ
‫ﺔ‬
َ
‫ﺎﻟ‬
َ َ
‫ﺤﻣ‬
ُ
‫ﺚ‬
ُ
‫ﻠ‬
ُ
‫ﺜ‬
َ
‫ﻓ‬، ٍ‫ﺎم‬
َ
‫ﻌ‬
َ
‫ﻃ‬
ُ
‫ﺚ‬
ُ
‫ﻠ‬
ُ
‫ﺛ‬َ‫و‬، ٍ‫اب‬َ َ
‫ﺮﺷ‬
ٌ
‫ﺚ‬
ُ
‫ﻠ‬
ُ
‫ﺛ‬َ‫و‬ِ‫ﻪ‬ِ‫ﺴ‬
ْ
‫ﻔ‬َ ِ‫ﺠ‬«)‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫أﻤﺣﺪ‬٤١٣٢،‫ﻲﻓ‬ ‫اﻷﻛﺎ‬ ‫وﺻﺤﺤﻪ‬
‫اﺠﻟﺎﻣﻊ‬ ‫ﺻﺤﻴﺢ‬٥٦٧٤(
ความวา “ไมมีภาชนะใดที่มนุษยใสอาหารจนเต็มจะเลวรายไป
กวาทองของมนุษยเอง เพียงพอเเลวโอมนุษยเอย เเคสอง
สามคําที่จะทําใหกระดูกสันหลังของทานเเข็งเเรง ถาหาก
จําเปนตองกินก็ขอใหแบงสามสวน หนึ่งสวนสามสําหรับ
อาหารของเขา หนึ่งสวนสามสําหรับเครื่องดื่มของเขา และ
19 
 
หนึ่งสวนสามสําหรับลมหายใจของเขา” (บันทึกโดยอะหฺมัด :
4132 ชัยคฺอัล-อัลบานียมีทัศนะวาเศาะฮีหฺ ในหนังสือ เศาะฮีหฺ อัล-
ญามิอฺ : 5674)
ใหใชเวลาที่เหลือดวยการทําอิบาดะฮฺตางๆ เชน สัมพันธ
เครือญาติ, อานหนังสือตัฟสีรอัลกุรอาน, อานหนังสือชีวประวัติของ
ทานนบี, ทบทวนความรูตางๆ, การดะอฺวะฮฺไปสูอัลลอฮฺ, เยี่ยมเยียน
คนเจ็บปวย, ใหความชวยเหลือผูที่รองขอความชวยเหลือ, นั่งรวมใน
วงที่มีการรําลึกถึงอัลลอฮฺ และอื่นๆ อีกมากมาย
ใหรําลึกถึงอัลลอฮฺในทุกสภาพการณของทาน ไมวาจะเปน
ชวงที่ทานเดินทางไปหรือกลับจากมัสญิด และใหพยายามรักษาอัซ
การฺตางๆ ในทุกๆ สภาพการณและความเหมาะสม เชน ชวงที่ออก
หรือเขาบาน ตอนสวมเสื้อผา หรืออัซการกอนนอน และอื่นอีก
มากมาย (ใหไปดูคูมือรวมบทดุอาอสําหรับมุสลิม “หิศนุลมุสลิม”)
นอน
ใหเขานอนเวลา 23.00 น. โดยประมาณ และพยายามทํา
ใหการนอนนั้นเปนไปเพื่ออัลลอฮฺ เพื่อจะไดเพิ่มการฏออะฮฺตอ
20 
 
พระองค และเพื่อเปนการเปลี่ยนจากการนอนที่เปนปรกติวิสัยเปน
การนอนที่เปนอิบาดะฮฺ และทําใหไดรับผลบุญ
ตะฮัจุด
ใหตื่นในชวงสุดทายของค่ําคืน ซึ่งเปนชวงเวลาของการดุ
อาอและการทําความดีทั้งหลายนั้นจะเปนที่ตอบรับ
สะหูรฺ
มีรายงานจากทานอิบนุ อับบาส เราะฎิยัลลอฮุอันฮุมา วา
َّ
‫ن‬
َ
‫أ‬
َ
‫ﻮل‬
ُ
‫ﺳ‬َ‫ر‬ِ‫ﷲ‬‫ا‬
َّ
‫ﻰﻠ‬
َ
‫ﺻ‬
ُ َّ
‫اﺑ‬‫ﻴﻪ‬
َ
‫ﻠ‬
َ
‫ﻋ‬‫ﻢ‬
َّ
‫ﻠ‬
َ
‫ﺳ‬َ‫و‬
َ
‫ﺚ‬
َ
‫ﻌ‬
َ
‫ﻧ‬‫ﺎ‬
َ
‫ﺑ‬
َ
‫أ‬
َ
‫ﻮ‬
ُ
‫ﻣ‬ِ‫ﻲﻓ‬ٍ‫ﺔ‬
َّ
‫ﻳ‬ِ
َ‫ﺮﺳ‬
ِ‫ﻲﻓ‬ِ‫ﺮ‬
ْ
‫ﺤ‬َ ْ
‫اﻛ‬،‫ﺎ‬
َ
‫ﻨ‬
ْ
‫ﻴ‬
َ
‫ﺒ‬
َ
‫ﻓ‬
ْ
‫ﻢ‬
ُ
‫ﻫ‬
َ
‫ﻟِﻚ‬
َ
‫ﺬ‬
َ
‫ﻛ‬
ْ
‫ﺪ‬
َ
‫ﻗ‬‫ﻮا‬
ُ
‫ﻌ‬
َ
‫ﻓ‬َ‫ر‬
َ
‫اع‬َ ِّ
‫اﻟﺮﺸ‬ِ‫ﻲﻓ‬ٍ‫ﺔ‬
َ
‫ﻠ‬ْ َ
ٍ‫ﺔ‬
َ
‫ﻤ‬ِ‫ﻠ‬
ْ
‫ﻈ‬
ُ
‫ﻣ‬،
‫ا‬
َ
‫ذ‬ِ‫إ‬
ٌ
‫ِﻒ‬‫ﺗ‬‫ﺎ‬
َ
‫ﻫ‬
ْ
‫ِﻦ‬‫ﻣ‬ِ‫ِﻬ‬‫ﻗ‬
ْ
‫ﻮ‬
َ
‫ﻓ‬
ْ
‫ﻢ‬
ُ
‫ﻒ‬ِ‫ﺘ‬
ْ
‫ﻬ‬
َ
‫ﻓ‬ِ‫ﻞ‬
ْ
‫ﻫ‬
َ
‫ﺄ‬ِ‫ﺑ‬ِ‫ﺔ‬
َ
‫ﻴﻨ‬ِ‫ﻔ‬
َّ
‫اﻟﺴ‬:‫ﻮا‬
ُ
‫ِﻔ‬‫ﻗ‬
ْ
‫ﻢ‬
ُ
‫ﻛ‬ُ
ِ‫ﺮﺒ‬
ْ
‫ﺧ‬
ُ
‫أ‬
ٍ‫ء‬‫ﺎ‬
َ
‫ﻀ‬
َ
‫ﻘ‬ِ‫ﺑ‬ُ‫ﺎه‬
َ
‫ﻀ‬
َ
‫ﻗ‬
ُ َّ
‫اﺑ‬
َ َ
‫ﺒﻟ‬ِ‫ﻪ‬ِ‫ﺴ‬
ْ
‫ﻔ‬
َ
‫ﻏ‬،
َ
‫ﺎل‬
َ
‫ﻘ‬
َ
‫ﻓ‬‫ﻮ‬
ُ
‫ﺑ‬
َ
‫أ‬
َ
‫ﻮ‬
ُ
‫ﻣ‬:ْ
ِ‫ﺮﺒ‬
ْ
‫ﺧ‬
َ
‫أ‬
ْ
‫ن‬ِ‫إ‬
َ
‫ﺖ‬
ْ
‫ﻨ‬
ُ
‫ﻛ‬
،‫ا‬ً
ِ‫ﺮﺒ‬
ْ ُ
‫ﺨﻣ‬
َ
‫ﺎل‬
َ
‫ﻗ‬:
َّ
‫ن‬ِ‫إ‬
َ َّ
‫اﺑ‬
َ
‫ك‬َ‫ﺎر‬
َ
‫ﺒ‬
َ
‫ﻳ‬
َ
‫ﺎﻰﻟ‬
َ
‫ﻌ‬
َ
‫ﻳ‬َ‫و‬
َ َ
‫ﻗ‬
َ َ
‫ﺒﻟ‬ِ‫ﻪ‬ِ‫ﺴ‬
ْ
‫ﻔ‬
َ
‫ﻏ‬
ُ
‫ﻪ‬
َّ
‫ﻧ‬
َ
‫ﻛ‬
ْ
‫ﻦ‬
َ
‫ﻣ‬
َ
‫ﺶ‬
َ
‫ﻄ‬
ْ
‫ﻗ‬
َ
‫أ‬
ُ
‫ﻪ‬
َ
‫ﺴ‬
ْ
‫ﻔ‬
َ
‫ﻏ‬ُ َ
ِ‫ﻲﻓ‬
ْ
‫ﻮ‬
َ
‫ﻳ‬ٍ‫م‬ٍ‫ِﻒ‬‫ﺋ‬‫ﺎ‬
َ
‫ﺻ‬ُ‫ﺎه‬
َ
‫ﻘ‬
َ
‫ﺳ‬
ُ َّ
‫اﺑ‬
َ
‫م‬
ْ
‫ﻮ‬
َ
‫ﻳ‬ِ‫ﺶ‬
َ
‫ﻄ‬
َ
‫ﻌ‬
ْ
‫اﻟ‬.
)‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫اﻟﺰﺒار‬٤٩٧٤،‫اﻟﺮﺘﻏﻴﺐ‬ ‫ﺿﻌﻴﻒ‬ ‫ﻲﻓ‬ ‫اﻷﻛﺎ‬ ‫وﺿﻌﻔﻪ‬
‫واﻟﺮﺘﻫﻴﺐ‬٥٧٧(،‫رواﻳﺔ‬ ‫و‬»‫ﻳﻮم‬ ‫ﻲﻓ‬ ‫ﷲ‬ ‫ﻧﻔﺴﻪ‬ ‫ﻋﻄﺶ‬ ‫ﻣﻦ‬ ‫أن‬
21 
 
‫اﻟﻘﻴﺎﻣﺔ‬ ‫ﻳﻮم‬ ‫ﻳﺮوﻳﻪ‬ ‫أن‬ ‫اﷲ‬ ‫ﺒﻟ‬ ‫ﺣﻘﺎ‬ ‫ﺎﻛن‬ ‫ﺣﺎر‬«،‫اﻤﻟﻨﺬري‬ ‫ﻗﺎل‬:
‫ﻲﻓ‬ ‫اﻷﻛﺎ‬ ‫وﺣﺴﻨﻪ‬ ،‫اﷲ‬ ‫ﺷﺎء‬ ‫إن‬ ‫ﺣﺴﻦ‬ ‫ﺑﺈﺳﻨﺎد‬ ‫اﻟﺰﺒار‬ ‫رواه‬
‫اﻟﺮﺘﻏﻴﺐ‬ ‫ﺻﺤﻴﺢ‬)١٠/٤١٢(
ความวา “ทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม
ไดสงทานอบีมูซาไปยังกองเรือในทะเล ซึ่งระหวางที่พวกเรา
อยูในนั้น พวกเขาก็ไดแลนเรือในค่ําคืนอันมืดมิด ครั้นแลวก็มี
ผูประกาศที่อยูเหนือพวกเขาไดปาวประกาศแกผูคนที่อยูใน
เรือวา พวกทานจงหยุดเถิด ฉันจะแจงขาวแกพวกทานใน
กิจการที่อัลลอฮฺทรงกําหนดแกพระองคเอง ดังนั้นทานอบูมู
ซาจึงกลาววา ทานจงแจงขาวเถิด ถาทานเปนผูแจงขาวจริงๆ
เขาจึงกลาววา แทจริงอัลลอฮฺ ตะบาเราะกะ วะตะอาลา ได
กําหนดแกพระองคทานเองวา ผูใดก็ตามที่มีปรารถนาความ
กระหาย(ถือศีลอด)ในชวงเวลาที่รอนจัด อัลลอฮฺก็จะใหเขาได
ดื่มน้ําในวันที่มีความกระหาย(ในวันกิยามะฮฺ) ” (บันทึกโดยมุ
สนัดอัล-บัซซาร 4974 ชัยคฺอัล-อัลบานียมีทัศนะวา เฎาะอีฟ ใน
หนังสือ เฎาะอีฟ อัต-ตัรฆีบ วัต-ตัรฮีบ 577 ) ในสายรายงานอื่นได
กลาววา “ผูใดที่ทําใหตัวเองมีความกระหายเพื่ออัลลอฮฺในวันที่รอน
จัด เปนหนาที่ของอัลลอฮฺที่จะดูแลเขาในวันกิยามะฮฺ” ทานอัล-มุนซิ
รีย มีทัศนะวาหะสัน และมีบันทึกในอัล-บัซซารฺดวยสายรายงานที่
22 
 
หะสัน อินชาอัลลอฮฺ ซึ่งชัยคฺอัล-อัลบานียมีทัศนะวาหะสัน ใน
หนังสือเศาะฮีหฺ อัต-ตัรฆีบ วัต-ตัรฮีบ 10/412
อยาลืม
หางไกลจากสิ่งตองหามและไรสาระทั้งหลาย และ
ระมัดระวังจากทุกๆ สิ่งที่ไมใหประโยชนใดๆ ในตัวมันเลย และให
พยายามรักษาการถือศีลอด และการกิยาม(ละหมาดตะรอวีหฺ)ใน
เราะมะฎอน และใหมีความขะมักเขมนตลอดทั้งเดือน โดยเฉพาะ
อยางยิ่งชวงสิบคืนสุดทายของเดือน ทั้งนี้ก็เพื่อพบกับความประเสริฐ
ของค่ําคืนลัยละตุลก็อดรฺ
ขอใหอัลลอฮฺทรงใหเราและทาน เปนผูที่ถือศีลอด และยืน
ละหมาดในยามค่ําคืน ดวยกับการไดรับความพึงพอพระทัยจาก
พระองคแกเราทั้งหลายดวยเถิด
 
นี่คือ เปาประสงคบางประการที่เกี่ยวของกับการถือศีลอด
พรอมกับหลักฐานของทุกเปาประสงค 
เปาประสงคตางๆ ที่เกี่ยวของกับเดือนเรามะฎอน
การปฏิบัติในหลักประการพื้นฐานตางๆของอิสลาม
23 
 
ทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาว
วา
»َ ِ‫ﻲﻨ‬
ُ
‫ﺑ‬
ُ
‫م‬
َ
‫ﻼ‬
ْ
‫ﺳ‬ِ
ْ
‫اﻹ‬
َ َ
‫ﺒﻟ‬، ٍ‫ﺲ‬
ْ َ
‫ﻤﺧ‬ِ‫ة‬
َ
‫ﺎد‬
َ
‫ﻬ‬
َ
‫ﺷ‬
ْ
‫ن‬
َ
‫أ‬
َ
‫ﻻ‬َ َ
ِ‫إ‬
َّ
‫ﻻ‬ِ‫إ‬ُ‫اﷲ‬
َّ
‫ن‬
َ
‫أ‬َ‫و‬‫ا‬
ً
‫ﺪ‬
َّ
‫ﻤ‬
َ ُ
‫ﺤﻣ‬
ُ
‫ﻮل‬
ُ
‫ﺳ‬َ‫ر‬،ِ‫ﷲ‬‫ا‬ِ‫ﺎم‬
َ
‫ﻗ‬ِ‫إ‬َ‫و‬،ِ‫ة‬
َ
‫ﻼ‬
َّ
‫اﻟﺼ‬ِ‫ء‬‫ﺎ‬
َ
‫ﻳﺘ‬ِ‫إ‬َ‫و‬،ِ‫ة‬
َ
‫ﺎﻛ‬َّ‫اﻟﺰ‬،
ِّ
‫ﺞ‬َ ْ
‫اﺤﻟ‬َ‫و‬ِ‫م‬
ْ
‫ﻮ‬
َ
‫ﺻ‬َ‫و‬
َ
‫ﺎن‬
َ
‫ﻀ‬
َ
‫ﻣ‬َ‫ر‬«)‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫اﻛﺨﺎري‬٨،‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫وﻣﺴﻠﻢ‬١٢٢(
ความวา “ศาสนาอิสลามนั้นถูกสถาปนาบนหลักหาประการ
นั่นคือ การปฏิญาณวาไมมีพระเจาอื่นใดนอกจากอัลลอฮฺและ
มุหัมมัดนั้นเปนศาสนทูตของอัลลอฮฺ การดํารงไวซึ่งการ
ละหมาด การจายซะกาต การทําหัจญ และการถือศีลอดใน
เดือนเราะมะฎอน” (บันทึกโดยอัล-บุคอรีย : 8, และมุสลิม : 122)
การวอนขอเพื่อเขาสูสวนสวรรคอันสถาพร
ทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาว
วา
»‫ﻮا‬
ُ
‫ﻘ‬
َّ
‫اﻳ‬‫ا‬
َ َّ
‫ﺑ‬،
ْ
‫ﻢ‬
ُ
‫ﻜ‬
َّ
‫ﺑ‬َ‫ر‬‫ﻮا‬
ُّ
‫ﻠ‬
َ
‫ﺻ‬َ‫و‬،
ْ
‫ﻢ‬
ُ
‫ﻜ‬
َ
‫ﺴ‬
ْ َ
‫ﻤﺧ‬‫ﻮا‬
ُ
‫ﻮﻣ‬
ُ
‫ﺻ‬َ‫و‬،
ْ
‫ﻢ‬
ُ
‫ﻛ‬َ‫ﺮ‬
ْ
‫ﻬ‬
َ
‫ﺷ‬‫وا‬
ُّ
‫د‬
َ
‫أ‬َ‫و‬
َ
‫ة‬
َ
‫ﺎﻛ‬
َ
‫ز‬،
ْ
‫ﻢ‬
ُ
‫ِﻜ‬‫ﻟ‬‫ا‬َ‫ﻮ‬
ْ
‫ﻣ‬
َ
‫أ‬‫ﻮا‬
ُ
‫ِﻴﻌ‬‫ﻃ‬
َ
‫أ‬َ‫و‬‫ا‬
َ
‫ذ‬
ْ
‫ﻢ‬
ُ
‫ﻛ‬ِ‫ﺮ‬
ْ
‫ﻣ‬
َ
‫أ‬‫ﻮا‬
ُ
‫ﻠ‬
ُ
‫ﺧ‬
ْ
‫ﺪ‬
َ
‫ﺗ‬
َ
‫ﺔ‬
َّ
‫ﻨ‬
َ
‫ﺟ‬
ْ
‫ﻢ‬
ُ
‫ﻜ‬
ِّ
‫ﺑ‬َ‫ر‬«
)‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫اﻟﺮﺘﻣﺬي‬٦١٦،‫اﻷﻛﺎ‬ ‫وﺻﺤﺤﻪ‬‫اﻷﺣﺎدﻳﺚ‬ ‫ﺳﻠﺴﻠﺔ‬ ‫ﻲﻓ‬
‫اﻟﺼﺤﻴﺤﺔ‬٨٦٧(
24 
 
ความวา “พวกทานจงยําเกรงพระเจาของพวกทาน, จง
ละหมาดหาเวลาของพวกทาน, จงถือศีลอดเดือน(เราะ
มะฎอน)ของพวกทาน, จงจายซะกาตทรัพยสินของพวกทาน
และจงเชื่อฟงบรรดาผูนําของพวกทาน พวกทานก็จะไดเขา
สวรรคของพระเจาของพวกทาน” (บันทึกโดยอัต-ติรมิซีย : 616
ชัยคฺอัล-อัลบานีย มีทัศนะวาเศาะฮีหฺ ในหนังสือสัลสะละฮฺ อัล-อะ
หาดีษ อัศ-เศาะฮีหะฮฺ : 867)
การวอนขอเพื่อไดรับการอภัยโทษในความผิดบาปทั้งหลาย
ทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาว
วา
»
ْ
‫ِﻦ‬‫ﻣ‬
َ
‫م‬
َّ
‫ﺪ‬
َ
‫ﻘ‬
َ
‫ﻳ‬ ‫ﺎ‬
َ
‫ﻣ‬
ُ
‫ـﻪ‬
َ
‫ﻟ‬ َ‫ﺮ‬ِ‫ﻔ‬
ُ
‫ﻏ‬
ً
‫ﺎﺑﺎ‬
َ
‫ﺴ‬ِ‫ﺘ‬
ْ
‫اﺣ‬َ‫و‬
ً
‫ﺎﻧﺎ‬
َ
‫إﻳﻤ‬
َ
‫ﺎن‬
َ
‫ﻀ‬
َ
‫ﻣ‬َ‫ر‬ ‫ﺎم‬
َ
‫ﺻ‬
ْ
‫ﻦ‬
َ
‫ﻣ‬
ِ‫ﻪ‬‫ـ‬ِ‫ﺒ‬
ْ
‫ﻧ‬
َ
‫ذ‬«)‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫اﻛﺨﺎري‬٣٨،‫ﺑ‬ ‫وﻣﺴﻠﻢ‬‫ﺮﻗﻢ‬٧٦٠(
ความวา “ผูใดที่ถือศีลอดในเดือนเราะมะฎอนดวยความ
ศรัทธามั่นและหวังในผลบุญ เขาผูนั้นจะไดรับการอภัยโทษ
บาปที่ผานมา” (บันทึกโดยอัล-บุคอรีย : 38 และมุสลิม : 760)
การวอนขอเพื่อใหรอดพนจากไฟนรก
25 
 
ทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาว
วา
»ِ ِ‫ﺑ‬َ‫و‬ُ‫ﺎء‬
َ
‫ﻘ‬
َ
‫ﺘ‬
ُ
‫ﻗ‬َ‫ِﻦ‬‫ﻣ‬،ِ‫ﺎر‬َّ‫اﺠ‬
َ
‫ﻟﻚ‬
َ
‫ذ‬َ‫و‬
ُّ ُ
‫ﻞﻛ‬ٍ‫ﺔ‬
َ
‫ﻠ‬ْ َ
«.)‫اﻟﺮﺘﻣﺬي‬‫ﺑﺮﻗﻢ‬٦١٨،
‫وﺣﺴﻨﻪ‬‫اﻷﻛﺎ‬‫ﻲﻓ‬‫ﺻﺤﻴﺢ‬‫اﺠﻟﺎﻣﻊ‬‫اﻟﺼﻐﺮﻴ‬٧٥٩(
ความวา “และสําหรับอัลลอฮฺนั้นมีผูที่พระองคจะทรง
ปลดปลอยพวกเขาจากนรก สิ่งเหลานั้น(การเรียกรองและ
การปลดปลอย) จะเกิดขึ้นทุกค่ําคืน(ของเดือนเราะมะฎอน)”
(บันทึกโดย อัต-ติรฺมิซีย : 618 ชัยคฺอัล-อัลบานีย มีทัศนะวาหะสัน
ในหนังสือเศาะฮีหฺ อัล-ญามิอฺ 759)
เปาประสงคของการถือศีลอดทั่วไป (ซึ่งเกี่ยวของกับ
เดือนเราะมะฎอนเชนกัน)
เปาประสงคตางๆเพื่อไดรับในโลกอาคีเราะฮฺ
การวอนขอความเบิกบานในโลกอาคีเราะฮฺ
ทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาว
วา
26 
 
»ِ‫ِﻢ‬‫ﺋ‬‫ﺎ‬
َّ
‫ﻟِﻠﺼ‬ِ‫ﺎن‬
َ
‫ﺘ‬
َ
‫ﺣ‬ْ‫ﺮ‬
َ
‫ﻓ‬‫ﺎ‬
َ
‫ﻤ‬
ُ
‫ﻬ‬
ُ
‫ﺣ‬َ‫ﺮ‬
ْ
‫ﻔ‬
َ
‫ﻓ‬،‫ا‬
َ
‫ذ‬ِ‫إ‬َ‫ﺮ‬
َ
‫ﻄ‬
ْ
‫ﻓ‬
َ
‫أ‬
َ
‫ح‬ِ‫ﺮ‬
َ
‫ﻓ‬ِ‫ه‬ِ‫ﺮ‬
ْ
‫ﻄ‬ِ‫ﻔ‬ِ‫ﺑ‬‫ا‬
َ
‫ذ‬ِ‫إ‬َ‫و‬َ ِ‫ﻲﻘ‬
َ
‫ﻟ‬
ُ
‫ﻪ‬
َّ
‫ﺑ‬َ‫ر‬
َ
‫ح‬ِ‫ﺮ‬
َ
‫ﻓ‬ِ‫ﻪ‬ِ‫ﻣ‬
ْ
‫ﻮ‬
َ
‫ﺼ‬ِ‫ﺑ‬«) .‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫اﻛﺨﺎري‬٧٤٩٢،‫و‬‫ﻣﺴﻠﻢ‬‫ﺑ‬‫ﺮﻗﻢ‬١١٥١(
ความวา “สําหรับผูถือศีลอดนั้นมีความเบิกบานใจอยูสองครั้ง
เมื่อเขาละศีลอดเขาจะเบิกบานใจกับการละศีลอดนั้น และ
เมื่อเขาไดพบองคอภิบาลของเขา เขาจะเบิกบานใจกับ(ผล
บุญที่ไดจาก)การถือศีลอดของเขา” (รายงานโดยอัล-บุคอรีย :
7492 มุสลิม :1151)
การวอนขอเพื่อไดเขาสวนสวรรคจากประตู อัร-ร็อยยาน
ทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาว
วา
»
ُ
‫ﺎن‬
َّ
‫ﻳ‬َّ‫اﻟﺮ‬ ُ َ ُ
‫ﺎل‬
َ
‫ﻘ‬
ُ
‫ﻓ‬ ‫ﺎ‬
ً
‫ﺎﺑ‬
َ
‫ﺑ‬ ِ‫ﺔ‬
َّ
‫ﻨ‬َ ْ
‫اﺠﻟ‬ ِ‫ﻲﻓ‬
َّ
‫ن‬ِ‫إ‬،
َ
‫م‬
ْ
‫ﻮ‬
َ
‫ﻳ‬
َ
‫ﻮن‬
ُ
‫ِﻤ‬‫ﺋ‬‫ﺎ‬
َّ
‫اﻟﺼ‬
ُ
‫ﻪ‬
ْ
‫ِﻨ‬‫ﻣ‬
ُ
‫ﻞ‬
ُ
‫ﺧ‬
ْ
‫ﺪ‬
َ
‫ﻳ‬
َ
‫ﻻ‬ ِ‫ﺔ‬
َ
‫ﺎﻣ‬
َ
‫ﻴ‬ِ‫ﻘ‬
ْ
‫اﻟ‬
ْ
‫ﻢ‬
ُ
‫ﻫ‬ُ ْ
‫ﺮﻴ‬
َ
‫ﻟ‬
ٌ
‫ﺪ‬
َ
‫ﺣ‬
َ
‫أ‬
ُ
‫ﻪ‬
ْ
‫ِﻨ‬‫ﻣ‬
ُ
‫ﻞ‬
ُ
‫ﺧ‬
ْ
‫ﺪ‬
َ
‫ﻳ‬،
َ
‫ﻮن‬
ُ
‫ِﻤ‬‫ﺋ‬‫ﺎ‬
َّ
‫اﻟﺼ‬ َ‫ﻦ‬
ْ
‫ﻓ‬
َ
‫أ‬
ُ
‫ﺎل‬
َ
‫ﻘ‬
ُ
‫ﻓ‬‫؟‬
َ
‫ﻮن‬
ُ
‫ﻮﻣ‬
ُ
‫ﻘ‬
َ
‫ﻴ‬
َ
‫ﻓ‬،
َ
‫ﻻ‬
ْ
‫ﻢ‬
ُ
‫ﻫ‬ُ ْ
‫ﺮﻴ‬
َ
‫ﻟ‬
ٌ
‫ﺪ‬
َ
‫ﺣ‬
َ
‫أ‬
ُ
‫ﻪ‬
ْ
‫ِﻨ‬‫ﻣ‬
ُ
‫ﻞ‬
ُ
‫ﺧ‬
ْ
‫ﺪ‬
َ
‫ﻳ‬،
ْ
‫ﻢ‬
َ
‫ﻠ‬
َ
‫ﻓ‬
َ
‫ﻖ‬ِ‫ﻠ‬
ْ
‫ﻏ‬
ُ
‫أ‬ ‫ﻮا‬
ُ
‫ﻠ‬
َ
‫ﺧ‬
َ
‫د‬ ‫ا‬
َ
‫ذ‬ِ‫ﺈ‬
َ
‫ﻓ‬
ٌ
‫ﺪ‬
َ
‫ﺣ‬
َ
‫أ‬
ُ
‫ﻪ‬
ْ
‫ِﻨ‬‫ﻣ‬
ْ
‫ﻞ‬
ُ
‫ﺧ‬
ْ
‫ﺪ‬
َ
‫ﻳ‬«‫ﻣﺎﺟﻪ‬ ‫اﺑﻦ‬ ‫ﻋﻨﺪ‬
َ
‫ﺪ‬
ْ
‫ﻳ‬ِ‫وز‬:»
ْ
‫ﺄ‬
َ
‫ﻤ‬
ْ
‫ﻈ‬
َ
‫ﻓ‬
ْ
‫ﻢ‬
َ
‫ﻟ‬
ُ
‫ﻪ‬
َ
‫ﻠ‬
َ
‫ﺧ‬
َ
‫د‬
ْ
‫ﻦ‬
َ
‫ﻣ‬َ‫و‬
‫ا‬
ً
‫ﺪ‬
َ
‫ﺑ‬
َ
‫أ‬«.)‫اﻛﺨﺎري‬‫ﺑ‬‫ﺮﻗﻢ‬١٧٦٣‫ﻣﺴﻠﻢ‬ ،‫ﺑ‬‫ﺮﻗﻢ‬١٩٤٧‫ﻣﺎﺟﻪ‬ ‫اﺑﻦ‬ ،
‫ﺑ‬‫ﺮﻗﻢ‬١٦٣٠(
27 
 
ความวา “แทจริง ในสวรรคนั้นมีประตูหนึ่งมีชื่อเรียกวา อัรฺ-
ร็อยยาน ในวันกิยามะฮฺผูถือศีลอดจะเขาสวรรคจากประตูนี้
ไมมีผูใดสักคนเขาจากประตูนี้นอกจากพวกเขา จะมีเสียงถาม
ขึ้นมาวา ‘ไหนเลาบรรดาผูถือศีลอด?’ (เพื่อเรียกใหพวกเขาได
เขาสวรรคจากประตูนี้) แลวพวกเขาก็จะยืนขึ้น ไมมีผูใดสัก
คนเขาจากประตูนี้นอกจากพวกเขา เมื่อพวกเขาไดเขาไป
หมดแลว ประตูนี้ก็จะถูกปด จึงไมมีผูใดไดเขาไปจากประตูนี้
อีกนอกจากพวกเขา” มีสํานวนเพิ่มเติมจากสายรายงาน
ของอิบนุ มาญะฮฺวา “ผูใดที่ไดเขาจากประตูนี้ เขาจะไม
กระหายอีกเลยชั่วนิรันดร” (รายงานโดย อัล-บุคอรีย เลขที่ 1763,
มุสลิม เลขที่ 1947 และอิบนุ มาญะฮฺ เลขที่ 1630)
การวอนขอเพื่อไดรับการชวยเหลือ(ชะฟาอะฮฺ)ของการถือศีล
อด
ทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาว
วา
»
ُ
‫ﻮل‬
ُ
‫ﻘ‬
َ
‫ﻓ‬ ،ِ‫ﺔ‬
َ
‫ﺎﻣ‬
َ
‫ﻴ‬ِ‫ﻘ‬
ْ
‫اﻟ‬
َ
‫م‬
ْ
‫ﻮ‬
َ
‫ﻳ‬ ِ‫ﺪ‬
ْ
‫ﺒ‬
َ
‫ﻌ‬
ْ
‫ﻟِﻠ‬ ِ‫ﺎن‬
َ
‫ﻌ‬
َ
‫ﻔ‬
ْ
‫ﺸ‬
َ
‫ﻳ‬
ُ
‫آن‬ْ‫ﺮ‬
ُ
‫ﻘ‬
ْ
‫اﻟ‬َ‫و‬
ُ
‫ﺎم‬
َ
‫ﻴ‬
ِّ
‫اﻟﺼ‬
ُ
‫ﺎم‬
َ
‫ﻴ‬
ِّ
‫اﻟﺼ‬:
،ِ‫ﻪ‬‫ِﻴ‬‫ﻓ‬ ِ‫ﻲﻨ‬
ْ
‫ﻌ‬
ِّ
‫ﻔ‬
َ
‫ﺸ‬
َ
‫ﻓ‬ ،ِ‫ﺎر‬
َ
‫ﻬ‬َّ‫ﺎﺠ‬ِ‫ﺑ‬ ِ‫ات‬َ‫ﻮ‬
َ
‫ﻬ‬
َّ
‫اﻟﺸ‬َ‫و‬
َ
‫ﺎم‬
َ
‫ﻌ‬
َّ
‫اﻟﻄ‬
ُ
‫ﻪ‬
ُ
‫ﺘ‬
ْ
‫ﻌ‬
َ
‫ﻨ‬
َ
‫ﻣ‬
ِّ
‫ب‬َ‫ر‬
ْ
‫ي‬
َ
‫أ‬
ُ
‫آن‬ْ‫ﺮ‬
ُ
‫ﻘ‬
ْ
‫اﻟ‬
ُ
‫ﻮل‬
ُ
‫ﻘ‬
َ
‫ﻳ‬َ‫و‬:ِ‫ﻪ‬‫ِﻴ‬‫ﻓ‬ ِ‫ﻲﻨ‬
ْ
‫ﻌ‬
ِّ
‫ﻔ‬
َ
‫ﺸ‬
َ
‫ﻓ‬ ِ‫ﻞ‬
ْ
‫ﻴ‬
َّ
‫ﺎﻟﻠ‬ِ‫ﺑ‬
َ
‫م‬
ْ
‫ﻮ‬َّ‫اﺠ‬
ُ
‫ﻪ‬
ُ
‫ﺘ‬
ْ
‫ﻌ‬
َ
‫ﻨ‬
َ
‫ﻣ‬«
َ
‫ﺎل‬
َ
‫ﻗ‬ ،:
28 
 
»ِ‫ﺎن‬
َ
‫ﻌ‬
َّ
‫ﻔ‬
َ
‫ﺸ‬
ُ
‫ﻴ‬
َ
‫ﻓ‬«.)‫أﻤﺣﺪ‬ ‫اﻹﻣﺎم‬ ‫ﻣﺴﻨﺪ‬‫ﺑ‬‫ﺮﻗﻢ‬٦٣٣٧،‫وﺻﺤﺤﻪ‬
‫ﻲﻓ‬ ‫اﻷﻛﺎ‬‫اﺠﻟﺎ‬ ‫ﺻﺤﻴﺢ‬‫اﻟﺼﻐﺮﻴ‬ ‫ﻣﻊ‬٣٨٨٢(
ความวา “การถือศีลอดและอัลกุรอานนั้นจะมาใหความ
ชวยเหลือแกบาวในวันกิยามะฮฺ การถือศีลอดจะพูดวา ‘โอผู
อภิบาลแหงขา ขาไดสกัดกั้นเขาจากอาหารและการสนอง
ความใครในยามกลางวัน ดังนั้นไดโปรดใหขาชวยเหลือเขา
ดวยเถิด’ อัลกุรอานก็จะพูดวา ‘โอผูอภิบาลแหงขา ขาไดสกัด
กั้นเขาจากการหลับนอนในยามค่ําคืน ดังนั้นไดโปรดใหขา
ชวยเหลือเขาดวยเถิด’ แลวทั้งสองก็ไดรับอนุญาตเพื่อให
ความชวยเหลือ” (รายงานโดย อะหฺมัด : 6337 ชัยคฺอัล-อัลบานียมี
ทัศนะวา เศาะฮีหฺ ในหนังสือ เศาะฮีหฺ อัล-ญามิอฺ 3882)
การวอนขอเพื่อไดรับการชวยเหลือ(ชะฟาอะฮฺ)ของคนศอลิหฺ
ทั้งหลาย
ทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาว
วา
»
َ
‫ﻮن‬
ُ
‫ﻮﻟ‬
ُ
‫ﻘ‬
َ
‫ﻓ‬ ،
ْ
‫ﻢ‬ِ‫ِﻬ‬‫ﻧ‬‫ا‬َ‫ﻮ‬
ْ
‫ﺧ‬ِ‫إ‬ ِ‫ﻲﻓ‬ ‫ا‬
ْ
‫ﻮ‬َ َ
‫ﺠﻧ‬
ْ
‫ﺪ‬
َ
‫ﻗ‬
ْ
‫ﻢ‬
ُ
‫ﻬ‬
َّ
‫ﻏ‬
َ
‫ﻛ‬ ‫ا‬ْ‫و‬
َ
‫أ‬َ‫ر‬ ‫ا‬
َ
‫ذ‬ِ‫إ‬َ‫و‬:، ‫ﺎ‬
َ
‫ﻨ‬
ُ
‫اﻏ‬َ‫ﻮ‬
ْ
‫ﺧ‬ِ‫إ‬ ‫ﺎ‬
َ
‫ﻨ‬
َّ
‫ﺑ‬َ‫ر‬
َ
‫ﻮن‬
ُ
‫ﻮﻣ‬
ُ
‫ﺼ‬
َ
‫ﻳ‬َ‫و‬ ، ‫ﺎ‬
َ
‫ﻨ‬
َ
‫ﻌ‬
َ
‫ﻣ‬
َ
‫ﻮن‬
ُّ
‫ﻠ‬
َ
‫ﺼ‬
ُ
‫ﻳ‬ ‫ﻮا‬
ُ
‫ﻧ‬
َ
‫ﺎﻛ‬
ُ
‫ﻮل‬
ُ
‫ﻘ‬
َ
‫ﻴ‬
َ
‫ﻓ‬ ، ‫ﺎ‬
َ
‫ﻨ‬
َ
‫ﻌ‬
َ
‫ﻣ‬
َ
‫ﻮن‬
ُ
‫ﻠ‬
َ
‫ﻤ‬
ْ
‫ﻌ‬
َ
‫ﻳ‬َ‫و‬ ، ‫ﺎ‬
َ
‫ﻨ‬
َ
‫ﻌ‬
َ
‫ﻣ‬
29 
 
َ
‫ﺎﻰﻟ‬
َ
‫ﻌ‬
َ
‫ﻳ‬
ُ َّ
‫اﺑ‬:
ْ
‫ِﻦ‬‫ﻣ‬ ٍ‫ﺎر‬
َ
‫ِﻳﻨ‬‫د‬
َ
‫ﺎل‬
َ
‫ﻘ‬
ْ
‫ِﺜ‬‫ﻣ‬ ِ‫ﻪ‬ِ‫ﺒ‬
ْ
‫ﻠ‬
َ
‫ﻗ‬ ِ‫ﻲﻓ‬
ْ
‫ﻢ‬
ُ
‫ﻳ‬
ْ
‫ﺪ‬
َ
‫ﺟ‬َ‫و‬
ْ
‫ﻦ‬
َ
‫ﻤ‬
َ
‫ﻓ‬ ، ‫ﻮا‬
ُ
‫ﺒ‬
َ
‫ﻫ‬
ْ
‫اذ‬
ِ‫ﺎر‬َّ‫اﺠ‬
َ َ
‫ﺒﻟ‬
ْ
‫ﻢ‬
ُ
‫ﻫ‬َ‫ر‬َ‫ﻮ‬
ُ
‫ﺻ‬
ُ َّ
‫اﺑ‬
ُ
‫م‬ِّ‫ﺮ‬َ ُ
‫ﺤﻳ‬َ‫و‬ ، ُ‫ﻮه‬
ُ
‫ﺟ‬ِ‫ﺮ‬
ْ
‫ﺧ‬
َ
‫ﺄ‬
َ
‫ﻓ‬ ٍ‫ﺎن‬
َ
‫ﻳﻤ‬ِ‫إ‬.
ْ
‫ﻢ‬
ُ
‫ﻬ‬
َ
‫ﻮﻏ‬
ُ
‫ﺗ‬
ْ
‫ﺄ‬
َ
‫ﻴ‬
َ
‫ﻓ‬
ِ‫إ‬ ِ‫ﺎر‬َّ‫اﺠ‬ ِ‫ﻲﻓ‬
َ
‫ب‬
َ
‫ﺬﻟ‬
ْ
‫ﺪ‬
َ
‫ﻗ‬
ْ
‫ﻢ‬
ُ
‫ﻬ‬
ُ
‫ﻀ‬
ْ
‫ﻌ‬
َ
‫ﺑ‬َ‫و‬، ِ‫ﻪ‬
ْ
‫ﻴ‬
َ
‫ﺎﻗ‬
َ
‫ﺳ‬ ِ‫ﺎف‬
َ
‫ﺼ‬
ْ
‫ﻧ‬
َ
‫أ‬
َ
‫ﻰﻟ‬ِ‫إ‬َ‫و‬ ، ِ‫ﻪ‬ِ‫ﻣ‬
َ
‫ﺪ‬
َ
‫ﻗ‬
َ
‫ﻰﻟ‬
‫ﻮا‬
ُ
‫ﻓ‬َ‫ﺮ‬
َ
‫ﻋ‬
ْ
‫ﻦ‬
َ
‫ﻣ‬
َ
‫ﻮن‬
ُ
‫ﺟ‬ِ‫ﺮ‬
ْ
‫ﺨ‬
ُ
‫ﻴ‬
َ
‫ﻓ‬.«)‫اﻛﺨﺎري‬‫ﺑ‬‫ﺮﻗﻢ‬٧٤٣٩‫ﻣﺴﻠﻢ‬ ،‫ﺑ‬‫ﺮﻗﻢ‬
١٨٣(
ความวา “เมื่อพวกเขาเห็นวา พวกเขาปลอดภัยแนแลวในหมูพี่
นองของพวกเขา พวกเขาตางกลาววา 'โอพระผูเปนเจาของ
เรา ยังมีพวกพี่นองของพวกเราที่ไดละหมาดรวมกับพวกเรา
ไดถือศีลอดรวมกับพวกเราและไดกระทํากิจกรรมตางๆ (ทาง
ศาสนาที่ดี) รวมกับพวกเรา' ดังนั้นอัลลอฮฺจึงตรัสวา 'พวกทาน
จงไปดูเถิด บุคคลใดที่พวกทานพบวา ในหัวใจของพวกเขามี
ความศรัทธาเทาน้ําหนักเพียงหนึ่งดีนารก็จงนําพวกเขา
ออกมา' อัลลอฮฺก็จะทรงหามไฟไมใหไหมรางของพวกเขา
เหลานั้น(ที่ออกไปหาพี่นองของพวกเขาในนรก) พวกเขา
เหลานั้นก็จะไปหาพี่นองของพวกเขา(ในนรก) บางสวนในหมู
ชาวนรกนั้นจมอยูในนรกแคเทาของพวกเขา บางก็ถึงหนา
แขงของพวกเขา ใครที่พวกเขารูจักพวกเขาก็จะนําคน
เหลานั้นออกมา” (บันทึกโดย อัล-บุคอรีย : 7439 และมุสลิม :
183)
30 
 
การวอนขอเพื่อไดรับผลตอบแทนจากอัลลอฮฺ
ทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาว
วา
»
َ
‫ﻰﻟ‬ِ‫إ‬ ‫ﺎ‬
َ
‫ﺎﻟِﻬ‬
َ
‫ﺜ‬
ْ
‫ﻣ‬
َ
‫أ‬ ُ ْ
‫ﺮﺸ‬
َ
‫ﻋ‬
ُ
‫ﺔ‬
َ
‫ﻨ‬
َ
‫ﺴ‬َ ْ
‫اﺤﻟ‬ ،
ُ
‫ﻒ‬
َ
‫ﺎﻗ‬
َ
‫ﻀ‬
ُ
‫ﻳ‬
َ
‫م‬
َ
‫آد‬ ِ‫ﻦ‬
ْ
‫اﺑ‬ ِ‫ﻞ‬
َ
‫ﻤ‬
َ
‫ﻗ‬
ُّ ُ
‫ﻞﻛ‬
َّ
‫ﻞ‬
َ
‫ﺟ‬َ‫و‬ َّ‫ﺰ‬
َ
‫ﻋ‬
ُ َّ
‫اﺑ‬
َ
‫ﺎل‬
َ
‫ﻗ‬ ، ٍ‫ﻒ‬
ْ
‫ﻌ‬ ِ‫ﺿ‬ ‫ﺔ‬
َ
‫ﺎﺋ‬ِ‫ﻤ‬‫ﻌ‬
ْ
‫ﺒ‬
َ
‫ﺳ‬‫ﺎ‬
َ
‫ﻧ‬
َ
‫أ‬َ‫و‬ ِ‫ﻲﻟ‬
ُ
‫ﻪ‬
َّ
‫ﻧ‬ِ‫ﺈ‬
َ
‫ﻓ‬
َ
‫م‬
ْ
‫ﻮ‬
َّ
‫اﻟﺼ‬
َّ
‫ﻻ‬ِ‫إ‬
ِ‫ﺎن‬
َ
‫ﺘ‬
َ
‫ﺣ‬ْ‫ﺮ‬
َ
‫ﻓ‬ ِ‫ِﻢ‬‫ﺋ‬‫ﺎ‬
َّ
‫ﻟِﻠﺼ‬ ، ِ‫ﻲﻠ‬
ْ
‫ﺟ‬
َ
‫أ‬
ْ
‫ِﻦ‬‫ﻣ‬
ُ
‫ﻪ‬
َ
‫ﺎﻣ‬
َ
‫ﻌ‬
َ
‫ﻃ‬َ‫و‬
ُ
‫ﻪ‬
َ
‫ﺗ‬َ‫ﻮ‬
ْ
‫ﻬ‬
َ
‫ﺷ‬
ُ
‫ع‬
َ
‫ﺪ‬
َ
‫ﻳ‬ ،ِ‫ﻪ‬ِ‫ﺑ‬ ‫ي‬ِ‫ﺰ‬
ْ
‫ﺟ‬
َ
‫أ‬
ُ‫ﺐ‬
َ
‫ﻴ‬
ْ
‫ﻃ‬
َ
‫أ‬ ِ‫ﻪ‬‫ِﻴ‬‫ﻓ‬
ُ
‫ﻮف‬
ُ
‫ﻠ‬
ُ َ
‫ﺨﻟ‬َ‫و‬ ،ِ‫ﻪ‬
ِّ
‫ﺑ‬َ‫ر‬ ِ‫ء‬‫ﺎ‬
َ
‫ِﻘ‬‫ﻟ‬
َ
‫ﺪ‬
ْ
‫ِﻨ‬‫ﻋ‬
ٌ
‫ﺔ‬
َ
‫ﺣ‬ْ‫ﺮ‬
َ
‫ﻓ‬َ‫و‬ ِ‫ه‬ِ‫ﺮ‬
ْ
‫ِﻄ‬‫ﻓ‬
َ
‫ﺪ‬
ْ
‫ِﻨ‬‫ﻋ‬
ٌ
‫ﺔ‬
َ
‫ﺣ‬ْ‫ﺮ‬
َ
‫ﻓ‬
ِ‫ﻚ‬
ْ
‫ﺴ‬ِ‫ﻤ‬
ْ
‫اﻟ‬ ِ‫ﻳﺢ‬ِ‫ر‬
ْ
‫ِﻦ‬‫ﻣ‬ ِ
َّ
‫اﺑ‬
َ
‫ﺪ‬
ْ
‫ِﻨ‬‫ﻋ‬«)‫اﻛﺨﺎري‬‫ﺑ‬‫ﺮﻗﻢ‬١٨٩٤‫ﻣﺴﻠﻢ‬ ،‫ﺑ‬‫ﺮﻗﻢ‬
١١٥١(
ความวา "ทุกๆ การงานของลูกหลานอาดัมจะเพิ่มพูนถึงสิบ
เทาจนถึงเจ็ดรอยเทา อัลลอฮฺไดตรัสวา นอกจากการถือศีล
อด แทจริงมันเปนสิทธิของขาและขาจะตอบแทนมันเอง(โดย
ไมกําหนดตายตัววาเพิ่มขึ้นเทาใด) เขาไดละทิ้งตัณหาและ
อาหารเพื่อขา สําหรับผูที่ถือศีลอดนั้นมีสองความสุข(เบิกบาน
ใจ) ความสุขแรกตอนที่เขาละศีลอด และความสุขที่สองตอน
ที่ไดพบกับพระผูเปนเจาของเขา และแทจริงกลิ่นปากของผูที่
31 
 
ถือศีลอด ณ อัลลอฮฺนั้นหอมยิ่งกวากลิ่นของชะมดเชียงเสีย
อีก" (บันทึกโดยอัล-บุคอรีย : 1894 และมุสลิม :1151)
เปนการไดมาซึ่งอะมัลที่ไมมีสิ่งใดเสมอเหมือน
ทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาว
วา
ُ
‫ﺖ‬
ْ
‫ﻴ‬
َ
‫ﻳ‬
َ
‫أ‬
َ
‫ﻮل‬
ُ
‫ﺳ‬َ‫ر‬ِ
َّ
‫اﺑ‬
َّ
‫ﻰﻠ‬
َ
‫ﺻ‬ُ‫اﷲ‬ِ‫ﻪ‬
ْ
‫ﻴ‬
َ
‫ﻠ‬
َ
‫ﻋ‬َ‫ﻢ‬
َّ
‫ﻠ‬
َ
‫ﺳ‬َ‫و‬
ُ
‫ﺖ‬
ْ
‫ﻠ‬
ُ
‫ﻘ‬
َ
‫ﻓ‬:ِ‫ﻰﻳ‬ْ‫ﺮ‬
ُ
‫ﻣ‬ٍ‫ﻞ‬
َ
‫ﻤ‬
َ
‫ﻌ‬ِ‫ﺑ‬
ِ‫ﻲﻨ‬
ُ
‫ﻠ‬ِ‫ﺧ‬
ْ
‫ﺪ‬
ُ
‫ﻳ‬
َ
‫ﺔ‬
َّ
‫ﻨ‬َ ْ
‫اﺠﻟ‬.
َ
‫ﺎل‬
َ
‫ﻗ‬:»
َ
‫ﻚ‬
ْ
‫ﻴ‬
َ
‫ﻠ‬
َ
‫ﻋ‬‫؛‬ِ‫م‬
ْ
‫ﻮ‬
َّ
‫ﺎﻟﺼ‬ِ‫ﺑ‬
ُ
‫ﻪ‬
َّ
‫ﻧ‬ِ‫ﺈ‬
َ
‫ﻓ‬
َ
‫ﻻ‬
َ
‫ل‬
ْ
‫ِﺪ‬‫ﻋ‬ُ َ
«.َّ‫ﻢ‬
ُ
‫ﻋ‬
ُ
‫ﻪ‬
ُ
‫ﺘ‬
ْ
‫ﻴ‬
َ
‫ﺗ‬
َ
‫أ‬
َ
‫ﺔ‬
َ
‫ِﻴ‬‫ﻏ‬‫ﺎ‬
َّ
‫اﺨﻛ‬
َ
‫ﺎل‬
َ
‫ﻘ‬
َ
‫ﻓ‬ِ‫ﻲﻟ‬:»
َ
‫ﻚ‬
ْ
‫ﻴ‬
َ
‫ﻠ‬
َ
‫ﻋ‬ِ‫ﺎم‬
َ
‫ﻴ‬
ِّ
‫ﺎﻟﺼ‬ِ‫ﺑ‬«)‫أﻤﺣﺪ‬ ‫اﻹﻣﺎم‬ ‫ﻣﺴﻨﺪ‬
‫ﺑ‬‫ﺮﻗﻢ‬٢٢١٤٩،‫ﻲﻓ‬ ‫اﻷﻛﺎ‬ ‫وﺻﺤﺤﻪ‬‫ﺻﺤﻴﺢ‬‫واﻟﺮﺘﻫﻴﺐ‬ ‫اﻟﺮﺘﻏﻴﺐ‬
٩٨٦( 
ความวา “ฉันไดไปหาทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ
วะสัลลัม แลวฉันก็ไดกลาวแกทานวา "ทานจงสั่งใชฉันซึ่งการ
งานที่ทําใหฉันไดเขาสวรรคดวยเถิด" ทานนบีตอบวา: "ทาน
จงถือศีลอด เพราะไมมีสิ่งใดจะเทียมเทามัน"หลังจากนั้นฉัน
ไดไปหาทานครั้งที่สอง และทานก็ยังคงกลาววา: "ทานจงถือ
ศีลอด" (รายงานโดย อะหฺมัด : 22149 ชัยคฺอัล-อัลบานียมีทัศนะวา
เศาะฮีหฺ ในหนังสือ เศาะฮีหฺ อัต-ตัรฆีบ วัต-ตัรฮีบ 986)
32 
 
เปนการลบลางความชั่วรายและฟตนะฮฺบททดสอบตางๆ
ทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาว
วา
»
ُ
‫ﺔ‬
َ
‫ﻨ‬
ْ
‫ِﺘ‬‫ﻓ‬ِ‫ﻞ‬
ُ
‫ﺟ‬َّ‫اﻟﺮ‬ِ‫ﻲﻓ‬ِ‫ﻪ‬ِ‫ﻠ‬
ْ
‫ﻫ‬
َ
‫أ‬ِ ِ ‫ﺎ‬
َ
‫ﻣ‬َ‫و‬ِ‫ه‬ِ
َ َ‫و‬َ‫و‬،ِ‫ه‬ِ‫ﺎر‬
َ
‫ﺟ‬َ‫و‬‫ﺎ‬
َ
‫ﻫ‬ُ‫ﺮ‬
ِّ
‫ﻔ‬
َ
‫ﻜ‬
ُ
‫ﺗ‬
ُ
‫ة‬
َ
‫ﻼ‬
َّ
‫اﻟﺼ‬
ْ
‫ﻮ‬
َّ
‫اﻟﺼ‬َ‫و‬
ُ
‫م‬،
ُ
‫ﺔ‬
َ
‫ﻗ‬
َ
‫ﺪ‬
َّ
‫اﻟﺼ‬َ‫و‬ُ‫ﺮ‬
ْ
‫ﻣ‬
َ
‫اﻷ‬َ‫و‬ُ ْ
‫ﻲﻬ‬َّ‫اﺠ‬َ‫و‬«)‫اﻛﺨﺎري‬‫ﺑ‬‫ﺮﻗﻢ‬٥٢٥‫ﻣﺴﻠﻢ‬ ،
‫ﺑ‬‫ﺮﻗﻢ‬١٤٤(
ความวา “ฟตนะฮฺของชายคนหนึ่งที่มีตอครอบครัวของเขา
ทรัพยสินของเขา ลูกของเขา และเพื่อนบานของเขา จะถูกลบ
ลางออกไปดวยการละหมาด การถือศีลอด การบริจาคทาน
การสั่งใชในความดีงาม และการหามในสิ่งที่ชั่วราย” (บันทึก
โดยอัล-บุคอรีย : 525 และมุสลิม : 144)
การวอนขอเพื่อใหใบหนาหางไกลจากนรก
ทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาว
วา
»‫ﺎ‬
َ
‫ﻣ‬
ْ
‫ِﻦ‬‫ﻣ‬ٍ‫ﺪ‬
ْ
‫ﺒ‬
َ
‫ﻗ‬
ُ
‫ﻮم‬
ُ
‫ﺼ‬
َ
‫ﻳ‬‫ﺎ‬
ً
‫ﻣ‬
ْ
‫ﻮ‬
َ
‫ﻳ‬ِ‫ﻲﻓ‬ِ‫ﻴﻞ‬ِ‫ﺒ‬
َ
‫ﺳ‬،ِ‫ﷲ‬‫ا‬
َّ
‫ﻻ‬ِ‫إ‬
َ
‫ﺪ‬
َ
‫ﺎﻋ‬
َ
‫ﺑ‬ُ‫اﷲ‬
َ
‫ﻟِﻚ‬
َ
‫ﺬ‬ِ‫ﺑ‬
ِ‫م‬
ْ
‫ﻮ‬َ ْ
‫ا‬
ُ
‫ﻪ‬
َ
‫ﻬ‬
ْ
‫ﺟ‬َ‫و‬ِ‫ﻦ‬
َ
‫ﻋ‬ِ‫ﺎر‬َّ‫اﺠ‬َ‫ﻦﻴ‬ِ‫ﻌ‬
ْ
‫ﺒ‬
َ
‫ﺳ‬‫ﺎ‬
ً
‫ﻳﻔ‬ِ‫ﺮ‬
َ
‫ﺧ‬«)‫ﻣﺴﻠﻢ‬‫ﺑ‬‫ﺮﻗﻢ‬١١٥٣(
33 
 
ความวา “ไมมีบาวผูใดที่ถือศีลอดเพื่ออัลลอฮฺเพียงวันเดียว
เวนแตอัลลอฮฺจะทําใหเขาหางไกลปลอดภัยจากนรกดวยเหตุ
แหงการถือศีลอดในวันนั้น เปนระยะหางถึงเจ็ดสิบป” (บันทึก
โดยมุสลิม : 1153)
เปาประสงคตางๆเพื่อไดรับในโลกดุนยา
การวอนขอเพื่อเปนสิ่งปองกันและปกปองจากการทํามะอฺศิ
ยะฮฺ
ทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาว
วา
»
ُ
‫ﻪ‬
َ
‫ﻤ‬
َ
‫ﺎﻳ‬
َ
‫ﺷ‬ ْ‫و‬
َ
‫أ‬
ُ
‫ﻪ‬
َ
‫ﻠ‬
َ
‫ﺎﺗ‬
َ
‫ﻗ‬
ٌ
‫ؤ‬ُ‫ﺮ‬
ْ
‫اﻣ‬ ِ‫ن‬ِ‫إ‬َ‫و‬ ،
ْ
‫ﻞ‬
َ
‫ﻬ‬
ْ َ
‫ﺠﻳ‬
َ
‫ﻻ‬َ‫و‬
ْ
‫ﺚ‬
ُ
‫ﻓ‬ْ‫ﺮ‬
َ
‫ﻳ‬
َ
‫ﻼ‬
َ
‫ﻓ‬ ،
ٌ
‫ﺔ‬
َّ
‫ﻨ‬
ُ
‫ﺟ‬
ُ
‫ﺎم‬
َ
‫ﻴ‬
ِّ
‫اﻟﺼ‬
ِ
ْ
‫ﻦﻴ‬
َ
‫ﻳ‬َّ‫ﺮ‬
َ
‫ﻣ‬ ‫ـ‬ ٌ‫ِﻢ‬‫ﺋ‬‫ﺎ‬
َ
‫ﺻ‬
ِّ
ِ‫إ‬
ْ
‫ﻞ‬
ُ
‫ﻘ‬
َ
‫ﻴ‬
ْ
‫ﻠ‬
َ
‫ﻓ‬«.)‫اﻛ‬‫ﺨﺎري‬‫ﺑ‬‫ﺮﻗﻢ‬١٧٦١(
ความวา “การถือศีลอดนั้นเปนโลปองกัน (คือปองกันไมใหผู
ถือศีลอดประพฤติสิ่งที่ไมดี หรือปองกันเขาจากการตองเขา
นรก) ดังนั้น(เมื่อผูใดถือศีลอด)แลว เขาอยาไดพูดจาหยาบ
โลนและอยาไดประพฤติเยี่ยงผูที่ไรจริยธรรม และหากแมนมี
ผูใดตองการทะเลาะเบาะแวงหรือกลาวดาวารายเขา ก็ใหเขา
กลาวแกคนผูนั้นวา ‘แทจริงฉันเปนผูถือศีลอด แทจริงฉันเปน
ผูถือศีลอด’ (คือใหกลาวเพียงเทานี้ โดยไมตองตอบโตดวย
34 
 
คําพูดอื่นที่อาจจะทําใหการถือศีลอดบกพรอง)” (รายงานโดย
อัล-บุคอรีย เลขที่ 1761)
การวอนขอเพื่อไดถือศีลอดตลอดทั้งป
ทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาว
วา
»ُ‫ﺮ‬
ْ
‫ﻬ‬
َ
‫ﺷ‬،ِ
ْ
‫ﺮﺒ‬
َّ
‫اﻟﺼ‬
ُ
‫ﺔ‬
َ
‫ﺛ‬
َ
‫ﻼ‬
َ
‫ﺛ‬َ‫و‬ٍ‫ﺎم‬
َّ
‫ﻳ‬
َ
‫ﻛ‬
ْ
‫ِﻦ‬‫ﻣ‬
ِّ ُ
‫ﻞﻛ‬ٍ‫ﺮ‬
ْ
‫ﻬ‬
َ
‫ﺷ‬
ُ
‫م‬
ْ
‫ﻮ‬
َ
‫ﺻ‬ِ‫ﺮ‬
ْ
‫ﻫ‬َّ ‫ا‬«)‫اﻟﻨﺴﺎ‬
‫ﺑﺮﻗﻢ‬٢٤٠٨،‫اﺠﻟﺎﻣﻊ‬ ‫ﺻﺤﻴﺢ‬ ‫ﻲﻓ‬ ‫اﻷﻛﺎ‬ ‫وﺻﺤﺤﻪ‬٣٧١٨( 
ความวา “(การถือศีลอดใน)เดือนแหงการอดทน(เราะมะฎอน)
และสามวันของทุกๆ เดือนนั้น(เทากับ)การถือศีลอตลอดทั้ง
ป” (บันทึกโดย อัน-นะสาอีย : 2408 ชัยคฺอัล-อัลบานีย มีทัศนะวา
เศาะฮีหฺ ในหนังสือ เศาะฮีหฺ อัล-ญามิอฺ 3718)
การวอนขอเพื่อการวิงวอน(ดุอาอ)ถูกตอบรับ
ทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาว
วา
35 
 
»
ُ
‫ث‬
َ
‫ﻼ‬
َ
‫ﺛ‬ٍ‫ات‬َ‫ﻮ‬
َ
‫ﻋ‬
َ
‫د‬
ٌ
‫ﺎت‬
َ
‫ﺎﺑ‬
َ
‫ﺠ‬
َ
‫ﺘ‬
ْ
‫ﺴ‬
ُ
‫ﻣ‬:
ُ
‫ة‬َ‫ﻮ‬
ْ
‫ﻋ‬
َ
‫د‬،ِ‫ِﻢ‬‫ﺋ‬‫ﺎ‬
َّ
‫اﻟﺼ‬
ُ
‫ة‬َ‫ﻮ‬
ْ
‫ﻋ‬
َ
‫د‬َ‫و‬،ِ‫ﻮم‬
ُ
‫ﻠ‬
ْ
‫ﻈ‬
َ
‫ﻤ‬
ْ
‫اﻟ‬
ُ
‫ة‬َ‫ﻮ‬
ْ
‫ﻋ‬
َ
‫د‬َ‫و‬ِ‫ِﺮ‬‫ﻓ‬‫ﺎ‬
َ
‫ﺴ‬
ُ
‫ﻤ‬
ْ
‫اﻟ‬«)‫ﺨء‬ ‫ا‬‫ﻟ‬‫ﻠﻄﺮﺒا‬‫ﺑﺮﻗﻢ‬١٣١٣‫وﺻﺤﺤﻪ‬ ،
‫اﺠﻟﺎﻣﻊ‬ ‫ﺻﺤﻴﺢ‬ ‫ﻲﻓ‬ ‫اﻷﻛﺎ‬٣٠٣٠(
ความวา “ดุอาอของบุคคลสามประเภทตอไปนี้เปนดุอาอที่ถูก
ตอบรับ ไดแก ดุอาอของผูถือศีลอด ดุอาอของผูถูกอธรรม
และดุอาอของผูเดินทาง” (อัด-ดุอาอ โดยทานอัฏ-ฏ็อบรอนีย ชัยคฺ
อัล-อัลบานียมีทัศนะวา เศาะฮีหฺ ในหนังสือ เศาะฮีหฺ อัล-ญามิอฺ
3030)
การวอนขอความเบิกบานในโลกดุนยา
ทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาว
วา
»ِ‫ِﻢ‬‫ﺋ‬‫ﺎ‬
َّ
‫ﻟِﻠﺼ‬
َ
‫ﺣ‬ْ‫ﺮ‬
َ
‫ﻓ‬ِ‫ﺎن‬
َ
‫ﺘ‬‫ﺎ‬
َ
‫ﻤ‬
ُ
‫ﻬ‬
ُ
‫ﺣ‬َ‫ﺮ‬
ْ
‫ﻔ‬
َ
‫ﻓ‬‫ا‬
َ
‫ذ‬ِ‫إ‬َ‫ﺮ‬
َ
‫ﻄ‬
ْ
‫ﻓ‬
َ
‫أ‬
َ
‫ح‬ِ‫ﺮ‬
َ
‫ﻓ‬ِ‫ه‬ِ‫ﺮ‬
ْ
‫ﻄ‬ِ‫ﻔ‬ِ‫ﺑ‬‫ا‬
َ
‫ذ‬ِ‫إ‬َ‫و‬َ ِ‫ﻲﻘ‬
َ
‫ﻟ‬
ُ
‫ﻪ‬
َّ
‫ﺑ‬َ‫ر‬
َ
‫ح‬ِ‫ﺮ‬
َ
‫ﻓ‬ِ‫ﻪ‬ِ‫ﻣ‬
ْ
‫ﻮ‬
َ
‫ﺼ‬ِ‫ﺑ‬«) .‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫اﻛﺨﺎري‬٧٤٩٢،‫و‬‫ﻣﺴﻠﻢ‬‫ﺑ‬‫ﺮﻗﻢ‬١١٥١(
ความวา “สําหรับผูถือศีลอดนั้นมีความเบิกบานใจอยู
สองครั้ง เมื่อเขาละศีลอดเขาจะเบิกบานใจกับการละศีลอด
นั้น และเมื่อเขาไดพบองคอภิบาลของเขา เขาจะเบิกบานใจ
36 
 
กับ(ผลบุญที่ไดจาก)การถือศีลอดของเขา” (รายงานโดยอัล-บุ
คอรีย : 7492 มุสลิม :1151)
การวอนขอเพื่อจบชีวิตดวยกับสิ่งที่ดีงาม
ทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาว
วา
»
ْ
‫ﻦ‬
َ
‫ﻣ‬َ‫ﻢ‬ِ‫ﺘ‬
ُ
‫ﺧ‬ُ َ
ِ‫ﺎم‬
َ
‫ﻴ‬ ِ‫ﺼ‬ِ‫ﺑ‬ٍ‫م‬
ْ
‫ﻮ‬
َ
‫ﻳ‬
َ
‫ﻞ‬
َ
‫ﺧ‬
َ
‫د‬‫ا‬
َ
‫ﺔ‬
َّ
‫ﻨ‬َ ْ
‫ﺠﻟ‬«)‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫اﻟﺰﺒار‬ ‫ﻣﺴﻨﺪ‬
٢٨٥٤،‫اﺠﻟﺎﻣﻊ‬ ‫ﺻﺤﻴﺢ‬ ‫ﻲﻓ‬ ‫اﻷﻛﺎ‬ ‫وﺻﺤﺤﻪ‬٦٢٢٤(
ความวา “ผูใดที่จบชีวิตดวยกับการถือศีลอดในวันหนึ่ง เขาจะ
ไดเขาสวรรค” (บันทึกโดยมุสนัดอัล-บัซซาร 2854 ชัยคฺอัล-อัล
บานีย มีทัศนะวา เศาะฮีหฺ ในหนังสือ เศาะฮีหฺ อัล-ญามิอฺ 6224 )
การวอนขอเพื่อลมปากที่หอมหวล
ทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาว
วา
»ِ‫ﻚ‬
ْ
‫ﺴ‬ِ‫ﻤ‬
ْ
‫اﻟ‬ ِ‫ﻳﺢ‬ِ‫ر‬
ْ
‫ِﻦ‬‫ﻣ‬ ِ
َّ
‫اﺑ‬
َ
‫ﺪ‬
ْ
‫ِﻨ‬‫ﻋ‬ ُ‫ﺐ‬
َ
‫ﻴ‬
ْ
‫ﻃ‬
َ
‫أ‬ ِ‫ﻪ‬‫ِﻴ‬‫ﻓ‬
ُ
‫ﻮف‬
ُ
‫ﻠ‬
ُ َ
‫ﺨﻟ‬َ‫و‬«)‫اﻛﺨﺎري‬
‫ﺑ‬‫ﺮﻗﻢ‬١٨٩٤‫ﻣﺴﻠﻢ‬ ،‫ﺑ‬‫ﺮﻗﻢ‬١١٥١(
37 
 
ความวา “และแทจริงกลิ่นปากของผูที่ถือศีลอด ณ อัลลอฮฺนั้น
หอมยิ่งกวากลิ่นของชะมดเชียงเสียอีก" (บันทึกโดยอัล-บุคอรีย :
1894 และมุสลิม :1151)
การวอนขอเพื่อใหไดความยําเกรง
อัลลอฮฺ ไดดํารัสวา
﴿
َ َ َ‫ب‬ِ‫ت‬
ُ
‫ك‬ ‫ا‬َ‫م‬
َ
‫ك‬ ُ‫ام‬َ‫ي‬ ِ
ّ‫ٱلص‬ ُ‫م‬
ُ
‫ك‬ۡ‫ي‬
َ
‫ل‬
َ
‫ع‬ َ‫ب‬ِ‫ت‬
ُ
‫ك‬
ْ
‫وا‬ُ‫ن‬َ‫ام‬َ‫ء‬ َ‫ِين‬
َّ
‫ٱل‬ ‫ا‬َ‫ه‬ُّ‫ي‬
َ
‫أ‬ٰٓ َ
‫ي‬
َ
‫ون‬
ُ
‫ق‬َّ‫ت‬
َ
‫ت‬ ۡ‫م‬
ُ
‫ك‬
َّ
‫ل‬َ‫ع‬
َ
‫ل‬ ۡ‫م‬
ُ
‫ِك‬‫ل‬ۡ‫ب‬
َ
‫ق‬ ‫ِن‬‫م‬ َ‫ِين‬
َّ
‫ٱل‬١٨٣﴾)‫اﻛﻘﺮة‬:١٨٣(
ความวา “โอบรรดาผูศรัทธาทั้งหลาย! การถือศีลอด
นั้นไดถูกกําหนดแกพวกเจาแลว เชนเดียวกับที่ไดถูกกําหนด
แกบรรดาผูกอนหนาพวกเจามาแลว เพื่อวาพวกเจาจะไดยํา
เกรง” (สูเราะฮฺ อัล-บะเกาะเราะฮฺ : 183)
เปนการเขาใกลอัลลอฮฺ ตะอาลา
ทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาว
วา อัลลอฮฺไดดํารัสวา
»‫ﺎ‬
َ
‫ﻣ‬َ‫و‬
َ
‫ب‬َّ‫ﺮ‬
َ
‫ﻘ‬
َ
‫ﻳ‬َّ َ
‫ﻲﻟ‬ِ‫إ‬‫ي‬ِ‫ﺪ‬
ْ
‫ﺒ‬
َ
‫ﻗ‬ٍ‫ء‬ ْ َ
ِ‫ﺑ‬
َّ
‫ﺐ‬
َ
‫ﺣ‬
َ
‫أ‬َّ َ
‫ﻲﻟ‬ِ‫إ‬‫ﺎ‬
َّ
‫ِﻤ‬‫ﻣ‬
ُ
‫ﺖ‬
ْ
‫ﺿ‬َ َ
‫ﺮﺘ‬
ْ
‫اﻓ‬ِ‫ﻪ‬
ْ
‫ﻴ‬
َ
‫ﻠ‬
َ
‫ﻋ‬«
)‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫اﻛﺨﺎري‬٦٥٠٢(
38 
 
ความวา “และไมมีสิ่งใดที่บาวของฉันได(ปฏิบัติตน)เขาใกลกับ
ฉันดวยการงานหนึ่งที่ฉันโปรดปรานยิ่ง กวาการปฏิบัติในสิ่งที่
ฉันกําหนดเปนฟรฎ” (บันทึกโดยอัล-บุคอรีย 6502)
การวอนขอเพื่อไดรับตําแหนงแหงความอดทน
ทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาว
วา
»ُ‫ﺮ‬
ْ
‫ﻬ‬
َ
‫ﺷ‬،ِ
ْ
‫ﺮﺒ‬
َّ
‫اﻟﺼ‬
ُ
‫ﺔ‬
َ
‫ﺛ‬
َ
‫ﻼ‬
َ
‫ﺛ‬َ‫و‬ٍ‫ﺎم‬
َّ
‫ﻳ‬
َ
‫ﻛ‬
ْ
‫ِﻦ‬‫ﻣ‬
ِّ ُ
‫ﻞﻛ‬ٍ‫ﺮ‬
ْ
‫ﻬ‬
َ
‫ﺷ‬
ُ
‫م‬
ْ
‫ﻮ‬
َ
‫ﺻ‬ِ‫ﺮ‬
ْ
‫ﻫ‬َّ ‫ا‬«)‫اﻟﻨﺴﺎ‬
‫ﺑﺮﻗﻢ‬٢٤٠٨،‫اﺠﻟﺎﻣﻊ‬ ‫ﺻﺤﻴﺢ‬ ‫ﻲﻓ‬ ‫اﻷﻛﺎ‬ ‫وﺻﺤﺤﻪ‬٣٧١٨(
ความวา “(การถือศีลอดใน)เดือนแหงการอดทน(เราะมะฎอน)
และสามวันของทุกๆ เดือนนั้น(เทากับ)การถือศีลอตลอดทั้ง
ป” (บันทึกโดย อัน-นะสาอีย : 2408 ชัยคฺอัล-อัลบานีย มีทัศนะวา
เศาะฮีหฺ ในหนังสือ เศาะฮีหฺ อัล-ญามิอฺ 3718)
ทานอิบนุลก็อยยิม เราะหิมะฮุลลอฮฺ ไดกลาวถึง “การ
อดทน” วา “คือการอดทนในการเคารพภักดีตออัลลอฮฺและการ
อดทนตออารมณความใคร”
 

Contenu connexe

En vedette

Tallercreativita tv1
Tallercreativita tv1Tallercreativita tv1
Tallercreativita tv1SaniGirona
 
Keek online profile login
Keek online profile loginKeek online profile login
Keek online profile loginchris635
 
Iglesia católica ¡abuso de fe!
Iglesia católica ¡abuso de fe!Iglesia católica ¡abuso de fe!
Iglesia católica ¡abuso de fe!antonella_147
 
I Jornada de Orientación y FP - 21mayo2013
I Jornada de Orientación y FP - 21mayo2013I Jornada de Orientación y FP - 21mayo2013
I Jornada de Orientación y FP - 21mayo2013massanz
 
aqui ó
aqui óaqui ó
aqui óAh Mo
 
What will web convergence mean?
What will web convergence mean?What will web convergence mean?
What will web convergence mean?Steph Gray
 
Keek my videos online
Keek my videos onlineKeek my videos online
Keek my videos onlinechris635
 
[3] Startup Stage #4 - Chris Wacławek - makerland
[3] Startup Stage #4 - Chris Wacławek - makerland[3] Startup Stage #4 - Chris Wacławek - makerland
[3] Startup Stage #4 - Chris Wacławek - makerlandStartup Stage
 
Keek online android
Keek online androidKeek online android
Keek online androidchris635
 
Fontes do Direito
Fontes do DireitoFontes do Direito
Fontes do DireitoElder Leite
 
027.guerra.civil. .pantera.negra.v4.18.hq.br.13 mai07.os.impossiveis.br.gibihq
027.guerra.civil. .pantera.negra.v4.18.hq.br.13 mai07.os.impossiveis.br.gibihq027.guerra.civil. .pantera.negra.v4.18.hq.br.13 mai07.os.impossiveis.br.gibihq
027.guerra.civil. .pantera.negra.v4.18.hq.br.13 mai07.os.impossiveis.br.gibihqMarcos Donato
 
Th krobkrua kub_ramadhan
Th krobkrua kub_ramadhanTh krobkrua kub_ramadhan
Th krobkrua kub_ramadhanLoveofpeople
 

En vedette (20)

Tallercreativita tv1
Tallercreativita tv1Tallercreativita tv1
Tallercreativita tv1
 
Bikes Begining
Bikes BeginingBikes Begining
Bikes Begining
 
Keek online profile login
Keek online profile loginKeek online profile login
Keek online profile login
 
Iglesia católica ¡abuso de fe!
Iglesia católica ¡abuso de fe!Iglesia católica ¡abuso de fe!
Iglesia católica ¡abuso de fe!
 
2007 Sakura
2007 Sakura2007 Sakura
2007 Sakura
 
I Jornada de Orientación y FP - 21mayo2013
I Jornada de Orientación y FP - 21mayo2013I Jornada de Orientación y FP - 21mayo2013
I Jornada de Orientación y FP - 21mayo2013
 
aqui ó
aqui óaqui ó
aqui ó
 
What will web convergence mean?
What will web convergence mean?What will web convergence mean?
What will web convergence mean?
 
Keek my videos online
Keek my videos onlineKeek my videos online
Keek my videos online
 
[3] Startup Stage #4 - Chris Wacławek - makerland
[3] Startup Stage #4 - Chris Wacławek - makerland[3] Startup Stage #4 - Chris Wacławek - makerland
[3] Startup Stage #4 - Chris Wacławek - makerland
 
Practica json
Practica jsonPractica json
Practica json
 
Plan de marketing
Plan de marketingPlan de marketing
Plan de marketing
 
Keek online android
Keek online androidKeek online android
Keek online android
 
Fontes do Direito
Fontes do DireitoFontes do Direito
Fontes do Direito
 
Animais
Animais Animais
Animais
 
PsicopedagogíA Actual
PsicopedagogíA ActualPsicopedagogíA Actual
PsicopedagogíA Actual
 
027.guerra.civil. .pantera.negra.v4.18.hq.br.13 mai07.os.impossiveis.br.gibihq
027.guerra.civil. .pantera.negra.v4.18.hq.br.13 mai07.os.impossiveis.br.gibihq027.guerra.civil. .pantera.negra.v4.18.hq.br.13 mai07.os.impossiveis.br.gibihq
027.guerra.civil. .pantera.negra.v4.18.hq.br.13 mai07.os.impossiveis.br.gibihq
 
Th krobkrua kub_ramadhan
Th krobkrua kub_ramadhanTh krobkrua kub_ramadhan
Th krobkrua kub_ramadhan
 
FOTOS DA CONFERÊNCIA
FOTOS DA CONFERÊNCIAFOTOS DA CONFERÊNCIA
FOTOS DA CONFERÊNCIA
 
40120140506003
4012014050600340120140506003
40120140506003
 

Plus de Loveofpeople

Ms pillars of islam
Ms pillars of islamMs pillars of islam
Ms pillars of islamLoveofpeople
 
Ms pillars of eman
Ms pillars of emanMs pillars of eman
Ms pillars of emanLoveofpeople
 
Ms dialogue between atheist prof and muslim student
Ms dialogue between atheist prof and muslim studentMs dialogue between atheist prof and muslim student
Ms dialogue between atheist prof and muslim studentLoveofpeople
 
Ms brief illustrated guide to understanding islam
Ms brief illustrated guide to understanding islamMs brief illustrated guide to understanding islam
Ms brief illustrated guide to understanding islamLoveofpeople
 
Ms islam religi all
Ms islam religi allMs islam religi all
Ms islam religi allLoveofpeople
 
Zh this is islam briefly web
Zh this is islam briefly webZh this is islam briefly web
Zh this is islam briefly webLoveofpeople
 
En why people accept islam
En why people accept islamEn why people accept islam
En why people accept islamLoveofpeople
 
Zh khatem elnabeen
Zh khatem elnabeenZh khatem elnabeen
Zh khatem elnabeenLoveofpeople
 
Ru znanie islamskoy aqydy
Ru znanie islamskoy aqydyRu znanie islamskoy aqydy
Ru znanie islamskoy aqydyLoveofpeople
 
Ru talim assolyat bihtisar
Ru talim assolyat bihtisarRu talim assolyat bihtisar
Ru talim assolyat bihtisarLoveofpeople
 
Ru ma yageb ma3reftoh 3an tahara
Ru ma yageb ma3reftoh 3an taharaRu ma yageb ma3reftoh 3an tahara
Ru ma yageb ma3reftoh 3an taharaLoveofpeople
 

Plus de Loveofpeople (20)

Ms virus syiah
Ms virus syiahMs virus syiah
Ms virus syiah
 
Ms prophets pray
Ms prophets prayMs prophets pray
Ms prophets pray
 
Ms pillars of islam
Ms pillars of islamMs pillars of islam
Ms pillars of islam
 
Ms pillars of eman
Ms pillars of emanMs pillars of eman
Ms pillars of eman
 
Ms im a muslim
Ms im a muslimMs im a muslim
Ms im a muslim
 
Ms hisn muslim
Ms hisn muslimMs hisn muslim
Ms hisn muslim
 
Ms dialogue between atheist prof and muslim student
Ms dialogue between atheist prof and muslim studentMs dialogue between atheist prof and muslim student
Ms dialogue between atheist prof and muslim student
 
Ms brief illustrated guide to understanding islam
Ms brief illustrated guide to understanding islamMs brief illustrated guide to understanding islam
Ms brief illustrated guide to understanding islam
 
Ms islam religi all
Ms islam religi allMs islam religi all
Ms islam religi all
 
Ms azkar muslim
Ms azkar muslimMs azkar muslim
Ms azkar muslim
 
Sr jednoca boga
Sr jednoca bogaSr jednoca boga
Sr jednoca boga
 
Zh this is islam briefly web
Zh this is islam briefly webZh this is islam briefly web
Zh this is islam briefly web
 
Zh this is islam
Zh this is islamZh this is islam
Zh this is islam
 
En why people accept islam
En why people accept islamEn why people accept islam
En why people accept islam
 
Zh khatem elnabeen
Zh khatem elnabeenZh khatem elnabeen
Zh khatem elnabeen
 
Ru znanie islamskoy aqydy
Ru znanie islamskoy aqydyRu znanie islamskoy aqydy
Ru znanie islamskoy aqydy
 
Ru talim assolyat bihtisar
Ru talim assolyat bihtisarRu talim assolyat bihtisar
Ru talim assolyat bihtisar
 
Ru subhan llah
Ru subhan llahRu subhan llah
Ru subhan llah
 
Ru prizyv k aqyde
Ru prizyv k aqydeRu prizyv k aqyde
Ru prizyv k aqyde
 
Ru ma yageb ma3reftoh 3an tahara
Ru ma yageb ma3reftoh 3an taharaRu ma yageb ma3reftoh 3an tahara
Ru ma yageb ma3reftoh 3an tahara
 

Th your day_in_ramadan

  • 2.     ﴿‫رﻣﻀﺎن‬ ‫ﻲﻓ‬ ‫ﻳﻮﻣﻚ‬﴾ »‫اﺤﻛ‬ ‫ﺑﺎﻟﻠﻐﺔ‬‫ﺎﻳﻼﻧﺪﻳ‬‫ﺔ‬«   ‫اﷲ‬ ‫رﺳﻮل‬ ‫ﻣﻮﻗﻊ‬www.rasoulallah.net ‫ﺗﺮﻤﺟﺔ‬:‫ﻳﻌﻘﻮب‬ ‫ﺻﺮﺒي‬ ‫ﺤﻣﻤﺪ‬ ‫ﻣﺮاﺟﻌﺔ‬:‫ﻋﺜﻤﺎن‬ ‫ﺻﺎﻲﻓ‬ 2011 – 1432
  • 3. 3    ดวยพระนามของอัลลอฮฺ ผูทรงเมตตา ปรานียิ่งเสมอ หนึ่งวันกับกิจวัตรในเดือนเราะมะฎอน    สารบัญ  ละหมาดศุบหฺ  หลังละหมาดศุบหฺ  เดินทางไปทํางาน  ละหมาดซุฮฺริ  ละหมาดอัศรฺ  กอนอะซานมัฆริบ  ละหมาดมัฆริบ  ละหมาดอิชาอ  หลังละหมาดตะรอวีหฺ  นอน  ละหมาดตะฮัจุด  กินสะหูร  ความปรารถนาบางประการที่เกี่ยวของกับการถือศีลอด พรอมกับหลักฐานของทุกความปรารถนา 
  • 4. 4    ละหมาดศุบหฺ  ใหกลาวตามการอะซาน(ทุกประโยค ยกเวนเมื่อรับประโยค “หัยยะอะลัศเศาะลาฮฺ” กับ “หัยยะอะลัลฟะลาหฺ” ใหกลาววา ( َ ‫ﻻ‬ َ ‫ل‬ْ‫ﻮ‬َ‫ﺣ‬ َ ‫ﻻ‬َ‫و‬ َ ‫ة‬َّ‫ﻮ‬ ُ ‫ﻗ‬ َّ ‫إﻻ‬‫ﺎﷲ‬ِ‫ﺑ‬ ) (อานวา ลาเหาละ วะลา กุววะตะ อิล ลา บิลลาฮฺ) ทั้งนี้เพื่อที่จะไดรับผลบุญเหมือนกับผูอะซาน -ผูแปล) แลวใหเศาะละวาตแกทานนบี ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม หลังจากนั้นก็ใหอานดุอาอ อัล-วะสีละฮฺ (ดุอาอหลังจากอะซาน) วา »‫اﻢﻬﻠﻟ‬ َّ ‫ﺎﻣ‬َّ‫اﺤﻛ‬ ِ‫ة‬َ‫ﻋﻮ‬َّ ‫ا‬ ِ‫ه‬ِ‫ﺬ‬ َ ‫ﻫ‬ َّ ‫ب‬َ‫ر‬ ً ‫ﺪا‬ َّ ‫ـﻤ‬ َ ‫ـﺤ‬ ُ ‫ﻣ‬ ِ‫آت‬ ،ِ‫ﺔ‬ َ ‫ﺎﺋﻤ‬ َ ‫اﻟﻘ‬ ِ‫ة‬‫ﻼ‬ َّ ‫اﻟﺼ‬َ‫و‬ ،ِ‫ﺔ‬ ُ ‫ـﻪ‬ َ ‫ﺗ‬ ْ ‫ﺪ‬ َ ‫ﻋ‬َ‫و‬ ‫ِي‬ َّ ‫ا‬ ً ‫ﻮدا‬ ُ ‫ـﻤ‬ ْ ‫ـﺤ‬ َ ‫ﻣ‬ ً ‫ﺎﻣﺎ‬ َ ‫ﻘ‬ َ ‫ﻣ‬ ُ ‫ﻪ‬ ْ ‫ﺜ‬ َ ‫ﻌ‬ ْ ‫اﻧ‬َ‫و‬ ، َ ‫ﺔ‬ َ ‫ﻴﻠ‬ ِ‫ﻀ‬ َ ‫اﻟﻔ‬َ‫و‬ َ ‫ﺔ‬ َ ‫ﻴﻠ‬ِ‫ﺳ‬َ‫اﻟﻮ‬« )‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫اﻛﺨﺎري‬٦١٤،٤٧١٩( “อัลลอฮุมมะ ร็อบบะ ฮาซิฮิดดะอฺวะติตตามมะฮฺ วัศเศาะลาติล กออิมะฮฺ อาติ มุหัมมะดะนิลวะสีละฮฺ วัลฟะฎีละฮฺ วับอัษฮุ มะกอ มัน มะหฺมูดะนิลละซี วะอัดตะฮฺ” ความวา “โออัลลอฮฺ พระเปนเจาแหงการเชิญชวนอันสมบูรณ และการละหมาดที่กําลังจะปฏิบัติอยูนี้ ขอพระองคทรงโปรด ประทานความดี ประเสริฐ และขอพระองคทรงโปรดนํามุหัม มัดสูตําแหนงที่ไดรับการสรรเสริญ ซึ่งพระองคไดทรงสัญญา ไวดวยเถิด”
  • 5. 5    (ทานนบีกลาววา ใครที่กลาวเชนนี้) “เขาจะไดรับการ ชะฟาอะฮฺจากฉันในวันกิยามะฮฺ” (บันทึกโดยอัล-บุคอรีย : 614,4719) ดุอาอระหวางการอะซานกับอิกอมะฮฺจะไมถูกผลักไส ดังนั้นจงฉกฉวยชวงเวลาแหงการตอบรับนี้เถิด และพึงทราบเถิดวา ดุอาอของผูที่ถือศีลอดก็ไมถูกผลักไสเชนเดียวกัน ดังที่ทานเราะสู ลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาววา » ٌ ‫ﺔ‬ َ ‫ﺛ‬ َ ‫ﻼ‬ َ ‫ﺛ‬ َ ‫ﻻ‬ ُّ ‫د‬َ‫ﺮ‬ ُ ‫ﺗ‬ ْ ‫ﻢ‬ ُ ‫ﻬ‬ ُ ‫ﻳ‬َ‫ﻮ‬ ْ ‫ﻋ‬ َ ‫د‬:ُ‫ِﻢ‬‫ﺋ‬‫ﺎ‬ َّ ‫اﻟﺼ‬ َّ َ ‫ﺣ‬َ‫ﺮ‬ِ‫ﻄ‬ ْ ‫ﻔ‬ ُ ‫ﻓ‬، ُ ‫ﺎم‬ َ ‫ﻣ‬ِ‫اﻹ‬َ‫و‬ ُ ‫ِل‬‫د‬‫ﺎ‬ َ ‫اﻟﻌ‬، ُ ‫ة‬َ‫ﻮ‬ ْ ‫ﻋ‬ َ ‫د‬َ‫و‬ِ‫ﻮم‬ ُ ‫ﻠ‬ ْ ‫ﻈ‬ َ ‫اﻟﻤ‬‫ﺎ‬ َ ‫ﻬ‬ ُ ‫ﻌ‬ َ ‫ﻓ‬ْ‫ﺮ‬ َ ‫ﻳ‬ ُ َّ ‫اﺑ‬ َ ‫ق‬ ْ ‫ﻮ‬ َ ‫ﻓ‬ِ‫ﺎم‬ َ ‫ﻤ‬ َ ‫اﻟﻐ‬ َ ‫ﻳ‬َ‫و‬ ُ ‫ﺢ‬ َ ‫ﺘ‬ ْ ‫ﻔ‬‫ﺎ‬ َ ‫ﻬ‬ َ ‫ﻟ‬ َ ‫اب‬َ‫ﻮ‬ ْ ‫ﺑ‬ َ ‫أ‬ ِ‫ء‬‫ﺎ‬ َ ‫ﻤ‬ َّ ‫اﻟﺴ‬، ُ ‫ﻮل‬ ُ ‫ﻘ‬ َ ‫ﻳ‬َ‫و‬ ُّ ‫ب‬َّ‫اﻟﺮ‬:ِ‫ﻲﺗ‬َّ‫ِﺰ‬‫ﻋ‬َ‫و‬ِ‫ﻚ‬ َّ ‫ﻧ‬َ ُ‫ﺮﺼ‬ ْ ‫ﻧ‬ َ َ ‫ﻷ‬ ْ ‫ﻮ‬ َ ‫ﻟ‬َ‫و‬ َ ‫ﺪ‬ ْ ‫ﻌ‬ َ ‫ﻧ‬ٍ‫ﻦﻴ‬ِ‫ﺣ‬« )‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫اﻟﺮﺘﻣﺬي‬٣٥٩٨،‫اﻟﺮﺘﻏﻴﺐ‬ ‫ﺿﻌﻴﻒ‬ ‫ﻲﻓ‬ ‫اﻷﻛﺎ‬ ‫وﺿﻌﻔﻪ‬ ‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫واﻟﺮﺘﻫﻴﺐ‬٥٩٧( ความวา “บุคคลสามประเภทที่การขอดุอาอของเขาจะไมถูก ผลักไส นั้นคือ ผูที่ถือศีลอดกระทั่งเขาไดละศีลอด อิมามที่ เที่ยงธรรม และดุอาอของผูถูกอธรรม ซึ่งอัลลอฮฺจะดุอาอนั้น ขึ้นเหนือเมฆ และใหประตูแหงฟากฟาทั้งหลายเปดเพื่อรับดุ อาอนั้น และอัลลอฮฺจะตรัสวา ดวยกับเกียรติของขา แนแท
  • 6. 6    ฉันตองชวยเหลือเจาอยางแนนอน แมมันจะผานไปแลวก็ ตาม” (บันทึกโดยอัต-ติรมิซีย : 3598, อัล-อัลบานีย กลาววาเปนหะ ดีษเฎาะอีฟ ดู เฎาะอีฟ อัต-ตัรฆีบ วัต-ตัรฮีบ 597 ถึงแมนวาหะดีษ ขางตนนี้อยูในทัศนะที่เฎาะอีฟ แตก็ยังมีหะดีษอื่นๆ ที่มีเนื้อหาที่ คลายคลึงกันเชน » ُ ‫ث‬ َ ‫ﻼ‬ َ ‫ﺛ‬ٍ‫ات‬َ‫ﻮ‬ َ ‫ﻋ‬ َ ‫د‬ ٌ ‫ﺎت‬ َ ‫ﺎﺑ‬ َ ‫ﺠ‬ َ ‫ﺘ‬ ْ ‫ﺴ‬ ُ ‫ﻣ‬: ُ ‫ة‬َ‫ﻮ‬ ْ ‫ﻋ‬ َ ‫د‬ِ‫ﺋ‬‫ﺎ‬ َّ ‫اﻟﺼ‬،ِ‫ﻢ‬ ُ ‫ة‬َ‫ﻮ‬ ْ ‫ﻋ‬ َ ‫د‬َ‫و‬،ِ‫ﻮم‬ ُ ‫ﻠ‬ ْ ‫ﻈ‬ َ ‫ﻤ‬ ْ ‫اﻟ‬ ُ ‫ة‬َ‫ﻮ‬ ْ ‫ﻋ‬ َ ‫د‬َ‫و‬ِ‫ِﺮ‬‫ﻓ‬‫ﺎ‬ َ ‫ﺴ‬ ُ ‫ﻤ‬ ْ ‫اﻟ‬«)‫اﻟﻄﺮﺒا‬ ‫ﺨء‬ ‫ا‬‫ﺑﺮﻗﻢ‬١٣١٣‫وﺻﺤﺤﻪ‬ ، ‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫اﺠﻟﺎﻣﻊ‬ ‫ﺻﺤﻴﺢ‬ ‫ﻲﻓ‬ ‫اﻷﻛﺎ‬٣٠٣٠( ความวา “ดุอาอของบุคคลสามประเภทตอไปนี้เปนดุอาอที่ถูก ตอบรับ ไดแก ดุอาอของผูถือศีลอด ดุอาอของผูถูกอธรรม และดุอาอของผูเดินทาง” (อัด-ดุอาอ โดยทานอัฏ-ฏ็อบรอนีย ชัยคฺ อัล-อัลบานียมีทัศนะวา เศาะฮีหฺ ในหนังสือ เศาะฮีหฺ อัล-ญามิอฺ 3030 -ผูแปล) กอนที่จะละหมาดศุบหฺ ก็ใหละหมาดสุนัตเราะวาติบสอง ร็อกอัตกอนศุบหฺกอน ซึ่งสุนัตเราะวาติบนั้นมีทั้งหมด 12 ร็อกอัต ดังที่ทานอิมามมุสลิมไดบันทึกในหนังสือเศาะฮีหฺของทาน จากทาน
  • 7. 7    หญิงอุมมุหะบีบะฮฺ ภรรยาของทานนบี ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดเลาวา » ً ‫ﺨ‬ُّ‫ﻮ‬ َ ‫ﻄ‬ َ ‫ﻳ‬ ً ‫ﺔ‬ َ ‫ﻌ‬ ْ ‫ﻛ‬َ‫ر‬ َ ‫ة‬َ ْ ‫ﺮﺸ‬ َ ‫ﻋ‬ ْ َ ‫ﻲﺘ‬ ْ ‫ِﻨ‬‫ﺛ‬ ٍ‫م‬ ْ ‫ﻮ‬ َ ‫ﻳ‬ َّ ُ ‫ﻞﻛ‬ ِ ِ‫ﺑ‬ ِّ ‫ﻲﻠ‬ َ ‫ﺼ‬ ُ ‫ﻳ‬ ٍ‫ﻢ‬ِ‫ﻠ‬ ْ ‫ﺴ‬ ُ ‫ﻣ‬ ٍ‫ﺪ‬ ْ ‫ﺒ‬ َ ‫ﻗ‬ ْ ‫ِﻦ‬‫ﻣ‬ ‫ﺎ‬ َ ‫ﻣ‬ ٍ‫ﺔ‬ َ ‫ﻳﻀ‬ِ‫ﺮ‬ َ ‫ﻓ‬ َ ْ ‫ﺮﻴ‬ َ ‫ﻟ‬ِ‫ﺔ‬ َّ ‫ﻨ‬َ ْ ‫اﺠﻟ‬ ِ‫ﻲﻓ‬ ‫ﺎ‬ ً ‫ﺘ‬ ْ ‫ﻴ‬ َ ‫ﺑ‬ ُ َ ُ‫اﷲ‬ َ ‫ﻰﻨ‬ َ ‫ﻧ‬ َّ ‫ﻻ‬ِ‫إ‬«)‫ﻣﺴﻠﻢ‬‫ﺑﺮﻗﻢ‬٧٢٨( ความวา “ไมมีบาวมุสลิมคนไหนที่ไดละหมาดสุนัตวันละ 12 ร็อกอัต นอกจากอัลลอฮฺจะสรางบานใหเขาหลังหนึ่งในสวน สวรรค” (บันทึกโดยมุสลิม : 728) และการละหมาดสุนัตเราะวาติบที่บานยอมเปนสิ่งที่ ประเสริฐที่สุด ใหละหมาดศุบหฺเปนญะมาอะฮฺ ดังที่ทานอิมามมุสลิม 657 ไดรายงานจากทานุนดุบ บิน อับดุลลอฮฺ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ ได เลาวา ทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาววา » ْ ‫ﻦ‬ َ ‫ﻣ‬ َّ ‫ﻰﻠ‬ َ ‫ﺻ‬ َ ‫ﺢ‬ ْ ‫ﺒ‬ ُّ ‫اﻟﺼ‬َ‫ﻮ‬ ُ ‫ﻬ‬ َ ‫ﻓ‬ِ‫ﻲﻓ‬ِ‫ﺔ‬ َّ ‫ِﻣ‬‫ذ‬،ِ‫ﷲ‬‫ا‬ َ ‫ﻼ‬ َ ‫ﻓ‬ُ‫ﻢ‬ ُ ‫ﻜ‬ َّ ‫ﻨ‬ َ ‫ﺒ‬ ُ ‫ﻠ‬ ْ ‫ﻄ‬ َ ‫ﻓ‬ُ‫اﷲ‬ ْ ‫ِﻦ‬‫ﻣ‬ ِ‫ﻪ‬ِ‫ﺘ‬ َّ ‫ِﻣ‬‫ذ‬ٍ‫ء‬ ْ َ ِ‫ﺑ‬ ُ ‫ﻪ‬ َ ‫ﻛ‬ِ‫ر‬ ْ ‫ﺪ‬ ُ ‫ﻴ‬ َ ‫ﻓ‬ ُ ‫ﻪ‬ َّ ‫ﺒ‬ ُ ‫ﻜ‬ َ ‫ﻴ‬ َ ‫ﻓ‬ِ‫ﻲﻓ‬ِ‫ﺎر‬ َ ‫ﻧ‬َ‫ﻢ‬ َّ ‫ﻨ‬ َ ‫ﻬ‬ َ ‫ﺟ‬«)‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫ﻣﺴﻠﻢ‬٦٥٧( ความวา “ผูใดที่ละหมาดศุบหฺ เขาก็จะไดอยูในความคุมครอง ของอัลลอฮฺ ดังนั้นพวกเจาจงอยาสรางความเดือดรอนใดๆ แกผูที่อัลลอฮฺไดใหความคุมครองแกเขาเถิด ไมเชนนั้น เขาก็
  • 8. 8    จะพบเจอกับการลงโทษดวยกับการคว่ําใบหนาลากสู นรกญะฮันนัม” (บันทึกโดยมุสลิม : 657) ทานอัน-นะวะวีย ไดกลาวในหนังสือ “ชัรหุนมุสลิม (5/158)” วา ‫ﻣﺔ‬ ‫ا‬ ณ ที่นี้ หมายถึง “คุมครองหรือใหความ ปลอดภัย” หลังละหมาดศุบหฺ  อานอัซการฺ(บทซิกิรฺตางๆ เพื่อรําลึกถึงอัลลอฮฺ)หลังจากได ใหสลามของการละหมาด หลังจากละหมาดแลวก็ใหนั่งอยูในมัสญิด(สําหรับผูหญิงก็ ใหนั่ง ณ ที่เธอไดละหมาด) จนกระทั่งดวงอาทิตยขึ้น ซึ่งผลบุญของ มันนั้นคือเสมือนการทําหัจญและอุมเราะฮฺอยางสมบูรณ ทั้งนี้ก็ให ขะมักเขมนในชวงเวลานี้ดวยการอานอัลกุรอาน และใหสัมผัสถึงคํา ดํารัสของอัลลอฮฺ อัซซะวะญัลลาที่วา ﴿ۡ‫ج‬ َ ‫ف‬ ۡ ‫ٱل‬ َ ‫ان‬َ‫ء‬ۡ‫ر‬ ُ ‫ق‬َ‫و‬ ٗ ‫ود‬ُ‫ه‬ ۡ ‫ش‬َ‫م‬ َ ‫ن‬ َ ‫ك‬ ِ‫ر‬ۡ‫ج‬ َ ‫ف‬ ۡ ‫ٱل‬ َ ‫ان‬َ‫ء‬ۡ‫ر‬ ُ ‫ق‬ َّ ‫ن‬ِ‫إ‬ِۖ‫ر‬‫ا‬٧٨﴾]‫اﻹﺮﺳاء‬ :٧٨[ 
  • 9. 9    ความวา “และการอานยามรุงอรุณ แทจริงการอานยามรุงอรุณ นั้นเปนพยานยืนยันเสมอ” (สูเราะฮฺ อัล-อิสรออ 78) อานอัซการยามเชา และละหมาดฎฮา(นั้นคือ หลังจากที่ ดวงอาทิตยขึ้นประมาณ 20 นาที) จํานวนร็อกอัตที่นอยที่สุดคือ สอง ร็อกอัต แตถาตองการที่จะเพิ่มจํานวนร็อกอัตอีก ก็ใหละหมาดทีละ สองๆ ตามที่อัลลอฮฺทรงประสงค ชวงเดินทางไปทํางาน  การที่ทานไดเดินทางไปทํางานนั้น ก็ถือวาทานอยูในชวงอิ บาดะฮฺ ดังนั้นจงกอบโกยผลบุญตางๆ จนกระทั่งทานไดรับผลบุญ ตลอดชวงเวลาที่ทานทํางาน (ทานยังสามารถใชชวงเวลาที่เดินทาง ไปทํางานนั้นดวยการอิสติฆฟารฺ(ขออภัยโทษ), ตัสบีหฺ(สรรเสริญ อัลลอฮฺ), หรือฟงอัลกุรอาน) พึงยําเกรงตออัลลอฮฺเถิด และจงรักษา ลิ้นของทาน อวัยวะตางๆของทาน และหากวายังมีชวงเวลาที่วาง จากการทํางานเหลืออีกก็ใหฉกฉวยโอกาสนั้นดวยการอาน อัลกุรอาน
  • 10. 10    ละหมาดซุฮฺริ สุนัตใหกลาวตามการอะซาน การดุอาอระหวางการอะซานและอิกอมะฮฺนั้นจะไมถูกผลัก ไส ดังนั้นจงฉกฉวยชวงเวลาแหงการตอบรับนี้เถิด ใหละหมาดสุนัตเราะวาติบสี่ร็อกอัตกอนละหมาด(สอง สลาม) ใหฉกฉวยชวงเวลานี้ดวยการอานอัลกุรอานจนกระทั่งได ยืนละหมาด (สงเสริมใหใชอัลกุรอานเลมเล็ก ฉบับพกพา เพื่อใหมัน อยูกับทานตลอดเวลาไมวาจะอยูที่ทํางานหรือโรงเรียนหรือที่อื่นๆ) หลังจากละหมาดก็ใหอานอัซการฺหลังจากที่ไดใหสลามของ การละหมาด ใหละหมาดสุนัตเราะวาติบสองร็อกอัตหลังจากละหมาด ฟรฎซุฮฺริ สําหรับคนที่ไมมีภารกิจอะไรที่ตองทําในชวงเวลานี้ ก็ใหเขา ฉกฉวยโอกาสนี้ดวยการทําอิบาดะฮฺตางๆ ที่มีความหลากหลาย แต ใหอานอัลกุรอานใหมากที่สุด ละหมาดอัศริ สุนัตใหกลาวตามการอะซาน
  • 11. 11    ใหดุอาอระหวางการอะซานและอิกอมะฮฺ ไมมีการละหมาดสุนัตกอนและหลังละหมาดอัศริ แตทานน บี ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาววา »َ‫ﻢ‬ِ‫ﺣ‬َ‫ر‬ُ‫اﷲ‬ ً ‫أ‬َ‫ﺮ‬ ْ ‫اﻣ‬ َّ ‫ﻰﻠ‬ َ ‫ﺻ‬ َ ‫ﻞ‬ ْ ‫ﺒ‬ َ ‫ﻗ‬ِ ْ ‫ﺮﺼ‬ َ ‫ﻌ‬ ْ ‫اﻟ‬ ً ‫ﻌﺎ‬ َ ‫ﺑ‬ ْ ‫ر‬ َ ‫أ‬«)‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫داود‬ ‫أﺑﻮ‬1271 ‫واﻟﺮﺘﻫﻴﺐ‬ ‫اﻟﺮﺘﻏﻴﺐ‬ ‫ﺻﺤﻴﺢ‬ ‫ﻲﻓ‬ ‫اﻷﻛﺎ‬ ‫وﺣﺴﻨﻪ‬588( ความวา “อัลลอฮฺทรงเมตตาผูที่ละหมาดกอนอัศริสี่ร็อกอัต” (บันทึกโดยอบูดาวูด 1271 ชัยคฺอัล-อัลบานียมีทัศนะวา หะสัน ใน หนังสือ เศาะฮีหฺ อัต-ตัรฆีบ วัต-ตัรฮีบ 588) แลวผูใดกันบางในหมูพวกเรา ที่ไมตองการความเมตตา จากอัลลอฮฺ ??? หลังจากนั้นก็ใหอานอัลกุรอานจนกระทั่งไดยืนขึ้น ละหมาด หลังจากละหมาดฟรฎไปแลว ก็ใหอานอัซการฺหลังจากที่ได ใหสลามจากการละหมาด และถาหากมีการเรียนการสอนในมัสญิด ก็ใหเขาไปรวมฟงดวย โดยแนนอนอิบาดะฮฺที่ประเสริฐที่สุดในเดือน เราะมะฎอนนั้นคือการอานอัลกุรอาน แตผูใดที่สามารถผนวกความ ดีงามอื่นกับการอานอัลกุรอานดวยก็เปนสิ่งที่ดี
  • 12. 12    หลังจากที่ไดเรียนที่มัสญิดแลว ก็ใหนั่งอยูในมัสญิดตอเพื่อ อานอัลกุรอานตอ ดังที่ทาน อบู ฮุร็อยเราะฮฺ เราะฎิยัลลอฮุอันไดเลา วา ทานนบี ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาววา »‫ﻻ‬ ُ ‫ال‬َ‫ﺰ‬ َ ‫ﻳ‬ ُ ‫ﺪ‬ ْ ‫ﺒ‬ َ ‫اﻟﻌ‬ َ ‫ﻼة‬ َّ ‫اﻟﺼ‬ ُ‫ﺮ‬ِ‫ﻈ‬ َ ‫ﺘ‬ ْ ‫ﻨ‬ َ ‫ﻳ‬ ُ‫ه‬ َّ ‫ﻼ‬ َ ‫ﺼ‬ ُ ‫ﻣ‬ ِ‫ﻲﻓ‬ َ ‫ن‬ َ ‫ﺎﻛ‬ ‫ﺎ‬ َ ‫ﻣ‬ ٍ‫ة‬‫ﻼ‬ َ ‫ﺻ‬ ِ‫ﻲﻓ‬ ‫ﻼ‬ َ ‫اﻟﻤ‬ ُ ‫ﻮل‬ ُ ‫ﻘ‬ َ ‫ﻳ‬َ‫و‬ ُ ‫ﺔ‬ َ ‫ِﻜ‬‫ﺋ‬: ُ ‫ـﻪ‬ َ ‫ﻟ‬ ْ‫ﺮ‬ِ‫ﻔ‬ ْ ‫اﻏ‬ َّ‫ـﻢ‬ ُ ‫ﻬ‬ َّ ‫اﻟﻠ‬‫اﻢﻬﻠﻟ‬ َّ َ ‫ﺣ‬ ُ ‫ﻪ‬ ْ ‫ـﻤ‬ َ ‫ﺣ‬ ْ ‫ار‬ َ ‫ث‬ِ‫ﺪ‬ ْ ‫ـﺤ‬ ُ ‫ﻳ‬ ْ‫و‬ َ ‫أ‬ َ ‫ف‬ِ َ‫ﺮﺼ‬ ْ ‫ﻨ‬ َ ‫ﻓ‬«)‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫ﻣﺴﻠﻢ‬٦٤٩( ความวา “ถือวาบาวคนหนึ่งยังคงละหมาดอยู ตราบใดที่เขายัง อยูในที่ละหมาดของเขาเพื่อคอยที่จะละหมาดเวลาตอไป และมลาอิกะฮฺจะกลาววา โออัลลอฮฺ ไดโปรดใหอภัยแกเขา โออัลลอฮฺไดโปรดใหความปรานีตอเขา จนกวาเขาจะลุกขึ้น ไปหรือจนกวาเขาจะมีหะดัษ(สิ้นน้ําละหมาด)” (มุสลิม : 649) กอนอะซานมัฆริบ (กอนเขาเวลาละหมาด) 20 นาที ใหกลับบานแลวอาบน้ํา ละหมาด ตามดวยการอานอัซการฺยามเย็น และใหมั่นอิสติฆฟารฺ และตัสบีหฺตออัลลอฮฺใหมากๆ ดังที่อัลลอฮฺ ตะอาลา ไดตรัสวา
  • 13. 13    ﴿ِ‫وع‬ ُ ‫ل‬ ُ‫ط‬ َ ‫ل‬ۡ‫ب‬ َ ‫ق‬ َ ‫ك‬ِ ّ‫ب‬َ‫ر‬ ِ‫د‬ۡ‫م‬َ ِ‫ب‬ ۡ‫ح‬ِ ّ‫ب‬َ‫س‬َ‫و‬ َ ‫ون‬ ُ ‫ول‬ ُ ‫ق‬َ‫ي‬ ‫ا‬َ‫م‬ ٰ َ َ ۡ ِ‫ب‬ ۡ‫ٱص‬ َ ‫ف‬ ِ‫وب‬ُ‫ر‬ ُ ‫غ‬ ۡ ‫ٱل‬ َ ‫ل‬ۡ‫ب‬ َ ‫ق‬َ‫و‬ ِ‫س‬ۡ‫م‬ َّ ‫ٱلش‬٣٩﴾]‫ق‬:٣٩[  ความวา “ดังนั้น เจาจงอดทนตอสิ่งที่พวกเขากลาวถึง และจง แซซองดวยการสรรเสริญพระเจาของเจากอนการขึ้นของดวง อาทิตยและกอนการตก(ของมัน)” (สูเราะฮฺก็อฟ 39) และสําหรับผูที่ถือศีลอดนั้นการดุอาอของเขาในขณะที่เขา ไดละศีลอดนั้นยอมไมถูกผลักไสอยางแนนอน ดังนั้นจงฉกฉวย ชวงเวลาที่มีคานี้เถิด อยาลืมกอนถึงเวลามัฆริบเล็กนอย ใหมีสวนรวมในการ เลี้ยงอาหารละศีลอดของพี่นอง(ดวยการเลี้ยงอาหารหรือเครื่องดื่ม แกพวกเขา เชนอินทผลัม -ผูแปล) ซึ่งผูใดก็ตามที่เลี้ยงอาหารแกผูที่ ถือศีลอด เขาจะไดรับผลบุญเทากับผลบุญของผูถือศีลอด(ที่เขาให อาหาร) (โดยที่ผลบุญนั้น ไมไดลดนอยลงไปจากผูถือศีลอดนั้นแต อยางใด-ผูแปล) และพยายามใหมี(สวนรวม)ในการเลี้ยงละศีลอด (ของพี่นอง)ในแตละวันดวย สําหรับสตรีนั้นในชวงเวลาเย็น เธอก็จะไดรับผลบุญในสวน ของการจัดเตรียมอาหาร โดยแนนอนในทุกๆ หยาดเหงื่อยอมมีผล
  • 14. 14    บุญ และเธอยังสามารถใชชวงเวลานี้ในการเตรียมอาหารไปพรอมๆ กับการอิสติฆฟารฺ การสรรเสริญตอัลลอฮฺ การเศาะละวาตตอทานน บี ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม และยังสามารถรับฟงเทปซิกิรฺ ตางๆ ซึ่งมันก็เปนการทําอิบาดะฮฺนั้นเอง หรืออาจจะฟงอัลกุรอานก็ ได ละหมาดมัฆริบ เมื่ออะซานแลว สงเสริมใหรีบเรงในการละศีลอด(นั้นคือ เมื่อถึงเวลาละศีลอดแลว ก็ใหรีบละศีลอดโดยทันที) ดังที่ทานเราะสู ลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาววา » َ ‫ﻻ‬ ُ ‫ال‬َ‫ﺰ‬ َ ‫ﻳ‬ ُ ‫ﺎس‬َّ‫اﺠ‬ٍ ْ ‫ﺮﻴ‬ َ ِ‫ﺨﺑ‬‫ﺎ‬ َ ‫ﻣ‬‫ﻮا‬ ُ ‫ﻠ‬ َّ ‫ﺠ‬ َ ‫ﻋ‬َ‫ﺮ‬ ْ ‫ﻄ‬ِ‫ﻔ‬‫اﻟ‬« )‫اﻛﺨﺎري‬ ‫ﺑﺮﻗﻢ‬١٩٥٧،‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫وﻣﺴﻠﻢ‬١٠٩٨( ความวา “มนุษยยังคงไดรับความดีงาม ตราบใดที่เขารีบเรงใน การละศีลอด (เมื่อถึงเวลา)” (บันทึกโดยอัลบุคอรีย 1957 และ มุสลิม 1098 ) และใหอานดุอาอวา »َ‫ﺐ‬ َ ‫ﻫ‬ َ ‫ذ‬ ُ ‫ﺄ‬ َ ‫ﻤ‬ َّ ‫اﻟﻈ‬ِ‫ﺖ‬ َّ ‫ﻠ‬ َ ‫ﺘ‬ ْ ‫اﻧ‬َ‫و‬، ُ ‫وق‬ُ‫ﺮ‬ ُ ‫ﻌ‬ ْ ‫اﻟ‬ َ ‫ﺖ‬ َ ‫ﺒ‬ َ ‫ﻋ‬َ‫و‬ُ‫ﺮ‬ ْ ‫ﺟ‬ َ ْ ‫اﻷ‬ ْ ‫ن‬ِ‫إ‬َ‫ﺎء‬ َ ‫ﺷ‬ ُ َّ ‫اﺑ‬«)‫أﺑﻮ‬ ‫داود‬‫ﺑ‬‫ﺮﻗﻢ‬٢٠١٠،‫ﺻﺤﻴﺢ‬‫ﺳﻦﻨ‬‫أ‬‫داود‬‫رﻗﻢ‬٢٠٦٦:‫ﺣﺴﻦ‬(
  • 15. 15    “ซะฮะบัซ เซาะมะอุ, วับตัลละติล อุรูก, วะษะบะตัล อัจญรุ, อิน ชาอัลลอฮฺ ความวา “ความกระหายไดดับลงแลว เสนโลหิตก็เปยกชื้น และผลบุญก็ไดมั่นคงแลว อินชาอัลลอฮฺ (หากอัลลอฮฺทรง ประสงค)” (รายงานโดย อบู ดาวูด หมายเลข 2010 ดู เศาะฮีหฺ สุนัน อบี ดาวูด หมายเลข 2066 เปนหะดีษหะสัน)” ใหทําตามแบบฉบับของทานนบี ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ในการละศีลอด ดวยการละศีลอดดวยกับผลอินทผลัมสด (รุฏ็อบ) หากไมมีก็ใหละดวยอินทผลัมแหง(ตะมัรฺ) หากไมมีก็ใหละ ศีลอดวยกับน้ํา และใหจัดเตรียมสํารับอาหารเพียงนอยนิดเทานั้น เพราะมันจะชวยใหทานละหมาดตั้งแตเนิ่นๆ (ซึ่งผลบุญของการกิน และพักผอนนั้นก็จะถูกคํานวน เนื่องดวยทานมีความยําเกรง ดวย เหตุนั้นการเคารพเชื่อฟงนั้นคือการอิบาดะฮฺและเปนการเขา ใกลอัลลอฮฺ) ใหกลาวตามการอะซาน ใหขอดุอาอระหวางการอะซานและอิกอมะฮฺ ดังที่ไดกลาว มาแลวขางตน
  • 16. 16    ใหละหมาดสุนัตเราะวาติบหลังจากละหมาดมัฆริบสอง ร็อกอัต ละหมาดอิชาอ เดินทางไปละหมาดอิชาอตั้งแตเนิ่นๆ กอนถึงเวลาสัก ประมาณ 20 นาที แลวใชชวงเวลานั้นในการอานอัลกุรอาน สนับสนุนใหอานสวนของอัลกุรอานที่จะอานในละหมาดตะรอวีหฺ และใหทวนบรรดาอายะฮฺที่มีอิทธิผลตอความรูสึก (อยางนี้แหละ ที่ จะชวยใหทานมีความคุชูอฺหรือมีสมาธิในการละหมาดตะรอวีหฺ) ใหกลาวตามอะซาน ใหขอดุอาอระหวางการอะซานและอิกอมะฮฺ ละหมาดฟรฎอิชาอ ซึ่งมีบันทึกในเศาะฮีหฺมุสลิม จากการ รายงานของทานอุษมาน อิบนุอัฟฟาน เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ ไดเลาวา » ْ ‫ﻦ‬ َ ‫ﻣ‬ َّ ‫ﻰﻠ‬ َ ‫ﺻ‬َ‫ﺎء‬ َ ‫ﺸ‬ِ‫ﻌ‬ ْ ‫اﻟ‬ِ‫ﻲﻓ‬ٍ‫ﺔ‬ َ ‫ﺎﻋ‬ َ َ ‫ﻤﺟ‬ َ ‫ﻜ‬ َ ‫ﻜ‬ َ ‫ﻓ‬‫ﺎ‬ َ ‫ﻤ‬ َّ ‫ﻏ‬ َ ‫ﺎم‬ َ ‫ﻗ‬ َ ‫ﻒ‬ ْ ‫ِﺼ‬‫ﻧ‬،ِ‫ﻞ‬ ْ ‫ﻴ‬ َّ ‫اﻟﻠ‬ ْ ‫ﻦ‬ َ ‫ﻣ‬َ‫و‬ َّ ‫ﻰﻠ‬ َ ‫ﺻ‬ َ ‫ﺢ‬ ْ ‫ﺒ‬ ُّ ‫اﻟﺼ‬ِ‫ﻲﻓ‬ٍ‫ﺔ‬ َ ‫ﺎﻋ‬ َ َ ‫ﻤﺟ‬‫ﺎ‬ َ ‫ﻤ‬ َّ ‫ﻏ‬ َ ‫ﻜ‬ َ ‫ﻜ‬ َ ‫ﻓ‬ َّ ‫ﻰﻠ‬ َ ‫ﺻ‬ َ ‫ﻞ‬ ْ ‫ﻴ‬ َّ ‫اﻟﻠ‬ ُ ‫ﻪ‬ َّ ُ ‫ﻠﻛ‬«)‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫ﻣﺴﻠﻢ‬ ٦٥٦(
  • 17. 17    ความวา “ผูใดละหมาอิชาอเปนญะมาอะฮฺเสมือนเขาได ละหมาดครึ่งคืน และผูใดละหมาดศุบหฺเปนญะมาอะฮฺ เสมือน เขาไดละหมาดตลอดทั้งคืน” (บันทึกโดยมุสลิม : 656) อานอัซการ(บทรําลึกตางๆ)หลังจากไดใหสลามของการ ละหมาด ใหละหมาดสุนัตเราะวาติบหลังละหมาดอิชาอ 2 ร็อกอัต ใหละหมาดตะรอวีหฺพรอมกับอิมามจนกระทั่งเสร็จสิ้นไป พรอมกัน เนื่องจากมีหะดีษของทานนบี ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาววา » ْ ‫ﻦ‬ َ ‫ﻣ‬ َ ‫ﺎم‬ َ ‫ﻗ‬ َ ‫ﻊ‬ َ ‫ﻣ‬ِ‫ﺎم‬ َ ‫ﻣ‬ِ ْ ‫اﻹ‬ َّ َ ‫ﺣ‬، َ ‫ف‬ِ َ‫ﺮﺼ‬ ْ ‫ﻨ‬ َ ‫ﻓ‬َ‫ﺐ‬ َ ‫ﺘ‬ َ ‫ﻛ‬ ُ َّ ‫اﺑ‬ُ ََ ‫ﺎم‬ َ ‫ِﻴ‬‫ﻗ‬ٍ‫ﺔ‬ َ ‫ﻠ‬ْ َ « )‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫اﻟﻨﺴﺎ‬١٦٠٥،‫اﻟﺮﺘاوﻳﺢ‬ ‫ﺻﻼة‬ ‫ﻲﻓ‬ ‫اﻷﻛﺎ‬ ‫وﺻﺤﺤﻪ‬:٦( ความวา “ผูใดก็ตามที่ละหมาดพรอมกับอิมาม(ละหมาดตะรอ วีหฺ) จนอิมามเสร็จสิ้นจากการละหมาด อัลลอฮฺจะบันทึกผล บุญแกเขาเสมือนเขาไดละหมาดทั้งคืน” (บันทึกโดยอัน-นะสา อีย : 1605 ชัยคฺอัล-อัลบานีย มีทัศนะวาเศาะฮีหฺ ในหนังสือ เศาะ ลาฮฺ อัต-ตะรอวีหฺ : 6)
  • 18. 18    ดังนั้นจงพยายามรักษาผลบุญเสมือนไดละหมาดทั้งคืน ดวยการปฏิบัติตามหะดีษนี้เถิด โดยที่ทานไมควรเลิกละหมาดกอนอิ มาม หลังละหมาดตะรอวีหฺ ใหกลับไปที่บานโดยทันที เพื่อรับประทานอาหาร(อิฟฎอรฺ) ใหสมบูรณ และเพื่อเปนการเจริญรอยตามแบบอยางของทานนบี ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม แตก็ใหรับประทานอาหารอยาง พอประมาณ ซึ่งทานนบี ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาววา »‫ﺎ‬ َ ‫ﻣ‬ َ َ ‫ﻸ‬ َ ‫ﻣ‬ُ‫ﻦ‬ ْ ‫اﻧ‬ َ ‫م‬ َ ‫آد‬ً‫ء‬ َ ‫ﺨ‬ِ‫و‬‫ا‬ًّ َ ‫ﺮﺷ‬ ْ ‫ِﻦ‬‫ﻣ‬، ٍ‫ﻦ‬ ْ ‫ﻄ‬ َ ‫ﻧ‬ُ‫ﺐ‬ ْ ‫ﺴ‬ َ ‫ﺣ‬ِ‫ﻦ‬ ْ ‫اﺑ‬ َ ‫م‬ َ ‫آد‬ ٌ ‫ت‬ َ ‫ﻼ‬ ُ ‫ﻛ‬ ُ ‫أ‬ َ‫ﻦ‬ ْ ‫ﻤ‬ِ‫ﻘ‬ ُ ‫ﻳ‬، ُ ‫ﻪ‬ َ ‫ﺒ‬ ْ ‫ﻠ‬ ُ ‫ﺻ‬ ْ ‫ن‬ِ‫ﺈ‬ َ ‫ﻓ‬ َ ‫ن‬ َ ‫ﺎﻛ‬ َ ‫ﻻ‬، َ ‫ﺔ‬ َ ‫ﺎﻟ‬ َ َ ‫ﺤﻣ‬ ُ ‫ﺚ‬ ُ ‫ﻠ‬ ُ ‫ﺜ‬ َ ‫ﻓ‬، ٍ‫ﺎم‬ َ ‫ﻌ‬ َ ‫ﻃ‬ ُ ‫ﺚ‬ ُ ‫ﻠ‬ ُ ‫ﺛ‬َ‫و‬، ٍ‫اب‬َ َ ‫ﺮﺷ‬ ٌ ‫ﺚ‬ ُ ‫ﻠ‬ ُ ‫ﺛ‬َ‫و‬ِ‫ﻪ‬ِ‫ﺴ‬ ْ ‫ﻔ‬َ ِ‫ﺠ‬«)‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫أﻤﺣﺪ‬٤١٣٢،‫ﻲﻓ‬ ‫اﻷﻛﺎ‬ ‫وﺻﺤﺤﻪ‬ ‫اﺠﻟﺎﻣﻊ‬ ‫ﺻﺤﻴﺢ‬٥٦٧٤( ความวา “ไมมีภาชนะใดที่มนุษยใสอาหารจนเต็มจะเลวรายไป กวาทองของมนุษยเอง เพียงพอเเลวโอมนุษยเอย เเคสอง สามคําที่จะทําใหกระดูกสันหลังของทานเเข็งเเรง ถาหาก จําเปนตองกินก็ขอใหแบงสามสวน หนึ่งสวนสามสําหรับ อาหารของเขา หนึ่งสวนสามสําหรับเครื่องดื่มของเขา และ
  • 19. 19    หนึ่งสวนสามสําหรับลมหายใจของเขา” (บันทึกโดยอะหฺมัด : 4132 ชัยคฺอัล-อัลบานียมีทัศนะวาเศาะฮีหฺ ในหนังสือ เศาะฮีหฺ อัล- ญามิอฺ : 5674) ใหใชเวลาที่เหลือดวยการทําอิบาดะฮฺตางๆ เชน สัมพันธ เครือญาติ, อานหนังสือตัฟสีรอัลกุรอาน, อานหนังสือชีวประวัติของ ทานนบี, ทบทวนความรูตางๆ, การดะอฺวะฮฺไปสูอัลลอฮฺ, เยี่ยมเยียน คนเจ็บปวย, ใหความชวยเหลือผูที่รองขอความชวยเหลือ, นั่งรวมใน วงที่มีการรําลึกถึงอัลลอฮฺ และอื่นๆ อีกมากมาย ใหรําลึกถึงอัลลอฮฺในทุกสภาพการณของทาน ไมวาจะเปน ชวงที่ทานเดินทางไปหรือกลับจากมัสญิด และใหพยายามรักษาอัซ การฺตางๆ ในทุกๆ สภาพการณและความเหมาะสม เชน ชวงที่ออก หรือเขาบาน ตอนสวมเสื้อผา หรืออัซการกอนนอน และอื่นอีก มากมาย (ใหไปดูคูมือรวมบทดุอาอสําหรับมุสลิม “หิศนุลมุสลิม”) นอน ใหเขานอนเวลา 23.00 น. โดยประมาณ และพยายามทํา ใหการนอนนั้นเปนไปเพื่ออัลลอฮฺ เพื่อจะไดเพิ่มการฏออะฮฺตอ
  • 20. 20    พระองค และเพื่อเปนการเปลี่ยนจากการนอนที่เปนปรกติวิสัยเปน การนอนที่เปนอิบาดะฮฺ และทําใหไดรับผลบุญ ตะฮัจุด ใหตื่นในชวงสุดทายของค่ําคืน ซึ่งเปนชวงเวลาของการดุ อาอและการทําความดีทั้งหลายนั้นจะเปนที่ตอบรับ สะหูรฺ มีรายงานจากทานอิบนุ อับบาส เราะฎิยัลลอฮุอันฮุมา วา َّ ‫ن‬ َ ‫أ‬ َ ‫ﻮل‬ ُ ‫ﺳ‬َ‫ر‬ِ‫ﷲ‬‫ا‬ َّ ‫ﻰﻠ‬ َ ‫ﺻ‬ ُ َّ ‫اﺑ‬‫ﻴﻪ‬ َ ‫ﻠ‬ َ ‫ﻋ‬‫ﻢ‬ َّ ‫ﻠ‬ َ ‫ﺳ‬َ‫و‬ َ ‫ﺚ‬ َ ‫ﻌ‬ َ ‫ﻧ‬‫ﺎ‬ َ ‫ﺑ‬ َ ‫أ‬ َ ‫ﻮ‬ ُ ‫ﻣ‬ِ‫ﻲﻓ‬ٍ‫ﺔ‬ َّ ‫ﻳ‬ِ َ‫ﺮﺳ‬ ِ‫ﻲﻓ‬ِ‫ﺮ‬ ْ ‫ﺤ‬َ ْ ‫اﻛ‬،‫ﺎ‬ َ ‫ﻨ‬ ْ ‫ﻴ‬ َ ‫ﺒ‬ َ ‫ﻓ‬ ْ ‫ﻢ‬ ُ ‫ﻫ‬ َ ‫ﻟِﻚ‬ َ ‫ﺬ‬ َ ‫ﻛ‬ ْ ‫ﺪ‬ َ ‫ﻗ‬‫ﻮا‬ ُ ‫ﻌ‬ َ ‫ﻓ‬َ‫ر‬ َ ‫اع‬َ ِّ ‫اﻟﺮﺸ‬ِ‫ﻲﻓ‬ٍ‫ﺔ‬ َ ‫ﻠ‬ْ َ ٍ‫ﺔ‬ َ ‫ﻤ‬ِ‫ﻠ‬ ْ ‫ﻈ‬ ُ ‫ﻣ‬، ‫ا‬ َ ‫ذ‬ِ‫إ‬ ٌ ‫ِﻒ‬‫ﺗ‬‫ﺎ‬ َ ‫ﻫ‬ ْ ‫ِﻦ‬‫ﻣ‬ِ‫ِﻬ‬‫ﻗ‬ ْ ‫ﻮ‬ َ ‫ﻓ‬ ْ ‫ﻢ‬ ُ ‫ﻒ‬ِ‫ﺘ‬ ْ ‫ﻬ‬ َ ‫ﻓ‬ِ‫ﻞ‬ ْ ‫ﻫ‬ َ ‫ﺄ‬ِ‫ﺑ‬ِ‫ﺔ‬ َ ‫ﻴﻨ‬ِ‫ﻔ‬ َّ ‫اﻟﺴ‬:‫ﻮا‬ ُ ‫ِﻔ‬‫ﻗ‬ ْ ‫ﻢ‬ ُ ‫ﻛ‬ُ ِ‫ﺮﺒ‬ ْ ‫ﺧ‬ ُ ‫أ‬ ٍ‫ء‬‫ﺎ‬ َ ‫ﻀ‬ َ ‫ﻘ‬ِ‫ﺑ‬ُ‫ﺎه‬ َ ‫ﻀ‬ َ ‫ﻗ‬ ُ َّ ‫اﺑ‬ َ َ ‫ﺒﻟ‬ِ‫ﻪ‬ِ‫ﺴ‬ ْ ‫ﻔ‬ َ ‫ﻏ‬، َ ‫ﺎل‬ َ ‫ﻘ‬ َ ‫ﻓ‬‫ﻮ‬ ُ ‫ﺑ‬ َ ‫أ‬ َ ‫ﻮ‬ ُ ‫ﻣ‬:ْ ِ‫ﺮﺒ‬ ْ ‫ﺧ‬ َ ‫أ‬ ْ ‫ن‬ِ‫إ‬ َ ‫ﺖ‬ ْ ‫ﻨ‬ ُ ‫ﻛ‬ ،‫ا‬ً ِ‫ﺮﺒ‬ ْ ُ ‫ﺨﻣ‬ َ ‫ﺎل‬ َ ‫ﻗ‬: َّ ‫ن‬ِ‫إ‬ َ َّ ‫اﺑ‬ َ ‫ك‬َ‫ﺎر‬ َ ‫ﺒ‬ َ ‫ﻳ‬ َ ‫ﺎﻰﻟ‬ َ ‫ﻌ‬ َ ‫ﻳ‬َ‫و‬ َ َ ‫ﻗ‬ َ َ ‫ﺒﻟ‬ِ‫ﻪ‬ِ‫ﺴ‬ ْ ‫ﻔ‬ َ ‫ﻏ‬ ُ ‫ﻪ‬ َّ ‫ﻧ‬ َ ‫ﻛ‬ ْ ‫ﻦ‬ َ ‫ﻣ‬ َ ‫ﺶ‬ َ ‫ﻄ‬ ْ ‫ﻗ‬ َ ‫أ‬ ُ ‫ﻪ‬ َ ‫ﺴ‬ ْ ‫ﻔ‬ َ ‫ﻏ‬ُ َ ِ‫ﻲﻓ‬ ْ ‫ﻮ‬ َ ‫ﻳ‬ٍ‫م‬ٍ‫ِﻒ‬‫ﺋ‬‫ﺎ‬ َ ‫ﺻ‬ُ‫ﺎه‬ َ ‫ﻘ‬ َ ‫ﺳ‬ ُ َّ ‫اﺑ‬ َ ‫م‬ ْ ‫ﻮ‬ َ ‫ﻳ‬ِ‫ﺶ‬ َ ‫ﻄ‬ َ ‫ﻌ‬ ْ ‫اﻟ‬. )‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫اﻟﺰﺒار‬٤٩٧٤،‫اﻟﺮﺘﻏﻴﺐ‬ ‫ﺿﻌﻴﻒ‬ ‫ﻲﻓ‬ ‫اﻷﻛﺎ‬ ‫وﺿﻌﻔﻪ‬ ‫واﻟﺮﺘﻫﻴﺐ‬٥٧٧(،‫رواﻳﺔ‬ ‫و‬»‫ﻳﻮم‬ ‫ﻲﻓ‬ ‫ﷲ‬ ‫ﻧﻔﺴﻪ‬ ‫ﻋﻄﺶ‬ ‫ﻣﻦ‬ ‫أن‬
  • 21. 21    ‫اﻟﻘﻴﺎﻣﺔ‬ ‫ﻳﻮم‬ ‫ﻳﺮوﻳﻪ‬ ‫أن‬ ‫اﷲ‬ ‫ﺒﻟ‬ ‫ﺣﻘﺎ‬ ‫ﺎﻛن‬ ‫ﺣﺎر‬«،‫اﻤﻟﻨﺬري‬ ‫ﻗﺎل‬: ‫ﻲﻓ‬ ‫اﻷﻛﺎ‬ ‫وﺣﺴﻨﻪ‬ ،‫اﷲ‬ ‫ﺷﺎء‬ ‫إن‬ ‫ﺣﺴﻦ‬ ‫ﺑﺈﺳﻨﺎد‬ ‫اﻟﺰﺒار‬ ‫رواه‬ ‫اﻟﺮﺘﻏﻴﺐ‬ ‫ﺻﺤﻴﺢ‬)١٠/٤١٢( ความวา “ทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดสงทานอบีมูซาไปยังกองเรือในทะเล ซึ่งระหวางที่พวกเรา อยูในนั้น พวกเขาก็ไดแลนเรือในค่ําคืนอันมืดมิด ครั้นแลวก็มี ผูประกาศที่อยูเหนือพวกเขาไดปาวประกาศแกผูคนที่อยูใน เรือวา พวกทานจงหยุดเถิด ฉันจะแจงขาวแกพวกทานใน กิจการที่อัลลอฮฺทรงกําหนดแกพระองคเอง ดังนั้นทานอบูมู ซาจึงกลาววา ทานจงแจงขาวเถิด ถาทานเปนผูแจงขาวจริงๆ เขาจึงกลาววา แทจริงอัลลอฮฺ ตะบาเราะกะ วะตะอาลา ได กําหนดแกพระองคทานเองวา ผูใดก็ตามที่มีปรารถนาความ กระหาย(ถือศีลอด)ในชวงเวลาที่รอนจัด อัลลอฮฺก็จะใหเขาได ดื่มน้ําในวันที่มีความกระหาย(ในวันกิยามะฮฺ) ” (บันทึกโดยมุ สนัดอัล-บัซซาร 4974 ชัยคฺอัล-อัลบานียมีทัศนะวา เฎาะอีฟ ใน หนังสือ เฎาะอีฟ อัต-ตัรฆีบ วัต-ตัรฮีบ 577 ) ในสายรายงานอื่นได กลาววา “ผูใดที่ทําใหตัวเองมีความกระหายเพื่ออัลลอฮฺในวันที่รอน จัด เปนหนาที่ของอัลลอฮฺที่จะดูแลเขาในวันกิยามะฮฺ” ทานอัล-มุนซิ รีย มีทัศนะวาหะสัน และมีบันทึกในอัล-บัซซารฺดวยสายรายงานที่
  • 22. 22    หะสัน อินชาอัลลอฮฺ ซึ่งชัยคฺอัล-อัลบานียมีทัศนะวาหะสัน ใน หนังสือเศาะฮีหฺ อัต-ตัรฆีบ วัต-ตัรฮีบ 10/412 อยาลืม หางไกลจากสิ่งตองหามและไรสาระทั้งหลาย และ ระมัดระวังจากทุกๆ สิ่งที่ไมใหประโยชนใดๆ ในตัวมันเลย และให พยายามรักษาการถือศีลอด และการกิยาม(ละหมาดตะรอวีหฺ)ใน เราะมะฎอน และใหมีความขะมักเขมนตลอดทั้งเดือน โดยเฉพาะ อยางยิ่งชวงสิบคืนสุดทายของเดือน ทั้งนี้ก็เพื่อพบกับความประเสริฐ ของค่ําคืนลัยละตุลก็อดรฺ ขอใหอัลลอฮฺทรงใหเราและทาน เปนผูที่ถือศีลอด และยืน ละหมาดในยามค่ําคืน ดวยกับการไดรับความพึงพอพระทัยจาก พระองคแกเราทั้งหลายดวยเถิด   นี่คือ เปาประสงคบางประการที่เกี่ยวของกับการถือศีลอด พรอมกับหลักฐานของทุกเปาประสงค  เปาประสงคตางๆ ที่เกี่ยวของกับเดือนเรามะฎอน การปฏิบัติในหลักประการพื้นฐานตางๆของอิสลาม
  • 23. 23    ทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาว วา »َ ِ‫ﻲﻨ‬ ُ ‫ﺑ‬ ُ ‫م‬ َ ‫ﻼ‬ ْ ‫ﺳ‬ِ ْ ‫اﻹ‬ َ َ ‫ﺒﻟ‬، ٍ‫ﺲ‬ ْ َ ‫ﻤﺧ‬ِ‫ة‬ َ ‫ﺎد‬ َ ‫ﻬ‬ َ ‫ﺷ‬ ْ ‫ن‬ َ ‫أ‬ َ ‫ﻻ‬َ َ ِ‫إ‬ َّ ‫ﻻ‬ِ‫إ‬ُ‫اﷲ‬ َّ ‫ن‬ َ ‫أ‬َ‫و‬‫ا‬ ً ‫ﺪ‬ َّ ‫ﻤ‬ َ ُ ‫ﺤﻣ‬ ُ ‫ﻮل‬ ُ ‫ﺳ‬َ‫ر‬،ِ‫ﷲ‬‫ا‬ِ‫ﺎم‬ َ ‫ﻗ‬ِ‫إ‬َ‫و‬،ِ‫ة‬ َ ‫ﻼ‬ َّ ‫اﻟﺼ‬ِ‫ء‬‫ﺎ‬ َ ‫ﻳﺘ‬ِ‫إ‬َ‫و‬،ِ‫ة‬ َ ‫ﺎﻛ‬َّ‫اﻟﺰ‬، ِّ ‫ﺞ‬َ ْ ‫اﺤﻟ‬َ‫و‬ِ‫م‬ ْ ‫ﻮ‬ َ ‫ﺻ‬َ‫و‬ َ ‫ﺎن‬ َ ‫ﻀ‬ َ ‫ﻣ‬َ‫ر‬«)‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫اﻛﺨﺎري‬٨،‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫وﻣﺴﻠﻢ‬١٢٢( ความวา “ศาสนาอิสลามนั้นถูกสถาปนาบนหลักหาประการ นั่นคือ การปฏิญาณวาไมมีพระเจาอื่นใดนอกจากอัลลอฮฺและ มุหัมมัดนั้นเปนศาสนทูตของอัลลอฮฺ การดํารงไวซึ่งการ ละหมาด การจายซะกาต การทําหัจญ และการถือศีลอดใน เดือนเราะมะฎอน” (บันทึกโดยอัล-บุคอรีย : 8, และมุสลิม : 122) การวอนขอเพื่อเขาสูสวนสวรรคอันสถาพร ทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาว วา »‫ﻮا‬ ُ ‫ﻘ‬ َّ ‫اﻳ‬‫ا‬ َ َّ ‫ﺑ‬، ْ ‫ﻢ‬ ُ ‫ﻜ‬ َّ ‫ﺑ‬َ‫ر‬‫ﻮا‬ ُّ ‫ﻠ‬ َ ‫ﺻ‬َ‫و‬، ْ ‫ﻢ‬ ُ ‫ﻜ‬ َ ‫ﺴ‬ ْ َ ‫ﻤﺧ‬‫ﻮا‬ ُ ‫ﻮﻣ‬ ُ ‫ﺻ‬َ‫و‬، ْ ‫ﻢ‬ ُ ‫ﻛ‬َ‫ﺮ‬ ْ ‫ﻬ‬ َ ‫ﺷ‬‫وا‬ ُّ ‫د‬ َ ‫أ‬َ‫و‬ َ ‫ة‬ َ ‫ﺎﻛ‬ َ ‫ز‬، ْ ‫ﻢ‬ ُ ‫ِﻜ‬‫ﻟ‬‫ا‬َ‫ﻮ‬ ْ ‫ﻣ‬ َ ‫أ‬‫ﻮا‬ ُ ‫ِﻴﻌ‬‫ﻃ‬ َ ‫أ‬َ‫و‬‫ا‬ َ ‫ذ‬ ْ ‫ﻢ‬ ُ ‫ﻛ‬ِ‫ﺮ‬ ْ ‫ﻣ‬ َ ‫أ‬‫ﻮا‬ ُ ‫ﻠ‬ ُ ‫ﺧ‬ ْ ‫ﺪ‬ َ ‫ﺗ‬ َ ‫ﺔ‬ َّ ‫ﻨ‬ َ ‫ﺟ‬ ْ ‫ﻢ‬ ُ ‫ﻜ‬ ِّ ‫ﺑ‬َ‫ر‬« )‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫اﻟﺮﺘﻣﺬي‬٦١٦،‫اﻷﻛﺎ‬ ‫وﺻﺤﺤﻪ‬‫اﻷﺣﺎدﻳﺚ‬ ‫ﺳﻠﺴﻠﺔ‬ ‫ﻲﻓ‬ ‫اﻟﺼﺤﻴﺤﺔ‬٨٦٧(
  • 24. 24    ความวา “พวกทานจงยําเกรงพระเจาของพวกทาน, จง ละหมาดหาเวลาของพวกทาน, จงถือศีลอดเดือน(เราะ มะฎอน)ของพวกทาน, จงจายซะกาตทรัพยสินของพวกทาน และจงเชื่อฟงบรรดาผูนําของพวกทาน พวกทานก็จะไดเขา สวรรคของพระเจาของพวกทาน” (บันทึกโดยอัต-ติรมิซีย : 616 ชัยคฺอัล-อัลบานีย มีทัศนะวาเศาะฮีหฺ ในหนังสือสัลสะละฮฺ อัล-อะ หาดีษ อัศ-เศาะฮีหะฮฺ : 867) การวอนขอเพื่อไดรับการอภัยโทษในความผิดบาปทั้งหลาย ทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาว วา » ْ ‫ِﻦ‬‫ﻣ‬ َ ‫م‬ َّ ‫ﺪ‬ َ ‫ﻘ‬ َ ‫ﻳ‬ ‫ﺎ‬ َ ‫ﻣ‬ ُ ‫ـﻪ‬ َ ‫ﻟ‬ َ‫ﺮ‬ِ‫ﻔ‬ ُ ‫ﻏ‬ ً ‫ﺎﺑﺎ‬ َ ‫ﺴ‬ِ‫ﺘ‬ ْ ‫اﺣ‬َ‫و‬ ً ‫ﺎﻧﺎ‬ َ ‫إﻳﻤ‬ َ ‫ﺎن‬ َ ‫ﻀ‬ َ ‫ﻣ‬َ‫ر‬ ‫ﺎم‬ َ ‫ﺻ‬ ْ ‫ﻦ‬ َ ‫ﻣ‬ ِ‫ﻪ‬‫ـ‬ِ‫ﺒ‬ ْ ‫ﻧ‬ َ ‫ذ‬«)‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫اﻛﺨﺎري‬٣٨،‫ﺑ‬ ‫وﻣﺴﻠﻢ‬‫ﺮﻗﻢ‬٧٦٠( ความวา “ผูใดที่ถือศีลอดในเดือนเราะมะฎอนดวยความ ศรัทธามั่นและหวังในผลบุญ เขาผูนั้นจะไดรับการอภัยโทษ บาปที่ผานมา” (บันทึกโดยอัล-บุคอรีย : 38 และมุสลิม : 760) การวอนขอเพื่อใหรอดพนจากไฟนรก
  • 25. 25    ทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาว วา »ِ ِ‫ﺑ‬َ‫و‬ُ‫ﺎء‬ َ ‫ﻘ‬ َ ‫ﺘ‬ ُ ‫ﻗ‬َ‫ِﻦ‬‫ﻣ‬،ِ‫ﺎر‬َّ‫اﺠ‬ َ ‫ﻟﻚ‬ َ ‫ذ‬َ‫و‬ ُّ ُ ‫ﻞﻛ‬ٍ‫ﺔ‬ َ ‫ﻠ‬ْ َ «.)‫اﻟﺮﺘﻣﺬي‬‫ﺑﺮﻗﻢ‬٦١٨، ‫وﺣﺴﻨﻪ‬‫اﻷﻛﺎ‬‫ﻲﻓ‬‫ﺻﺤﻴﺢ‬‫اﺠﻟﺎﻣﻊ‬‫اﻟﺼﻐﺮﻴ‬٧٥٩( ความวา “และสําหรับอัลลอฮฺนั้นมีผูที่พระองคจะทรง ปลดปลอยพวกเขาจากนรก สิ่งเหลานั้น(การเรียกรองและ การปลดปลอย) จะเกิดขึ้นทุกค่ําคืน(ของเดือนเราะมะฎอน)” (บันทึกโดย อัต-ติรฺมิซีย : 618 ชัยคฺอัล-อัลบานีย มีทัศนะวาหะสัน ในหนังสือเศาะฮีหฺ อัล-ญามิอฺ 759) เปาประสงคของการถือศีลอดทั่วไป (ซึ่งเกี่ยวของกับ เดือนเราะมะฎอนเชนกัน) เปาประสงคตางๆเพื่อไดรับในโลกอาคีเราะฮฺ การวอนขอความเบิกบานในโลกอาคีเราะฮฺ ทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาว วา
  • 26. 26    »ِ‫ِﻢ‬‫ﺋ‬‫ﺎ‬ َّ ‫ﻟِﻠﺼ‬ِ‫ﺎن‬ َ ‫ﺘ‬ َ ‫ﺣ‬ْ‫ﺮ‬ َ ‫ﻓ‬‫ﺎ‬ َ ‫ﻤ‬ ُ ‫ﻬ‬ ُ ‫ﺣ‬َ‫ﺮ‬ ْ ‫ﻔ‬ َ ‫ﻓ‬،‫ا‬ َ ‫ذ‬ِ‫إ‬َ‫ﺮ‬ َ ‫ﻄ‬ ْ ‫ﻓ‬ َ ‫أ‬ َ ‫ح‬ِ‫ﺮ‬ َ ‫ﻓ‬ِ‫ه‬ِ‫ﺮ‬ ْ ‫ﻄ‬ِ‫ﻔ‬ِ‫ﺑ‬‫ا‬ َ ‫ذ‬ِ‫إ‬َ‫و‬َ ِ‫ﻲﻘ‬ َ ‫ﻟ‬ ُ ‫ﻪ‬ َّ ‫ﺑ‬َ‫ر‬ َ ‫ح‬ِ‫ﺮ‬ َ ‫ﻓ‬ِ‫ﻪ‬ِ‫ﻣ‬ ْ ‫ﻮ‬ َ ‫ﺼ‬ِ‫ﺑ‬«) .‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫اﻛﺨﺎري‬٧٤٩٢،‫و‬‫ﻣﺴﻠﻢ‬‫ﺑ‬‫ﺮﻗﻢ‬١١٥١( ความวา “สําหรับผูถือศีลอดนั้นมีความเบิกบานใจอยูสองครั้ง เมื่อเขาละศีลอดเขาจะเบิกบานใจกับการละศีลอดนั้น และ เมื่อเขาไดพบองคอภิบาลของเขา เขาจะเบิกบานใจกับ(ผล บุญที่ไดจาก)การถือศีลอดของเขา” (รายงานโดยอัล-บุคอรีย : 7492 มุสลิม :1151) การวอนขอเพื่อไดเขาสวนสวรรคจากประตู อัร-ร็อยยาน ทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาว วา » ُ ‫ﺎن‬ َّ ‫ﻳ‬َّ‫اﻟﺮ‬ ُ َ ُ ‫ﺎل‬ َ ‫ﻘ‬ ُ ‫ﻓ‬ ‫ﺎ‬ ً ‫ﺎﺑ‬ َ ‫ﺑ‬ ِ‫ﺔ‬ َّ ‫ﻨ‬َ ْ ‫اﺠﻟ‬ ِ‫ﻲﻓ‬ َّ ‫ن‬ِ‫إ‬، َ ‫م‬ ْ ‫ﻮ‬ َ ‫ﻳ‬ َ ‫ﻮن‬ ُ ‫ِﻤ‬‫ﺋ‬‫ﺎ‬ َّ ‫اﻟﺼ‬ ُ ‫ﻪ‬ ْ ‫ِﻨ‬‫ﻣ‬ ُ ‫ﻞ‬ ُ ‫ﺧ‬ ْ ‫ﺪ‬ َ ‫ﻳ‬ َ ‫ﻻ‬ ِ‫ﺔ‬ َ ‫ﺎﻣ‬ َ ‫ﻴ‬ِ‫ﻘ‬ ْ ‫اﻟ‬ ْ ‫ﻢ‬ ُ ‫ﻫ‬ُ ْ ‫ﺮﻴ‬ َ ‫ﻟ‬ ٌ ‫ﺪ‬ َ ‫ﺣ‬ َ ‫أ‬ ُ ‫ﻪ‬ ْ ‫ِﻨ‬‫ﻣ‬ ُ ‫ﻞ‬ ُ ‫ﺧ‬ ْ ‫ﺪ‬ َ ‫ﻳ‬، َ ‫ﻮن‬ ُ ‫ِﻤ‬‫ﺋ‬‫ﺎ‬ َّ ‫اﻟﺼ‬ َ‫ﻦ‬ ْ ‫ﻓ‬ َ ‫أ‬ ُ ‫ﺎل‬ َ ‫ﻘ‬ ُ ‫ﻓ‬‫؟‬ َ ‫ﻮن‬ ُ ‫ﻮﻣ‬ ُ ‫ﻘ‬ َ ‫ﻴ‬ َ ‫ﻓ‬، َ ‫ﻻ‬ ْ ‫ﻢ‬ ُ ‫ﻫ‬ُ ْ ‫ﺮﻴ‬ َ ‫ﻟ‬ ٌ ‫ﺪ‬ َ ‫ﺣ‬ َ ‫أ‬ ُ ‫ﻪ‬ ْ ‫ِﻨ‬‫ﻣ‬ ُ ‫ﻞ‬ ُ ‫ﺧ‬ ْ ‫ﺪ‬ َ ‫ﻳ‬، ْ ‫ﻢ‬ َ ‫ﻠ‬ َ ‫ﻓ‬ َ ‫ﻖ‬ِ‫ﻠ‬ ْ ‫ﻏ‬ ُ ‫أ‬ ‫ﻮا‬ ُ ‫ﻠ‬ َ ‫ﺧ‬ َ ‫د‬ ‫ا‬ َ ‫ذ‬ِ‫ﺈ‬ َ ‫ﻓ‬ ٌ ‫ﺪ‬ َ ‫ﺣ‬ َ ‫أ‬ ُ ‫ﻪ‬ ْ ‫ِﻨ‬‫ﻣ‬ ْ ‫ﻞ‬ ُ ‫ﺧ‬ ْ ‫ﺪ‬ َ ‫ﻳ‬«‫ﻣﺎﺟﻪ‬ ‫اﺑﻦ‬ ‫ﻋﻨﺪ‬ َ ‫ﺪ‬ ْ ‫ﻳ‬ِ‫وز‬:» ْ ‫ﺄ‬ َ ‫ﻤ‬ ْ ‫ﻈ‬ َ ‫ﻓ‬ ْ ‫ﻢ‬ َ ‫ﻟ‬ ُ ‫ﻪ‬ َ ‫ﻠ‬ َ ‫ﺧ‬ َ ‫د‬ ْ ‫ﻦ‬ َ ‫ﻣ‬َ‫و‬ ‫ا‬ ً ‫ﺪ‬ َ ‫ﺑ‬ َ ‫أ‬«.)‫اﻛﺨﺎري‬‫ﺑ‬‫ﺮﻗﻢ‬١٧٦٣‫ﻣﺴﻠﻢ‬ ،‫ﺑ‬‫ﺮﻗﻢ‬١٩٤٧‫ﻣﺎﺟﻪ‬ ‫اﺑﻦ‬ ، ‫ﺑ‬‫ﺮﻗﻢ‬١٦٣٠(
  • 27. 27    ความวา “แทจริง ในสวรรคนั้นมีประตูหนึ่งมีชื่อเรียกวา อัรฺ- ร็อยยาน ในวันกิยามะฮฺผูถือศีลอดจะเขาสวรรคจากประตูนี้ ไมมีผูใดสักคนเขาจากประตูนี้นอกจากพวกเขา จะมีเสียงถาม ขึ้นมาวา ‘ไหนเลาบรรดาผูถือศีลอด?’ (เพื่อเรียกใหพวกเขาได เขาสวรรคจากประตูนี้) แลวพวกเขาก็จะยืนขึ้น ไมมีผูใดสัก คนเขาจากประตูนี้นอกจากพวกเขา เมื่อพวกเขาไดเขาไป หมดแลว ประตูนี้ก็จะถูกปด จึงไมมีผูใดไดเขาไปจากประตูนี้ อีกนอกจากพวกเขา” มีสํานวนเพิ่มเติมจากสายรายงาน ของอิบนุ มาญะฮฺวา “ผูใดที่ไดเขาจากประตูนี้ เขาจะไม กระหายอีกเลยชั่วนิรันดร” (รายงานโดย อัล-บุคอรีย เลขที่ 1763, มุสลิม เลขที่ 1947 และอิบนุ มาญะฮฺ เลขที่ 1630) การวอนขอเพื่อไดรับการชวยเหลือ(ชะฟาอะฮฺ)ของการถือศีล อด ทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาว วา » ُ ‫ﻮل‬ ُ ‫ﻘ‬ َ ‫ﻓ‬ ،ِ‫ﺔ‬ َ ‫ﺎﻣ‬ َ ‫ﻴ‬ِ‫ﻘ‬ ْ ‫اﻟ‬ َ ‫م‬ ْ ‫ﻮ‬ َ ‫ﻳ‬ ِ‫ﺪ‬ ْ ‫ﺒ‬ َ ‫ﻌ‬ ْ ‫ﻟِﻠ‬ ِ‫ﺎن‬ َ ‫ﻌ‬ َ ‫ﻔ‬ ْ ‫ﺸ‬ َ ‫ﻳ‬ ُ ‫آن‬ْ‫ﺮ‬ ُ ‫ﻘ‬ ْ ‫اﻟ‬َ‫و‬ ُ ‫ﺎم‬ َ ‫ﻴ‬ ِّ ‫اﻟﺼ‬ ُ ‫ﺎم‬ َ ‫ﻴ‬ ِّ ‫اﻟﺼ‬: ،ِ‫ﻪ‬‫ِﻴ‬‫ﻓ‬ ِ‫ﻲﻨ‬ ْ ‫ﻌ‬ ِّ ‫ﻔ‬ َ ‫ﺸ‬ َ ‫ﻓ‬ ،ِ‫ﺎر‬ َ ‫ﻬ‬َّ‫ﺎﺠ‬ِ‫ﺑ‬ ِ‫ات‬َ‫ﻮ‬ َ ‫ﻬ‬ َّ ‫اﻟﺸ‬َ‫و‬ َ ‫ﺎم‬ َ ‫ﻌ‬ َّ ‫اﻟﻄ‬ ُ ‫ﻪ‬ ُ ‫ﺘ‬ ْ ‫ﻌ‬ َ ‫ﻨ‬ َ ‫ﻣ‬ ِّ ‫ب‬َ‫ر‬ ْ ‫ي‬ َ ‫أ‬ ُ ‫آن‬ْ‫ﺮ‬ ُ ‫ﻘ‬ ْ ‫اﻟ‬ ُ ‫ﻮل‬ ُ ‫ﻘ‬ َ ‫ﻳ‬َ‫و‬:ِ‫ﻪ‬‫ِﻴ‬‫ﻓ‬ ِ‫ﻲﻨ‬ ْ ‫ﻌ‬ ِّ ‫ﻔ‬ َ ‫ﺸ‬ َ ‫ﻓ‬ ِ‫ﻞ‬ ْ ‫ﻴ‬ َّ ‫ﺎﻟﻠ‬ِ‫ﺑ‬ َ ‫م‬ ْ ‫ﻮ‬َّ‫اﺠ‬ ُ ‫ﻪ‬ ُ ‫ﺘ‬ ْ ‫ﻌ‬ َ ‫ﻨ‬ َ ‫ﻣ‬« َ ‫ﺎل‬ َ ‫ﻗ‬ ،:
  • 28. 28    »ِ‫ﺎن‬ َ ‫ﻌ‬ َّ ‫ﻔ‬ َ ‫ﺸ‬ ُ ‫ﻴ‬ َ ‫ﻓ‬«.)‫أﻤﺣﺪ‬ ‫اﻹﻣﺎم‬ ‫ﻣﺴﻨﺪ‬‫ﺑ‬‫ﺮﻗﻢ‬٦٣٣٧،‫وﺻﺤﺤﻪ‬ ‫ﻲﻓ‬ ‫اﻷﻛﺎ‬‫اﺠﻟﺎ‬ ‫ﺻﺤﻴﺢ‬‫اﻟﺼﻐﺮﻴ‬ ‫ﻣﻊ‬٣٨٨٢( ความวา “การถือศีลอดและอัลกุรอานนั้นจะมาใหความ ชวยเหลือแกบาวในวันกิยามะฮฺ การถือศีลอดจะพูดวา ‘โอผู อภิบาลแหงขา ขาไดสกัดกั้นเขาจากอาหารและการสนอง ความใครในยามกลางวัน ดังนั้นไดโปรดใหขาชวยเหลือเขา ดวยเถิด’ อัลกุรอานก็จะพูดวา ‘โอผูอภิบาลแหงขา ขาไดสกัด กั้นเขาจากการหลับนอนในยามค่ําคืน ดังนั้นไดโปรดใหขา ชวยเหลือเขาดวยเถิด’ แลวทั้งสองก็ไดรับอนุญาตเพื่อให ความชวยเหลือ” (รายงานโดย อะหฺมัด : 6337 ชัยคฺอัล-อัลบานียมี ทัศนะวา เศาะฮีหฺ ในหนังสือ เศาะฮีหฺ อัล-ญามิอฺ 3882) การวอนขอเพื่อไดรับการชวยเหลือ(ชะฟาอะฮฺ)ของคนศอลิหฺ ทั้งหลาย ทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาว วา » َ ‫ﻮن‬ ُ ‫ﻮﻟ‬ ُ ‫ﻘ‬ َ ‫ﻓ‬ ، ْ ‫ﻢ‬ِ‫ِﻬ‬‫ﻧ‬‫ا‬َ‫ﻮ‬ ْ ‫ﺧ‬ِ‫إ‬ ِ‫ﻲﻓ‬ ‫ا‬ ْ ‫ﻮ‬َ َ ‫ﺠﻧ‬ ْ ‫ﺪ‬ َ ‫ﻗ‬ ْ ‫ﻢ‬ ُ ‫ﻬ‬ َّ ‫ﻏ‬ َ ‫ﻛ‬ ‫ا‬ْ‫و‬ َ ‫أ‬َ‫ر‬ ‫ا‬ َ ‫ذ‬ِ‫إ‬َ‫و‬:، ‫ﺎ‬ َ ‫ﻨ‬ ُ ‫اﻏ‬َ‫ﻮ‬ ْ ‫ﺧ‬ِ‫إ‬ ‫ﺎ‬ َ ‫ﻨ‬ َّ ‫ﺑ‬َ‫ر‬ َ ‫ﻮن‬ ُ ‫ﻮﻣ‬ ُ ‫ﺼ‬ َ ‫ﻳ‬َ‫و‬ ، ‫ﺎ‬ َ ‫ﻨ‬ َ ‫ﻌ‬ َ ‫ﻣ‬ َ ‫ﻮن‬ ُّ ‫ﻠ‬ َ ‫ﺼ‬ ُ ‫ﻳ‬ ‫ﻮا‬ ُ ‫ﻧ‬ َ ‫ﺎﻛ‬ ُ ‫ﻮل‬ ُ ‫ﻘ‬ َ ‫ﻴ‬ َ ‫ﻓ‬ ، ‫ﺎ‬ َ ‫ﻨ‬ َ ‫ﻌ‬ َ ‫ﻣ‬ َ ‫ﻮن‬ ُ ‫ﻠ‬ َ ‫ﻤ‬ ْ ‫ﻌ‬ َ ‫ﻳ‬َ‫و‬ ، ‫ﺎ‬ َ ‫ﻨ‬ َ ‫ﻌ‬ َ ‫ﻣ‬
  • 29. 29    َ ‫ﺎﻰﻟ‬ َ ‫ﻌ‬ َ ‫ﻳ‬ ُ َّ ‫اﺑ‬: ْ ‫ِﻦ‬‫ﻣ‬ ٍ‫ﺎر‬ َ ‫ِﻳﻨ‬‫د‬ َ ‫ﺎل‬ َ ‫ﻘ‬ ْ ‫ِﺜ‬‫ﻣ‬ ِ‫ﻪ‬ِ‫ﺒ‬ ْ ‫ﻠ‬ َ ‫ﻗ‬ ِ‫ﻲﻓ‬ ْ ‫ﻢ‬ ُ ‫ﻳ‬ ْ ‫ﺪ‬ َ ‫ﺟ‬َ‫و‬ ْ ‫ﻦ‬ َ ‫ﻤ‬ َ ‫ﻓ‬ ، ‫ﻮا‬ ُ ‫ﺒ‬ َ ‫ﻫ‬ ْ ‫اذ‬ ِ‫ﺎر‬َّ‫اﺠ‬ َ َ ‫ﺒﻟ‬ ْ ‫ﻢ‬ ُ ‫ﻫ‬َ‫ر‬َ‫ﻮ‬ ُ ‫ﺻ‬ ُ َّ ‫اﺑ‬ ُ ‫م‬ِّ‫ﺮ‬َ ُ ‫ﺤﻳ‬َ‫و‬ ، ُ‫ﻮه‬ ُ ‫ﺟ‬ِ‫ﺮ‬ ْ ‫ﺧ‬ َ ‫ﺄ‬ َ ‫ﻓ‬ ٍ‫ﺎن‬ َ ‫ﻳﻤ‬ِ‫إ‬. ْ ‫ﻢ‬ ُ ‫ﻬ‬ َ ‫ﻮﻏ‬ ُ ‫ﺗ‬ ْ ‫ﺄ‬ َ ‫ﻴ‬ َ ‫ﻓ‬ ِ‫إ‬ ِ‫ﺎر‬َّ‫اﺠ‬ ِ‫ﻲﻓ‬ َ ‫ب‬ َ ‫ﺬﻟ‬ ْ ‫ﺪ‬ َ ‫ﻗ‬ ْ ‫ﻢ‬ ُ ‫ﻬ‬ ُ ‫ﻀ‬ ْ ‫ﻌ‬ َ ‫ﺑ‬َ‫و‬، ِ‫ﻪ‬ ْ ‫ﻴ‬ َ ‫ﺎﻗ‬ َ ‫ﺳ‬ ِ‫ﺎف‬ َ ‫ﺼ‬ ْ ‫ﻧ‬ َ ‫أ‬ َ ‫ﻰﻟ‬ِ‫إ‬َ‫و‬ ، ِ‫ﻪ‬ِ‫ﻣ‬ َ ‫ﺪ‬ َ ‫ﻗ‬ َ ‫ﻰﻟ‬ ‫ﻮا‬ ُ ‫ﻓ‬َ‫ﺮ‬ َ ‫ﻋ‬ ْ ‫ﻦ‬ َ ‫ﻣ‬ َ ‫ﻮن‬ ُ ‫ﺟ‬ِ‫ﺮ‬ ْ ‫ﺨ‬ ُ ‫ﻴ‬ َ ‫ﻓ‬.«)‫اﻛﺨﺎري‬‫ﺑ‬‫ﺮﻗﻢ‬٧٤٣٩‫ﻣﺴﻠﻢ‬ ،‫ﺑ‬‫ﺮﻗﻢ‬ ١٨٣( ความวา “เมื่อพวกเขาเห็นวา พวกเขาปลอดภัยแนแลวในหมูพี่ นองของพวกเขา พวกเขาตางกลาววา 'โอพระผูเปนเจาของ เรา ยังมีพวกพี่นองของพวกเราที่ไดละหมาดรวมกับพวกเรา ไดถือศีลอดรวมกับพวกเราและไดกระทํากิจกรรมตางๆ (ทาง ศาสนาที่ดี) รวมกับพวกเรา' ดังนั้นอัลลอฮฺจึงตรัสวา 'พวกทาน จงไปดูเถิด บุคคลใดที่พวกทานพบวา ในหัวใจของพวกเขามี ความศรัทธาเทาน้ําหนักเพียงหนึ่งดีนารก็จงนําพวกเขา ออกมา' อัลลอฮฺก็จะทรงหามไฟไมใหไหมรางของพวกเขา เหลานั้น(ที่ออกไปหาพี่นองของพวกเขาในนรก) พวกเขา เหลานั้นก็จะไปหาพี่นองของพวกเขา(ในนรก) บางสวนในหมู ชาวนรกนั้นจมอยูในนรกแคเทาของพวกเขา บางก็ถึงหนา แขงของพวกเขา ใครที่พวกเขารูจักพวกเขาก็จะนําคน เหลานั้นออกมา” (บันทึกโดย อัล-บุคอรีย : 7439 และมุสลิม : 183)
  • 30. 30    การวอนขอเพื่อไดรับผลตอบแทนจากอัลลอฮฺ ทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาว วา » َ ‫ﻰﻟ‬ِ‫إ‬ ‫ﺎ‬ َ ‫ﺎﻟِﻬ‬ َ ‫ﺜ‬ ْ ‫ﻣ‬ َ ‫أ‬ ُ ْ ‫ﺮﺸ‬ َ ‫ﻋ‬ ُ ‫ﺔ‬ َ ‫ﻨ‬ َ ‫ﺴ‬َ ْ ‫اﺤﻟ‬ ، ُ ‫ﻒ‬ َ ‫ﺎﻗ‬ َ ‫ﻀ‬ ُ ‫ﻳ‬ َ ‫م‬ َ ‫آد‬ ِ‫ﻦ‬ ْ ‫اﺑ‬ ِ‫ﻞ‬ َ ‫ﻤ‬ َ ‫ﻗ‬ ُّ ُ ‫ﻞﻛ‬ َّ ‫ﻞ‬ َ ‫ﺟ‬َ‫و‬ َّ‫ﺰ‬ َ ‫ﻋ‬ ُ َّ ‫اﺑ‬ َ ‫ﺎل‬ َ ‫ﻗ‬ ، ٍ‫ﻒ‬ ْ ‫ﻌ‬ ِ‫ﺿ‬ ‫ﺔ‬ َ ‫ﺎﺋ‬ِ‫ﻤ‬‫ﻌ‬ ْ ‫ﺒ‬ َ ‫ﺳ‬‫ﺎ‬ َ ‫ﻧ‬ َ ‫أ‬َ‫و‬ ِ‫ﻲﻟ‬ ُ ‫ﻪ‬ َّ ‫ﻧ‬ِ‫ﺈ‬ َ ‫ﻓ‬ َ ‫م‬ ْ ‫ﻮ‬ َّ ‫اﻟﺼ‬ َّ ‫ﻻ‬ِ‫إ‬ ِ‫ﺎن‬ َ ‫ﺘ‬ َ ‫ﺣ‬ْ‫ﺮ‬ َ ‫ﻓ‬ ِ‫ِﻢ‬‫ﺋ‬‫ﺎ‬ َّ ‫ﻟِﻠﺼ‬ ، ِ‫ﻲﻠ‬ ْ ‫ﺟ‬ َ ‫أ‬ ْ ‫ِﻦ‬‫ﻣ‬ ُ ‫ﻪ‬ َ ‫ﺎﻣ‬ َ ‫ﻌ‬ َ ‫ﻃ‬َ‫و‬ ُ ‫ﻪ‬ َ ‫ﺗ‬َ‫ﻮ‬ ْ ‫ﻬ‬ َ ‫ﺷ‬ ُ ‫ع‬ َ ‫ﺪ‬ َ ‫ﻳ‬ ،ِ‫ﻪ‬ِ‫ﺑ‬ ‫ي‬ِ‫ﺰ‬ ْ ‫ﺟ‬ َ ‫أ‬ ُ‫ﺐ‬ َ ‫ﻴ‬ ْ ‫ﻃ‬ َ ‫أ‬ ِ‫ﻪ‬‫ِﻴ‬‫ﻓ‬ ُ ‫ﻮف‬ ُ ‫ﻠ‬ ُ َ ‫ﺨﻟ‬َ‫و‬ ،ِ‫ﻪ‬ ِّ ‫ﺑ‬َ‫ر‬ ِ‫ء‬‫ﺎ‬ َ ‫ِﻘ‬‫ﻟ‬ َ ‫ﺪ‬ ْ ‫ِﻨ‬‫ﻋ‬ ٌ ‫ﺔ‬ َ ‫ﺣ‬ْ‫ﺮ‬ َ ‫ﻓ‬َ‫و‬ ِ‫ه‬ِ‫ﺮ‬ ْ ‫ِﻄ‬‫ﻓ‬ َ ‫ﺪ‬ ْ ‫ِﻨ‬‫ﻋ‬ ٌ ‫ﺔ‬ َ ‫ﺣ‬ْ‫ﺮ‬ َ ‫ﻓ‬ ِ‫ﻚ‬ ْ ‫ﺴ‬ِ‫ﻤ‬ ْ ‫اﻟ‬ ِ‫ﻳﺢ‬ِ‫ر‬ ْ ‫ِﻦ‬‫ﻣ‬ ِ َّ ‫اﺑ‬ َ ‫ﺪ‬ ْ ‫ِﻨ‬‫ﻋ‬«)‫اﻛﺨﺎري‬‫ﺑ‬‫ﺮﻗﻢ‬١٨٩٤‫ﻣﺴﻠﻢ‬ ،‫ﺑ‬‫ﺮﻗﻢ‬ ١١٥١( ความวา "ทุกๆ การงานของลูกหลานอาดัมจะเพิ่มพูนถึงสิบ เทาจนถึงเจ็ดรอยเทา อัลลอฮฺไดตรัสวา นอกจากการถือศีล อด แทจริงมันเปนสิทธิของขาและขาจะตอบแทนมันเอง(โดย ไมกําหนดตายตัววาเพิ่มขึ้นเทาใด) เขาไดละทิ้งตัณหาและ อาหารเพื่อขา สําหรับผูที่ถือศีลอดนั้นมีสองความสุข(เบิกบาน ใจ) ความสุขแรกตอนที่เขาละศีลอด และความสุขที่สองตอน ที่ไดพบกับพระผูเปนเจาของเขา และแทจริงกลิ่นปากของผูที่
  • 31. 31    ถือศีลอด ณ อัลลอฮฺนั้นหอมยิ่งกวากลิ่นของชะมดเชียงเสีย อีก" (บันทึกโดยอัล-บุคอรีย : 1894 และมุสลิม :1151) เปนการไดมาซึ่งอะมัลที่ไมมีสิ่งใดเสมอเหมือน ทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาว วา ُ ‫ﺖ‬ ْ ‫ﻴ‬ َ ‫ﻳ‬ َ ‫أ‬ َ ‫ﻮل‬ ُ ‫ﺳ‬َ‫ر‬ِ َّ ‫اﺑ‬ َّ ‫ﻰﻠ‬ َ ‫ﺻ‬ُ‫اﷲ‬ِ‫ﻪ‬ ْ ‫ﻴ‬ َ ‫ﻠ‬ َ ‫ﻋ‬َ‫ﻢ‬ َّ ‫ﻠ‬ َ ‫ﺳ‬َ‫و‬ ُ ‫ﺖ‬ ْ ‫ﻠ‬ ُ ‫ﻘ‬ َ ‫ﻓ‬:ِ‫ﻰﻳ‬ْ‫ﺮ‬ ُ ‫ﻣ‬ٍ‫ﻞ‬ َ ‫ﻤ‬ َ ‫ﻌ‬ِ‫ﺑ‬ ِ‫ﻲﻨ‬ ُ ‫ﻠ‬ِ‫ﺧ‬ ْ ‫ﺪ‬ ُ ‫ﻳ‬ َ ‫ﺔ‬ َّ ‫ﻨ‬َ ْ ‫اﺠﻟ‬. َ ‫ﺎل‬ َ ‫ﻗ‬:» َ ‫ﻚ‬ ْ ‫ﻴ‬ َ ‫ﻠ‬ َ ‫ﻋ‬‫؛‬ِ‫م‬ ْ ‫ﻮ‬ َّ ‫ﺎﻟﺼ‬ِ‫ﺑ‬ ُ ‫ﻪ‬ َّ ‫ﻧ‬ِ‫ﺈ‬ َ ‫ﻓ‬ َ ‫ﻻ‬ َ ‫ل‬ ْ ‫ِﺪ‬‫ﻋ‬ُ َ «.َّ‫ﻢ‬ ُ ‫ﻋ‬ ُ ‫ﻪ‬ ُ ‫ﺘ‬ ْ ‫ﻴ‬ َ ‫ﺗ‬ َ ‫أ‬ َ ‫ﺔ‬ َ ‫ِﻴ‬‫ﻏ‬‫ﺎ‬ َّ ‫اﺨﻛ‬ َ ‫ﺎل‬ َ ‫ﻘ‬ َ ‫ﻓ‬ِ‫ﻲﻟ‬:» َ ‫ﻚ‬ ْ ‫ﻴ‬ َ ‫ﻠ‬ َ ‫ﻋ‬ِ‫ﺎم‬ َ ‫ﻴ‬ ِّ ‫ﺎﻟﺼ‬ِ‫ﺑ‬«)‫أﻤﺣﺪ‬ ‫اﻹﻣﺎم‬ ‫ﻣﺴﻨﺪ‬ ‫ﺑ‬‫ﺮﻗﻢ‬٢٢١٤٩،‫ﻲﻓ‬ ‫اﻷﻛﺎ‬ ‫وﺻﺤﺤﻪ‬‫ﺻﺤﻴﺢ‬‫واﻟﺮﺘﻫﻴﺐ‬ ‫اﻟﺮﺘﻏﻴﺐ‬ ٩٨٦(  ความวา “ฉันไดไปหาทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ วะสัลลัม แลวฉันก็ไดกลาวแกทานวา "ทานจงสั่งใชฉันซึ่งการ งานที่ทําใหฉันไดเขาสวรรคดวยเถิด" ทานนบีตอบวา: "ทาน จงถือศีลอด เพราะไมมีสิ่งใดจะเทียมเทามัน"หลังจากนั้นฉัน ไดไปหาทานครั้งที่สอง และทานก็ยังคงกลาววา: "ทานจงถือ ศีลอด" (รายงานโดย อะหฺมัด : 22149 ชัยคฺอัล-อัลบานียมีทัศนะวา เศาะฮีหฺ ในหนังสือ เศาะฮีหฺ อัต-ตัรฆีบ วัต-ตัรฮีบ 986)
  • 32. 32    เปนการลบลางความชั่วรายและฟตนะฮฺบททดสอบตางๆ ทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาว วา » ُ ‫ﺔ‬ َ ‫ﻨ‬ ْ ‫ِﺘ‬‫ﻓ‬ِ‫ﻞ‬ ُ ‫ﺟ‬َّ‫اﻟﺮ‬ِ‫ﻲﻓ‬ِ‫ﻪ‬ِ‫ﻠ‬ ْ ‫ﻫ‬ َ ‫أ‬ِ ِ ‫ﺎ‬ َ ‫ﻣ‬َ‫و‬ِ‫ه‬ِ َ َ‫و‬َ‫و‬،ِ‫ه‬ِ‫ﺎر‬ َ ‫ﺟ‬َ‫و‬‫ﺎ‬ َ ‫ﻫ‬ُ‫ﺮ‬ ِّ ‫ﻔ‬ َ ‫ﻜ‬ ُ ‫ﺗ‬ ُ ‫ة‬ َ ‫ﻼ‬ َّ ‫اﻟﺼ‬ ْ ‫ﻮ‬ َّ ‫اﻟﺼ‬َ‫و‬ ُ ‫م‬، ُ ‫ﺔ‬ َ ‫ﻗ‬ َ ‫ﺪ‬ َّ ‫اﻟﺼ‬َ‫و‬ُ‫ﺮ‬ ْ ‫ﻣ‬ َ ‫اﻷ‬َ‫و‬ُ ْ ‫ﻲﻬ‬َّ‫اﺠ‬َ‫و‬«)‫اﻛﺨﺎري‬‫ﺑ‬‫ﺮﻗﻢ‬٥٢٥‫ﻣﺴﻠﻢ‬ ، ‫ﺑ‬‫ﺮﻗﻢ‬١٤٤( ความวา “ฟตนะฮฺของชายคนหนึ่งที่มีตอครอบครัวของเขา ทรัพยสินของเขา ลูกของเขา และเพื่อนบานของเขา จะถูกลบ ลางออกไปดวยการละหมาด การถือศีลอด การบริจาคทาน การสั่งใชในความดีงาม และการหามในสิ่งที่ชั่วราย” (บันทึก โดยอัล-บุคอรีย : 525 และมุสลิม : 144) การวอนขอเพื่อใหใบหนาหางไกลจากนรก ทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาว วา »‫ﺎ‬ َ ‫ﻣ‬ ْ ‫ِﻦ‬‫ﻣ‬ٍ‫ﺪ‬ ْ ‫ﺒ‬ َ ‫ﻗ‬ ُ ‫ﻮم‬ ُ ‫ﺼ‬ َ ‫ﻳ‬‫ﺎ‬ ً ‫ﻣ‬ ْ ‫ﻮ‬ َ ‫ﻳ‬ِ‫ﻲﻓ‬ِ‫ﻴﻞ‬ِ‫ﺒ‬ َ ‫ﺳ‬،ِ‫ﷲ‬‫ا‬ َّ ‫ﻻ‬ِ‫إ‬ َ ‫ﺪ‬ َ ‫ﺎﻋ‬ َ ‫ﺑ‬ُ‫اﷲ‬ َ ‫ﻟِﻚ‬ َ ‫ﺬ‬ِ‫ﺑ‬ ِ‫م‬ ْ ‫ﻮ‬َ ْ ‫ا‬ ُ ‫ﻪ‬ َ ‫ﻬ‬ ْ ‫ﺟ‬َ‫و‬ِ‫ﻦ‬ َ ‫ﻋ‬ِ‫ﺎر‬َّ‫اﺠ‬َ‫ﻦﻴ‬ِ‫ﻌ‬ ْ ‫ﺒ‬ َ ‫ﺳ‬‫ﺎ‬ ً ‫ﻳﻔ‬ِ‫ﺮ‬ َ ‫ﺧ‬«)‫ﻣﺴﻠﻢ‬‫ﺑ‬‫ﺮﻗﻢ‬١١٥٣(
  • 33. 33    ความวา “ไมมีบาวผูใดที่ถือศีลอดเพื่ออัลลอฮฺเพียงวันเดียว เวนแตอัลลอฮฺจะทําใหเขาหางไกลปลอดภัยจากนรกดวยเหตุ แหงการถือศีลอดในวันนั้น เปนระยะหางถึงเจ็ดสิบป” (บันทึก โดยมุสลิม : 1153) เปาประสงคตางๆเพื่อไดรับในโลกดุนยา การวอนขอเพื่อเปนสิ่งปองกันและปกปองจากการทํามะอฺศิ ยะฮฺ ทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาว วา » ُ ‫ﻪ‬ َ ‫ﻤ‬ َ ‫ﺎﻳ‬ َ ‫ﺷ‬ ْ‫و‬ َ ‫أ‬ ُ ‫ﻪ‬ َ ‫ﻠ‬ َ ‫ﺎﺗ‬ َ ‫ﻗ‬ ٌ ‫ؤ‬ُ‫ﺮ‬ ْ ‫اﻣ‬ ِ‫ن‬ِ‫إ‬َ‫و‬ ، ْ ‫ﻞ‬ َ ‫ﻬ‬ ْ َ ‫ﺠﻳ‬ َ ‫ﻻ‬َ‫و‬ ْ ‫ﺚ‬ ُ ‫ﻓ‬ْ‫ﺮ‬ َ ‫ﻳ‬ َ ‫ﻼ‬ َ ‫ﻓ‬ ، ٌ ‫ﺔ‬ َّ ‫ﻨ‬ ُ ‫ﺟ‬ ُ ‫ﺎم‬ َ ‫ﻴ‬ ِّ ‫اﻟﺼ‬ ِ ْ ‫ﻦﻴ‬ َ ‫ﻳ‬َّ‫ﺮ‬ َ ‫ﻣ‬ ‫ـ‬ ٌ‫ِﻢ‬‫ﺋ‬‫ﺎ‬ َ ‫ﺻ‬ ِّ ِ‫إ‬ ْ ‫ﻞ‬ ُ ‫ﻘ‬ َ ‫ﻴ‬ ْ ‫ﻠ‬ َ ‫ﻓ‬«.)‫اﻛ‬‫ﺨﺎري‬‫ﺑ‬‫ﺮﻗﻢ‬١٧٦١( ความวา “การถือศีลอดนั้นเปนโลปองกัน (คือปองกันไมใหผู ถือศีลอดประพฤติสิ่งที่ไมดี หรือปองกันเขาจากการตองเขา นรก) ดังนั้น(เมื่อผูใดถือศีลอด)แลว เขาอยาไดพูดจาหยาบ โลนและอยาไดประพฤติเยี่ยงผูที่ไรจริยธรรม และหากแมนมี ผูใดตองการทะเลาะเบาะแวงหรือกลาวดาวารายเขา ก็ใหเขา กลาวแกคนผูนั้นวา ‘แทจริงฉันเปนผูถือศีลอด แทจริงฉันเปน ผูถือศีลอด’ (คือใหกลาวเพียงเทานี้ โดยไมตองตอบโตดวย
  • 34. 34    คําพูดอื่นที่อาจจะทําใหการถือศีลอดบกพรอง)” (รายงานโดย อัล-บุคอรีย เลขที่ 1761) การวอนขอเพื่อไดถือศีลอดตลอดทั้งป ทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาว วา »ُ‫ﺮ‬ ْ ‫ﻬ‬ َ ‫ﺷ‬،ِ ْ ‫ﺮﺒ‬ َّ ‫اﻟﺼ‬ ُ ‫ﺔ‬ َ ‫ﺛ‬ َ ‫ﻼ‬ َ ‫ﺛ‬َ‫و‬ٍ‫ﺎم‬ َّ ‫ﻳ‬ َ ‫ﻛ‬ ْ ‫ِﻦ‬‫ﻣ‬ ِّ ُ ‫ﻞﻛ‬ٍ‫ﺮ‬ ْ ‫ﻬ‬ َ ‫ﺷ‬ ُ ‫م‬ ْ ‫ﻮ‬ َ ‫ﺻ‬ِ‫ﺮ‬ ْ ‫ﻫ‬َّ ‫ا‬«)‫اﻟﻨﺴﺎ‬ ‫ﺑﺮﻗﻢ‬٢٤٠٨،‫اﺠﻟﺎﻣﻊ‬ ‫ﺻﺤﻴﺢ‬ ‫ﻲﻓ‬ ‫اﻷﻛﺎ‬ ‫وﺻﺤﺤﻪ‬٣٧١٨(  ความวา “(การถือศีลอดใน)เดือนแหงการอดทน(เราะมะฎอน) และสามวันของทุกๆ เดือนนั้น(เทากับ)การถือศีลอตลอดทั้ง ป” (บันทึกโดย อัน-นะสาอีย : 2408 ชัยคฺอัล-อัลบานีย มีทัศนะวา เศาะฮีหฺ ในหนังสือ เศาะฮีหฺ อัล-ญามิอฺ 3718) การวอนขอเพื่อการวิงวอน(ดุอาอ)ถูกตอบรับ ทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาว วา
  • 35. 35    » ُ ‫ث‬ َ ‫ﻼ‬ َ ‫ﺛ‬ٍ‫ات‬َ‫ﻮ‬ َ ‫ﻋ‬ َ ‫د‬ ٌ ‫ﺎت‬ َ ‫ﺎﺑ‬ َ ‫ﺠ‬ َ ‫ﺘ‬ ْ ‫ﺴ‬ ُ ‫ﻣ‬: ُ ‫ة‬َ‫ﻮ‬ ْ ‫ﻋ‬ َ ‫د‬،ِ‫ِﻢ‬‫ﺋ‬‫ﺎ‬ َّ ‫اﻟﺼ‬ ُ ‫ة‬َ‫ﻮ‬ ْ ‫ﻋ‬ َ ‫د‬َ‫و‬،ِ‫ﻮم‬ ُ ‫ﻠ‬ ْ ‫ﻈ‬ َ ‫ﻤ‬ ْ ‫اﻟ‬ ُ ‫ة‬َ‫ﻮ‬ ْ ‫ﻋ‬ َ ‫د‬َ‫و‬ِ‫ِﺮ‬‫ﻓ‬‫ﺎ‬ َ ‫ﺴ‬ ُ ‫ﻤ‬ ْ ‫اﻟ‬«)‫ﺨء‬ ‫ا‬‫ﻟ‬‫ﻠﻄﺮﺒا‬‫ﺑﺮﻗﻢ‬١٣١٣‫وﺻﺤﺤﻪ‬ ، ‫اﺠﻟﺎﻣﻊ‬ ‫ﺻﺤﻴﺢ‬ ‫ﻲﻓ‬ ‫اﻷﻛﺎ‬٣٠٣٠( ความวา “ดุอาอของบุคคลสามประเภทตอไปนี้เปนดุอาอที่ถูก ตอบรับ ไดแก ดุอาอของผูถือศีลอด ดุอาอของผูถูกอธรรม และดุอาอของผูเดินทาง” (อัด-ดุอาอ โดยทานอัฏ-ฏ็อบรอนีย ชัยคฺ อัล-อัลบานียมีทัศนะวา เศาะฮีหฺ ในหนังสือ เศาะฮีหฺ อัล-ญามิอฺ 3030) การวอนขอความเบิกบานในโลกดุนยา ทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาว วา »ِ‫ِﻢ‬‫ﺋ‬‫ﺎ‬ َّ ‫ﻟِﻠﺼ‬ َ ‫ﺣ‬ْ‫ﺮ‬ َ ‫ﻓ‬ِ‫ﺎن‬ َ ‫ﺘ‬‫ﺎ‬ َ ‫ﻤ‬ ُ ‫ﻬ‬ ُ ‫ﺣ‬َ‫ﺮ‬ ْ ‫ﻔ‬ َ ‫ﻓ‬‫ا‬ َ ‫ذ‬ِ‫إ‬َ‫ﺮ‬ َ ‫ﻄ‬ ْ ‫ﻓ‬ َ ‫أ‬ َ ‫ح‬ِ‫ﺮ‬ َ ‫ﻓ‬ِ‫ه‬ِ‫ﺮ‬ ْ ‫ﻄ‬ِ‫ﻔ‬ِ‫ﺑ‬‫ا‬ َ ‫ذ‬ِ‫إ‬َ‫و‬َ ِ‫ﻲﻘ‬ َ ‫ﻟ‬ ُ ‫ﻪ‬ َّ ‫ﺑ‬َ‫ر‬ َ ‫ح‬ِ‫ﺮ‬ َ ‫ﻓ‬ِ‫ﻪ‬ِ‫ﻣ‬ ْ ‫ﻮ‬ َ ‫ﺼ‬ِ‫ﺑ‬«) .‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫اﻛﺨﺎري‬٧٤٩٢،‫و‬‫ﻣﺴﻠﻢ‬‫ﺑ‬‫ﺮﻗﻢ‬١١٥١( ความวา “สําหรับผูถือศีลอดนั้นมีความเบิกบานใจอยู สองครั้ง เมื่อเขาละศีลอดเขาจะเบิกบานใจกับการละศีลอด นั้น และเมื่อเขาไดพบองคอภิบาลของเขา เขาจะเบิกบานใจ
  • 36. 36    กับ(ผลบุญที่ไดจาก)การถือศีลอดของเขา” (รายงานโดยอัล-บุ คอรีย : 7492 มุสลิม :1151) การวอนขอเพื่อจบชีวิตดวยกับสิ่งที่ดีงาม ทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาว วา » ْ ‫ﻦ‬ َ ‫ﻣ‬َ‫ﻢ‬ِ‫ﺘ‬ ُ ‫ﺧ‬ُ َ ِ‫ﺎم‬ َ ‫ﻴ‬ ِ‫ﺼ‬ِ‫ﺑ‬ٍ‫م‬ ْ ‫ﻮ‬ َ ‫ﻳ‬ َ ‫ﻞ‬ َ ‫ﺧ‬ َ ‫د‬‫ا‬ َ ‫ﺔ‬ َّ ‫ﻨ‬َ ْ ‫ﺠﻟ‬«)‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫اﻟﺰﺒار‬ ‫ﻣﺴﻨﺪ‬ ٢٨٥٤،‫اﺠﻟﺎﻣﻊ‬ ‫ﺻﺤﻴﺢ‬ ‫ﻲﻓ‬ ‫اﻷﻛﺎ‬ ‫وﺻﺤﺤﻪ‬٦٢٢٤( ความวา “ผูใดที่จบชีวิตดวยกับการถือศีลอดในวันหนึ่ง เขาจะ ไดเขาสวรรค” (บันทึกโดยมุสนัดอัล-บัซซาร 2854 ชัยคฺอัล-อัล บานีย มีทัศนะวา เศาะฮีหฺ ในหนังสือ เศาะฮีหฺ อัล-ญามิอฺ 6224 ) การวอนขอเพื่อลมปากที่หอมหวล ทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาว วา »ِ‫ﻚ‬ ْ ‫ﺴ‬ِ‫ﻤ‬ ْ ‫اﻟ‬ ِ‫ﻳﺢ‬ِ‫ر‬ ْ ‫ِﻦ‬‫ﻣ‬ ِ َّ ‫اﺑ‬ َ ‫ﺪ‬ ْ ‫ِﻨ‬‫ﻋ‬ ُ‫ﺐ‬ َ ‫ﻴ‬ ْ ‫ﻃ‬ َ ‫أ‬ ِ‫ﻪ‬‫ِﻴ‬‫ﻓ‬ ُ ‫ﻮف‬ ُ ‫ﻠ‬ ُ َ ‫ﺨﻟ‬َ‫و‬«)‫اﻛﺨﺎري‬ ‫ﺑ‬‫ﺮﻗﻢ‬١٨٩٤‫ﻣﺴﻠﻢ‬ ،‫ﺑ‬‫ﺮﻗﻢ‬١١٥١(
  • 37. 37    ความวา “และแทจริงกลิ่นปากของผูที่ถือศีลอด ณ อัลลอฮฺนั้น หอมยิ่งกวากลิ่นของชะมดเชียงเสียอีก" (บันทึกโดยอัล-บุคอรีย : 1894 และมุสลิม :1151) การวอนขอเพื่อใหไดความยําเกรง อัลลอฮฺ ไดดํารัสวา ﴿ َ َ َ‫ب‬ِ‫ت‬ ُ ‫ك‬ ‫ا‬َ‫م‬ َ ‫ك‬ ُ‫ام‬َ‫ي‬ ِ ّ‫ٱلص‬ ُ‫م‬ ُ ‫ك‬ۡ‫ي‬ َ ‫ل‬ َ ‫ع‬ َ‫ب‬ِ‫ت‬ ُ ‫ك‬ ْ ‫وا‬ُ‫ن‬َ‫ام‬َ‫ء‬ َ‫ِين‬ َّ ‫ٱل‬ ‫ا‬َ‫ه‬ُّ‫ي‬ َ ‫أ‬ٰٓ َ ‫ي‬ َ ‫ون‬ ُ ‫ق‬َّ‫ت‬ َ ‫ت‬ ۡ‫م‬ ُ ‫ك‬ َّ ‫ل‬َ‫ع‬ َ ‫ل‬ ۡ‫م‬ ُ ‫ِك‬‫ل‬ۡ‫ب‬ َ ‫ق‬ ‫ِن‬‫م‬ َ‫ِين‬ َّ ‫ٱل‬١٨٣﴾)‫اﻛﻘﺮة‬:١٨٣( ความวา “โอบรรดาผูศรัทธาทั้งหลาย! การถือศีลอด นั้นไดถูกกําหนดแกพวกเจาแลว เชนเดียวกับที่ไดถูกกําหนด แกบรรดาผูกอนหนาพวกเจามาแลว เพื่อวาพวกเจาจะไดยํา เกรง” (สูเราะฮฺ อัล-บะเกาะเราะฮฺ : 183) เปนการเขาใกลอัลลอฮฺ ตะอาลา ทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาว วา อัลลอฮฺไดดํารัสวา »‫ﺎ‬ َ ‫ﻣ‬َ‫و‬ َ ‫ب‬َّ‫ﺮ‬ َ ‫ﻘ‬ َ ‫ﻳ‬َّ َ ‫ﻲﻟ‬ِ‫إ‬‫ي‬ِ‫ﺪ‬ ْ ‫ﺒ‬ َ ‫ﻗ‬ٍ‫ء‬ ْ َ ِ‫ﺑ‬ َّ ‫ﺐ‬ َ ‫ﺣ‬ َ ‫أ‬َّ َ ‫ﻲﻟ‬ِ‫إ‬‫ﺎ‬ َّ ‫ِﻤ‬‫ﻣ‬ ُ ‫ﺖ‬ ْ ‫ﺿ‬َ َ ‫ﺮﺘ‬ ْ ‫اﻓ‬ِ‫ﻪ‬ ْ ‫ﻴ‬ َ ‫ﻠ‬ َ ‫ﻋ‬« )‫ﺑﺮﻗﻢ‬ ‫اﻛﺨﺎري‬٦٥٠٢(
  • 38. 38    ความวา “และไมมีสิ่งใดที่บาวของฉันได(ปฏิบัติตน)เขาใกลกับ ฉันดวยการงานหนึ่งที่ฉันโปรดปรานยิ่ง กวาการปฏิบัติในสิ่งที่ ฉันกําหนดเปนฟรฎ” (บันทึกโดยอัล-บุคอรีย 6502) การวอนขอเพื่อไดรับตําแหนงแหงความอดทน ทานเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาว วา »ُ‫ﺮ‬ ْ ‫ﻬ‬ َ ‫ﺷ‬،ِ ْ ‫ﺮﺒ‬ َّ ‫اﻟﺼ‬ ُ ‫ﺔ‬ َ ‫ﺛ‬ َ ‫ﻼ‬ َ ‫ﺛ‬َ‫و‬ٍ‫ﺎم‬ َّ ‫ﻳ‬ َ ‫ﻛ‬ ْ ‫ِﻦ‬‫ﻣ‬ ِّ ُ ‫ﻞﻛ‬ٍ‫ﺮ‬ ْ ‫ﻬ‬ َ ‫ﺷ‬ ُ ‫م‬ ْ ‫ﻮ‬ َ ‫ﺻ‬ِ‫ﺮ‬ ْ ‫ﻫ‬َّ ‫ا‬«)‫اﻟﻨﺴﺎ‬ ‫ﺑﺮﻗﻢ‬٢٤٠٨،‫اﺠﻟﺎﻣﻊ‬ ‫ﺻﺤﻴﺢ‬ ‫ﻲﻓ‬ ‫اﻷﻛﺎ‬ ‫وﺻﺤﺤﻪ‬٣٧١٨( ความวา “(การถือศีลอดใน)เดือนแหงการอดทน(เราะมะฎอน) และสามวันของทุกๆ เดือนนั้น(เทากับ)การถือศีลอตลอดทั้ง ป” (บันทึกโดย อัน-นะสาอีย : 2408 ชัยคฺอัล-อัลบานีย มีทัศนะวา เศาะฮีหฺ ในหนังสือ เศาะฮีหฺ อัล-ญามิอฺ 3718) ทานอิบนุลก็อยยิม เราะหิมะฮุลลอฮฺ ไดกลาวถึง “การ อดทน” วา “คือการอดทนในการเคารพภักดีตออัลลอฮฺและการ อดทนตออารมณความใคร”