SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  1
Télécharger pour lire hors ligne
à¡çºÁÒàÅ‹ÒÊÙ‹¡Ñ¹¿˜§...àÃ×èͧ อ่านบทความวิจัยภาษาอังกฤษ 
äÁ‹ÂÒ¡Í‹ҧ·Õè¤Ô´ (1) ” โดย ทนพ. เมธี ศรีประพันธ์ 
สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งหนึ่งนะครับ ในฉบับที่ผ่านๆ มา ผมได้เขียนเรื่องราวของเว็บไซต์ต่างๆ ที่เราสามารถใช้ประโยชน์ในการ 
ศึกษาหาความรู้หรือติดตามความก้าวหน้าในวงการแพทย์ รวมถึงเว็บไซต์ที่เป็นคลังของเอกสาร ไม่ว่าจะเป็นไฟล์ Microsoft Word, PowerPoint หรือไฟล์ 
PDF ในฉบับนี้ผมจะขอเปลี่ยนมาเล่าเรื่องในอีกแง่มุมหนึ่งครับ ในเรื่องของการอ่านบทความทางวิชาการภาษาอังกฤษ ฟังดูอาจดูยากหรือเครียด แต่ผมจะทำให้ 
ทุกท่านสนุกกับการอ่านด้วยเทคนิคการอ่านและการดูบทความแบบง่ายๆ สำหรับผู้ที่เริ่มต้นอ่านใหม่ๆ หรือผู้ที่ต้องการอ่านบทความให้ได้อย่างรวดเร็วครับ 
ผมได้มีโอกาสอ่านบทความที่เขียนใน 
Blog ของอาจารย์ภาวดี ภักดี เรื่อง “การ 
อ่านบทความวิจัยเพื่อค้นคว้าข้อมูล” ซึ่ง 
มีหลายแง่มุมที่น่าสนใจมากๆ ครับสามารถ 
นำไปประยุกต์ใช้ทั้งการอ่านบทความที่เป็น 
ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ผมได้ลองเข้า 
อ่านบทความอื่นๆ ของท่านพบว่ามีหลาย 
เรื่องที่น่าสนใจเช่นกัน ท่านผู้อ่านสามารถลอง 
เข้าไปอ่านได้นะครับ ในที่นี้ผมจะเล่าถึงเรื่อง 
เกี่ยวกับการอ่านบทความวิจัยอย่างเดียวครับ 
สิ่งที่พบได้อย่างมากสำหรับผู้ที่เริ่มแรก 
ในการอ่านบทความวิจัยหรือวิชาการที่เป็นภาษาอังกฤษคือ “เราจะอ่าน 
อย่างไร ทำอย่างไรถึงจะเข้าใจบทความนั้นๆ ได้เร็วที่สุด เราจำเป็น 
หรือไม่ที่ต้องอ่านทุกตัวอักษรหรือทุกประโยคในบทความนั้นๆ” คำ 
ตอบก็คือ ขึ้นกับจุดมุ่งหมายของเราในการอ่านบทความนั้นๆ เช่น ถ้าเรา 
ต้องการรู้ข้อสรุปคร่าวๆ ของบทความวิจัยนั้นเราอาจอ่านแค่ส่วนบทคัดย่อ 
(Abstract) ก็ได้ แต่ถ้าเราต้องการรู้วิธีการศึกษาวิจัยในบทความนั้นๆ อาจ 
ต้องเน้นอ่านที่ส่วน “Materials and Methods” ถ้าเราต้องการรู้ในเรื่อง 
บทสรุปและข้อวิจารณ์ ข้อจำกัดในการทดลองและแนวทางที่เราสามารถนำ 
ไปศึกษาต่อยอดได้ อาจต้องเน้นอ่านที่ “Results and Discussion” แต่ 
ถ้าเราอ่านเพื่อนำไปสรุปงานวิจัยทั้งหมดให้ผู้อื่นฟังเช่นในงานสัมมนาต่างๆ 
อาจต้องอ่านทุกหัวข้ออย่างละเอียดและต้องหาข้อมูลเพิ่มเติมนอกเหนือ 
จากบทความนั้นๆ มาประกอบ เป็นต้น ซึ่งโดยสรุป อย่างไรก็ตามส่วนแรก 
ที่เราจะลืมไม่ได้ในการเริ่มอ่านคือส่วนที่เป็น “หัวข้องานวิจัย” และ “ส่วน 
บทคดัยอ่ครบั” และถา้มีเวลาผมแนะนาํใหอ้า่นในทุกๆ สว่นของบทความ 
วิจัยรวมถึงส่วนที่เป็นเอกสารอ้างอิงด้วยครับ 
ก่อนที่จะเข้าสู่หลักการอ่านบทความ 
วิชาการหรือวิจัยภาษาอังกฤษแบบง่ายๆ ผมจะ 
ขอเล่าก่อนว่า บทความวิจัยภาษาอังกฤษที่เรา 
เห็นกันมีกี่ประเภทนะครับ โดยทั่วไปการแบ่ง 
ประเภทของบทความวิจัยนั้น จะขึ้นอยู่กับแต่ละ 
วารสาร (Journal) นั้นๆ ผมจะขอสรุปเป็น 2 
ประเภทใหญ่ๆ เพื่อง่ายต่อการเข้าใจคือ 
บทความวิชาการที่ไม่มีกระบวนการทดลองหรือกระบวนการวิจัยหรือ 
“Review article” กับบทความวิชาการที่มีกระบวนการทดลองหรือวิจัย 
ประกอบหรือ “Research article” โดยทั้งสองประเภทนี้จะมีส่วนที่เป็น 
บทคัดย่อหรือส่วน Introduction เหมือนกัน แต่ต่างกันคือบทความที่ไม่มี 
กระบวนการทดลองหรือวิจัยประกอบนั้นจะเป็นการเขียนอธิบายหลักการ 
หัวข้อที่น่าสนใจต่างๆ คล้ายกับตำราเรียนเล่มหนึ่งแต่เป็นตำราเรียนฉบับ 
ย่อๆ ที่เน้นเฉพาะหัวเรื่องใดหัวเรื่องหนึ่ง แต่ในบทความวิจัยนั้นจะมีการ 
เขียนแยกเป็นส่วนต่างๆ เช่น Introduction, Materials and Meth-ods, 
Results และ Discussion 
2 สมมาาคมเเททคนนิิคกกาารแแพพทยย์์แแหห่่งปรระะเเททศไไททย 
หลักการอ่านบทความวิชาการหรือบทความวิจัยแบบง่ายๆ อย่าง 
ประสิทธิภาพนั้นไม่ควรแปลศัพท์ทุกตัวเพื่ออ่านทุกๆ ตัวอักษร แต่ควร 
อ่านและแปลใจความสำคัญจากรูปประโยคนั้นๆ โดยในแต่ละส่วนของ 
บทความวิจัยหรือวิชาการควรอ่านหรือทำความเข้าใจในประโยคแรกๆ สัก 
1-2 ประโยคก่อน ถ้าไม่เข้าใจหรือจับใจความไม่ได้จึงอ่านประโยคถัดๆ ไป 
ซึ่งโดยมากใจความสำคัญของแต่ละย่อหน้าหรือหัวข้อนั้นจะอยู่ประโยค 
แรกๆ ส่วนประโยคต่อๆ มามักเป็นการขยายความหรือเหตุผลสนับสนุน 
เสียมากกว่า 
เมื่อเราอ่านลงในรายละเอียดของบทความวิจัยต้องทำความเข้าใจใน 
แต่ละส่วนไม่ว่าจะเป็น ส่วน Introduction, Materials and Methods, Results 
และ Discussion โดยมีหลักโดยสรุปดังนี้คือ 
Introduction  ต้องหาว่าบทความวิจัยนั้นทำอะไรทำไมต้องทำ 
ใครทำแล้วบ้าง จุดประสงค์ของงานวิจัยคืออะไร 
Materials and Methods  ต้องหาให้ได้ว่าวิธีการศึกษาทำอย่างไร 
Results  ต้องหาให้ได้ว่างานวิจัยที่อ่านนั้นพบอะไร ได้ผล 
อย่างไร 
Discussion  สิ่งที่ค้นพบในงานวิจัยที่อ่านนั้นมีความหมาย 
อย่างไร นำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างไร 
ในส่วนของบทความวิจัยที่เป็น Review article ก็ 
ใช้หลักเช่นเดียวกันครับ โดยสิ่งสำคัญคือต้องหา 
ให้ได้ว่าบทความนั้นอธิบายใจความสำคัญ 
อย่างไร โดยอย่างยิ่งแล้วใจความหลักมัก 
อยู่ในประโยคแรกๆ ของแต่ละย่อหน้า สิ่ง 
ที่เป็นจุดเด่นของบทความประเภทนี้คือมัก 
จะมีแผนภูมิ หรือรูปภาพประกอบครับ ซึ่ง 
ถ้าเรายังหาใจความสำคัญไม่ได้อาจไปอ่านที่รูปภาพประกอบก่อนได้ครับ 
จะทำให้เราทำความเข้าใจในเนื้อหาได้ดีขึ้น โดยมากรูปภาพประกอบนั้น 
จะเป็นข้อสรุปของเรื่องที่เราอ่านในแต่ละหัวข้อนั่นเอง 
เป็นอย่างไรบ้างครับ สำหรับเทคนิคและเคล็ดลับในการอ่านบทความ 
วิชาการอย่างง่าย หวังว่าคงจะเป็นประโยชน์แก่ท่านผู้อ่านทุกๆ ท่าน 
นะครับ ในคราวหน้าผมจะมาเขียนเพิ่มเติมในตอนที่ 2 ครับว่าในแต่ละ 
ส่วนของบทความวิจัยนั้นมีประโยคหรือคำศัพท์ใดที่เราต้องหาให้ได้หรือ 
เป็นกุญแจสำคัญที่ทำให้เราอ่านและทำความเข้าใจในบทความวิจัยภาษา 
อังกฤษได้เร็วและง่ายยิ่งขึ้น แล้วพบกันฉบับหน้าครับ 
เอกสารอ้างอิง  Blog เรื่อง การอ่านบทความวิจัยเพื่อค้นคว้าข้อมูล ของ 
ผศ.ดร.ภาวดี ภักดี สามารถเข้าอ่านเพิ่มเติมได้ที่ http://www.learners.in.th/blog/ 
paew5/91692

Contenu connexe

Plus de Mahidol University, Thailand

Plus de Mahidol University, Thailand (11)

Laboratory diagnosis of viral infection
Laboratory diagnosis of viral infectionLaboratory diagnosis of viral infection
Laboratory diagnosis of viral infection
 
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 5
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 5อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 5
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 5
 
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 4
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 4อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 4
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 4
 
บทความเรื่อง "การเรียนรู้ตลอดชีวิต"
บทความเรื่อง "การเรียนรู้ตลอดชีวิต"บทความเรื่อง "การเรียนรู้ตลอดชีวิต"
บทความเรื่อง "การเรียนรู้ตลอดชีวิต"
 
บทความ Youtube เวปที่มากกว่าบันเทิง
บทความ Youtube เวปที่มากกว่าบันเทิงบทความ Youtube เวปที่มากกว่าบันเทิง
บทความ Youtube เวปที่มากกว่าบันเทิง
 
Bacteria identification
Bacteria identificationBacteria identification
Bacteria identification
 
Stem cell and gene therapy
Stem cell and gene therapyStem cell and gene therapy
Stem cell and gene therapy
 
Regulation of gene expression
Regulation of gene expressionRegulation of gene expression
Regulation of gene expression
 
Mutation and DNA repair
Mutation and DNA repairMutation and DNA repair
Mutation and DNA repair
 
PCR primer design
PCR primer designPCR primer design
PCR primer design
 
Principle of PCR
Principle of PCR Principle of PCR
Principle of PCR
 

อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 1

  • 1. à¡çºÁÒàÅ‹ÒÊÙ‹¡Ñ¹¿˜§...àÃ×èͧ อ่านบทความวิจัยภาษาอังกฤษ äÁ‹ÂÒ¡Í‹ҧ·Õè¤Ô´ (1) ” โดย ทนพ. เมธี ศรีประพันธ์ สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งหนึ่งนะครับ ในฉบับที่ผ่านๆ มา ผมได้เขียนเรื่องราวของเว็บไซต์ต่างๆ ที่เราสามารถใช้ประโยชน์ในการ ศึกษาหาความรู้หรือติดตามความก้าวหน้าในวงการแพทย์ รวมถึงเว็บไซต์ที่เป็นคลังของเอกสาร ไม่ว่าจะเป็นไฟล์ Microsoft Word, PowerPoint หรือไฟล์ PDF ในฉบับนี้ผมจะขอเปลี่ยนมาเล่าเรื่องในอีกแง่มุมหนึ่งครับ ในเรื่องของการอ่านบทความทางวิชาการภาษาอังกฤษ ฟังดูอาจดูยากหรือเครียด แต่ผมจะทำให้ ทุกท่านสนุกกับการอ่านด้วยเทคนิคการอ่านและการดูบทความแบบง่ายๆ สำหรับผู้ที่เริ่มต้นอ่านใหม่ๆ หรือผู้ที่ต้องการอ่านบทความให้ได้อย่างรวดเร็วครับ ผมได้มีโอกาสอ่านบทความที่เขียนใน Blog ของอาจารย์ภาวดี ภักดี เรื่อง “การ อ่านบทความวิจัยเพื่อค้นคว้าข้อมูล” ซึ่ง มีหลายแง่มุมที่น่าสนใจมากๆ ครับสามารถ นำไปประยุกต์ใช้ทั้งการอ่านบทความที่เป็น ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ผมได้ลองเข้า อ่านบทความอื่นๆ ของท่านพบว่ามีหลาย เรื่องที่น่าสนใจเช่นกัน ท่านผู้อ่านสามารถลอง เข้าไปอ่านได้นะครับ ในที่นี้ผมจะเล่าถึงเรื่อง เกี่ยวกับการอ่านบทความวิจัยอย่างเดียวครับ สิ่งที่พบได้อย่างมากสำหรับผู้ที่เริ่มแรก ในการอ่านบทความวิจัยหรือวิชาการที่เป็นภาษาอังกฤษคือ “เราจะอ่าน อย่างไร ทำอย่างไรถึงจะเข้าใจบทความนั้นๆ ได้เร็วที่สุด เราจำเป็น หรือไม่ที่ต้องอ่านทุกตัวอักษรหรือทุกประโยคในบทความนั้นๆ” คำ ตอบก็คือ ขึ้นกับจุดมุ่งหมายของเราในการอ่านบทความนั้นๆ เช่น ถ้าเรา ต้องการรู้ข้อสรุปคร่าวๆ ของบทความวิจัยนั้นเราอาจอ่านแค่ส่วนบทคัดย่อ (Abstract) ก็ได้ แต่ถ้าเราต้องการรู้วิธีการศึกษาวิจัยในบทความนั้นๆ อาจ ต้องเน้นอ่านที่ส่วน “Materials and Methods” ถ้าเราต้องการรู้ในเรื่อง บทสรุปและข้อวิจารณ์ ข้อจำกัดในการทดลองและแนวทางที่เราสามารถนำ ไปศึกษาต่อยอดได้ อาจต้องเน้นอ่านที่ “Results and Discussion” แต่ ถ้าเราอ่านเพื่อนำไปสรุปงานวิจัยทั้งหมดให้ผู้อื่นฟังเช่นในงานสัมมนาต่างๆ อาจต้องอ่านทุกหัวข้ออย่างละเอียดและต้องหาข้อมูลเพิ่มเติมนอกเหนือ จากบทความนั้นๆ มาประกอบ เป็นต้น ซึ่งโดยสรุป อย่างไรก็ตามส่วนแรก ที่เราจะลืมไม่ได้ในการเริ่มอ่านคือส่วนที่เป็น “หัวข้องานวิจัย” และ “ส่วน บทคดัยอ่ครบั” และถา้มีเวลาผมแนะนาํใหอ้า่นในทุกๆ สว่นของบทความ วิจัยรวมถึงส่วนที่เป็นเอกสารอ้างอิงด้วยครับ ก่อนที่จะเข้าสู่หลักการอ่านบทความ วิชาการหรือวิจัยภาษาอังกฤษแบบง่ายๆ ผมจะ ขอเล่าก่อนว่า บทความวิจัยภาษาอังกฤษที่เรา เห็นกันมีกี่ประเภทนะครับ โดยทั่วไปการแบ่ง ประเภทของบทความวิจัยนั้น จะขึ้นอยู่กับแต่ละ วารสาร (Journal) นั้นๆ ผมจะขอสรุปเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ เพื่อง่ายต่อการเข้าใจคือ บทความวิชาการที่ไม่มีกระบวนการทดลองหรือกระบวนการวิจัยหรือ “Review article” กับบทความวิชาการที่มีกระบวนการทดลองหรือวิจัย ประกอบหรือ “Research article” โดยทั้งสองประเภทนี้จะมีส่วนที่เป็น บทคัดย่อหรือส่วน Introduction เหมือนกัน แต่ต่างกันคือบทความที่ไม่มี กระบวนการทดลองหรือวิจัยประกอบนั้นจะเป็นการเขียนอธิบายหลักการ หัวข้อที่น่าสนใจต่างๆ คล้ายกับตำราเรียนเล่มหนึ่งแต่เป็นตำราเรียนฉบับ ย่อๆ ที่เน้นเฉพาะหัวเรื่องใดหัวเรื่องหนึ่ง แต่ในบทความวิจัยนั้นจะมีการ เขียนแยกเป็นส่วนต่างๆ เช่น Introduction, Materials and Meth-ods, Results และ Discussion 2 สมมาาคมเเททคนนิิคกกาารแแพพทยย์์แแหห่่งปรระะเเททศไไททย หลักการอ่านบทความวิชาการหรือบทความวิจัยแบบง่ายๆ อย่าง ประสิทธิภาพนั้นไม่ควรแปลศัพท์ทุกตัวเพื่ออ่านทุกๆ ตัวอักษร แต่ควร อ่านและแปลใจความสำคัญจากรูปประโยคนั้นๆ โดยในแต่ละส่วนของ บทความวิจัยหรือวิชาการควรอ่านหรือทำความเข้าใจในประโยคแรกๆ สัก 1-2 ประโยคก่อน ถ้าไม่เข้าใจหรือจับใจความไม่ได้จึงอ่านประโยคถัดๆ ไป ซึ่งโดยมากใจความสำคัญของแต่ละย่อหน้าหรือหัวข้อนั้นจะอยู่ประโยค แรกๆ ส่วนประโยคต่อๆ มามักเป็นการขยายความหรือเหตุผลสนับสนุน เสียมากกว่า เมื่อเราอ่านลงในรายละเอียดของบทความวิจัยต้องทำความเข้าใจใน แต่ละส่วนไม่ว่าจะเป็น ส่วน Introduction, Materials and Methods, Results และ Discussion โดยมีหลักโดยสรุปดังนี้คือ Introduction  ต้องหาว่าบทความวิจัยนั้นทำอะไรทำไมต้องทำ ใครทำแล้วบ้าง จุดประสงค์ของงานวิจัยคืออะไร Materials and Methods  ต้องหาให้ได้ว่าวิธีการศึกษาทำอย่างไร Results  ต้องหาให้ได้ว่างานวิจัยที่อ่านนั้นพบอะไร ได้ผล อย่างไร Discussion  สิ่งที่ค้นพบในงานวิจัยที่อ่านนั้นมีความหมาย อย่างไร นำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างไร ในส่วนของบทความวิจัยที่เป็น Review article ก็ ใช้หลักเช่นเดียวกันครับ โดยสิ่งสำคัญคือต้องหา ให้ได้ว่าบทความนั้นอธิบายใจความสำคัญ อย่างไร โดยอย่างยิ่งแล้วใจความหลักมัก อยู่ในประโยคแรกๆ ของแต่ละย่อหน้า สิ่ง ที่เป็นจุดเด่นของบทความประเภทนี้คือมัก จะมีแผนภูมิ หรือรูปภาพประกอบครับ ซึ่ง ถ้าเรายังหาใจความสำคัญไม่ได้อาจไปอ่านที่รูปภาพประกอบก่อนได้ครับ จะทำให้เราทำความเข้าใจในเนื้อหาได้ดีขึ้น โดยมากรูปภาพประกอบนั้น จะเป็นข้อสรุปของเรื่องที่เราอ่านในแต่ละหัวข้อนั่นเอง เป็นอย่างไรบ้างครับ สำหรับเทคนิคและเคล็ดลับในการอ่านบทความ วิชาการอย่างง่าย หวังว่าคงจะเป็นประโยชน์แก่ท่านผู้อ่านทุกๆ ท่าน นะครับ ในคราวหน้าผมจะมาเขียนเพิ่มเติมในตอนที่ 2 ครับว่าในแต่ละ ส่วนของบทความวิจัยนั้นมีประโยคหรือคำศัพท์ใดที่เราต้องหาให้ได้หรือ เป็นกุญแจสำคัญที่ทำให้เราอ่านและทำความเข้าใจในบทความวิจัยภาษา อังกฤษได้เร็วและง่ายยิ่งขึ้น แล้วพบกันฉบับหน้าครับ เอกสารอ้างอิง  Blog เรื่อง การอ่านบทความวิจัยเพื่อค้นคว้าข้อมูล ของ ผศ.ดร.ภาวดี ภักดี สามารถเข้าอ่านเพิ่มเติมได้ที่ http://www.learners.in.th/blog/ paew5/91692