SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  38
ศาสนาซิกข์
ความเป็นมาของศาสนา
ศาสนาซิกข์ เป็นศาสนาที่ก่อตั้งขึ้นมาโดย พระศาสดา ศรี คุรุ
นานัก เดว ยิ ในปี พ.ศ. 2012 (ค.ศ. 1469) โดย ท่าน
คุรุ นานัก เดว ยิ เป็นผู้ที่ได้ตั้งหลักธรรมและคาสอนพื้นฐานของ
ศาสนาซิกข์ขึ้นมา ศาสนาซิกข์เป็นศาสนาที่ตั้งอยู่บนรากฐานแห่ง
ความจริงและเน้นความเรียบง่าย สอนให้ทุกคนยึดมั่นและศรัทธาใน
พระเจ้าแต่เพียงพระองค์เดียว
ศาสนาซิกข์เป็นศาสนาที่เน้นในหลักของการปฏิบัติ เป็นศาสนาแห่ง
ความเชื่อมั่นและศรัทธา การมองโลกในแง่ดีและอย่างมีความหวังด้วย
เหตุและผล สนับสนุนด้วยปรัชญาศาสตร์เพื่อความก้าวหน้าของมวล
มนุษย์ศาสนา ศาสนาซิกข์แนะแนวแห่งการดารงชีวิตอย่างมีคุณค่า
และการอุทิศตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวม อาจกล่าวได้ว่า
ศาสนาซิกข์เป็นศาสนาที่สาคัญศาสนาหนึ่งในปัจจุบันนี้ ศาสนาซิกข์
สอนให้ทุกคนมีความเท่าเทียมกัน คนทุกเชื้อชาติ ทุกศาสนา และทุก
ชนชั้นวรรณะ ต่างก็เสมอภาคกัน เมื่ออยู่เบื้องหน้าพระเจ้า
ศาสดาและสาวก
1.พระศาสดาคุรุนานัก เกิดเมื่อปี
พ.ศ.๒๐๑๒ ในตระกูลไรภู ณ
ตาบลทวันตี ราวประมาณ ๔๐ ไมล์
ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเมือง
ละฮอร์ ปัจจุบันอยู่ในประเทศ
ปากีสถาน บิดาของท่านนามว่า เมร
ทากัลยาณจันท์ (กาลู) เป็นชาวฮินดู
วรรณะกษัตริย์เปดี
2.พระศาสดาคุรุอังคัท (พ.ศ.
๒๐๘๒-๒๐๙๕) เป็นศิษย์ที่คุรุนา
นักรักมาก เป็นนักภาษาศาสตร์ได้
รวบรวมบทประพันธ์และชีวประวัติของ
คุรุนานักขึ้น ได้ตั้งศูนย์เผยแผ่คา
สอนขึ้นหลายแห่ง ทาให้ชาวซิกข์มี
ความสมัครสมานใกล้ชิดกันยิ่งขึ้น
3.พระศาสดาคุรุอมัรทาส (พ.ศ.
๒๐๙๕-๒๑๑๗) เป็นนักปฏิรูป
สังคมท่านสอนว่าสตรีมีสิทธิหลุดพ้น
ได้ ทั้งคัดค้านการคลุมหน้าของสตรี
และเผาตัวทั้งเป็นเมื่อสามีสิ้นชีวิตตาม
คาสอนในศาสนาฮิน
4.พระศาสดาคุรุรามทาส (พ.ศ.
๒๑๑๗-๒๑๒๔) ท่านสร้าง
ศูนย์กลางศาสนาซิกข์ขึ้น ณ เมือง
อมฤตสาร มีการขุดสระอมฤตขึ้น
เมืองรอบๆสระนั้นชื่อว่ารามทาสปูร์
ตามชื่อของท่าน ท่านตั้งแบบแผนผู้
สืบทอดตาแหน่งต้องเป็นเชื้อสาย
 5.พระศาสดาคุรุอรชุน (พ.ศ.๒๑๒๔-
๒๑๔๙) ท่านได้สร้างสุวรรณวิหารขึ้น
กลางสระอมฤต และรวบรวมคาสอนของ
แต่ละพระศาสดาเป็นคัมภีร์ชื่อ อาทิครันถ์
ซาฮิบรวมทั้งข้อเขียนของชาวฮินดูและ
มุสลิมรวมด้วย ท่านได้ประกาศแยกตัว
ศาสนาซิกข์ออกจากศาสนาฮินดูและ
อิสลาม จนท่านถูกพระจักรพรรดิมุสลิม
แห่งราชวงศ์โมกุลสั่งจับเอาไปทรมานไว้จน
สิ้นพระชนม์
 6.พระศาสดาคุรุหริโควินท์ (พ.ศ.๒๔๑๙-
๒๑๘๘) ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของคุรุอรชุน
ท่านได้ประกาศวิธีการใหม่ของศาสนาซิกข์คือ
การสร้างป้อมปราการพร้อมทั้งฝึกทหาร
พร้อมทั้งให้โอวาทแก่ศิษย์ว่า “เราต้องพร้อมที่
จะสละชีวิตของตนเพื่อคุรุอรชุน” ท่านเป็นคุรุ
พระองค์แรกที่ใช้ดาบป้องกันเมืองและศาสนา ใช้
กาน้าคู่กับดาบเป็นสัญลักษณ์ซึ่งหมายถึง
อานาจทางโลกและทางธรรม ท่านจึงเป็นทั้ง
นักรบและนักเผยแผ่ศาสนา ช่วงนี้มีศาสนิกชน
จานวนมากเข้าสู่ศาสนาซิกข์
7.พระศาสดาคุรุหริไร (พ.ศ.
๒๑๘๘-๒๒๐๔) ท่านทาให้ศาสนา
ซิกข์มีความเจริญรุ่งเรือง มีกอง
ทหารที่เข้มแข็ง และสามารถทาให้
บุคคลสาคัญในศาสนาฮินดูหันมานับ
ถือศาสนาซิกข์ได้
8.พระศาสดาคุรุหริกฤษัน (พ.ศ.
๒๒๐๔-๒๒๐๗) ท่านสิ้นพระชนม์
เมื่อพระชนม์ ๙ พรรษา
9.พระศาสดาคุรุเตฆพทุร์ (พ.ศ.
๒๒๐๗-๒๒๑๘) ท่านเป็นวีรบุรุษที่
หาญกล้า ในสมัยพระเจ้าโอรังเซบท่าน
ได้ถูกจับไปยังกรุงเดลีและบังคับให้
ท่านเปลี่ยนศาสนา แต่ท่านไม่ยอมจึง
ถูกประหารชีวิตและสับร่างกายเป็น ๔
ท่อน เอาไปแขวนประจานไว้ที่ป้อม
ประตูทั้ง ๔ ทิศของกรุงเดลี
 10.พระศาสดาคุรุโควินทสิงห์ (พ.ศ.
๒๒๑๘-๒๒๕๑) ท่านได้รับการขนานนามว่า
“นักบุญผู้เป็นทหาร” ท่านได้รับหน้าที่เป็นพระ
ศาสดาเมื่อพระชนม์ ๙ พรรษา ซึ่งเป็นช่วงที่
ชาวซิกข์เกิดความปั่นป่วนวุ่นวาย เพราะถูก
กลุ่มมุสลิมเบียดเบียน ชาวซิกข์บางคนเกรง
กลัวจนไม่กล้าแสดงตนเป็นศาสนสนิก ท่านได้
ตั้งศูนย์กลางเผยแผ่ศาสนาขึ้นที่เมืองธากา
หรือตักกา และรัฐอัสสัม
นิกายของศาสนา
นิกายของสาสนาซิกข์ที่สาคัญมีอยู่ 2 นิกาย คือ
นิกายนานักปันถิ หรือสหัชธรี นิกายนี้หนักไปในทางนับถือคุรุนานัก
จึงดารงชีวิตอยู่อย่างเรียบง่าย ดาเนินรอยตามคุรุนานัก นิกายนี้โกน
ผมโกนหนวดเคราได้
นิกายขาลสา หรือสิงห์ นิกายนี้นับถือหนักไปทางคุรุโควินทสิงห์ผู้ที่
นับถือนิกายนี้จะไว้ผมยาวตลอดทั้งหนวดเครายาว โดยไม่ตัดหรือโกน
ตลอดชีวิต
คัมภีร์ทางศาสนา
ศาสนาซิกข์มีคัมภีร์ที่สาคัญคือ ครันถะ สาหิบ (The Lord
Book) คาว่า ครันถะตรงกับภาษาบาลีว่า คันถะ แปลว่า คัมภีร์
ส่วนคาว่าสาหิบ แปลว่า พระ ดังนั้นครันภะ สาหิบ แปลว่า พระคัมภีร์
นั่นเอง แบ่งออกเป็น 2 ส่วนคืออาทิครันถะ สาหิบ และทสมครันภะ
สาหิบ คัมภีร์ครันถะ สาหิบ เป็นคาร้อยกรอง เป็นบทกวี มีทั้งหมด
29480 โศลก ปัจจุบันชาวซิกข์ได้เก็บคัมภีร์นี้ในสุวรรณวิหาร
กลางสระน้า อมฤตสระ ในแคว้นปัญจาบ โดยยชาวซิกข์ถือว่าพระคัมภีร์
เปรียบเสมือนพระเจ้าจึงเฝ้าปฏิบัติดูแลเป็นอย่างดี
สัญลักษณ์ทางศาสนา
สัญลักษณ์ เอก โองการ
เป็นสัญลักษณ์ที่แสดงว่า ชาวซิกข์นับถือและเชื่อมั่นใน
พระเจ้าแต่เพียงพระองค์เดียว
สัญลักษณ์เครื่องหมายเกียรติยศ (คันด้า)
ชาวซิกข์ได้ยอมรับเครื่องหมายนี้เป็นสัญลักษณ์แห่ง
เกียรติยศแห่งศาสนาของตน
สัญลักษณ์ธงชัยประจาศาสนาซิกข์ (นีชาน ซาฮิบ)
สัญลักษณ์ของความเป็นเอกภาพของชาวซิกข์ และแสดงถึงหนทางที่จะ
ช่วยให้เราทุกคนให้พ้นจากทุกข์และภยันตรายทั้งปวง
หลักคาสอนที่สาคัญ
องค์ไตรรัตน์
ศีล 5 ประการ
หลักธรรมประจาชีวิตหรือศีล 21 ประการ
การเข้าถึงนิรวาณ
พระเจ้าผู้เป็นอันติมสัจจ์
พิธีกรรมและประเพณีทางศาสนาที่สาคัญ
 พิธีปาหุล
พิธีล้างบาป เมื่อเสร็จพิธีแล้วก็จะรับเอา ‘ก’ ทั้ง 5 ประการ
1. เกศ การไม่ตัดผม
2. กังฆา หวีขนาดเล็ก
3. กฉา กางเกงขาสั้น
4. กรา กาไลมือทาด้วยเหล็ก
5. กิรปาน ดาบ
 พิธีรับน้าอมฤต (Baptism)
พิธีที่แสดงความเป็นซิกข์ที่ดี และเป็นการรับคนเข้าในศาสนา
 ประเพณีการเล่นดนตรีสวรรค์ (Kirtan)
เป็นการแสดงออกในความเคารพในพระผู้เป็นเจ้า
 ประเพณีการโพกศรีษะ (Turban หรือ Dastar)
แสดงถึงการความสืบเนื่องทางศาสนา จากรุ่นต่อรุ่น
 ประเพณีครัวทาน (Free Kitchen)
ครัวที่เปิดให้คนทั่วไปได้รับประทานอาหารร่วมกันโดยไม่แบ่งวรรณะ
เป้าหมายสูงสุด
ชาวซิกข์เชื่อว่าวิญญาณเป็นอมตะจึงไม่ตายอย่างร่างกาย แต่ยังคงเวียน
ว่ายตายเกิดอยู่ในสังสารวัฏเพราะมีกิเลส และตราบที่ยังมีกิเลสก็ต้อง
เวียนว่ายตายเกิดอยู่ร่าไป จึงต้องตัดกิเลสทั้งปวงออกไปเพื่อที่จะได้ไป
อยู่กับพระเจ้าชั่วนิรันดร โดยการทาสมาธิเพ่งพระเจ้าเป็นอารมณ์ และ
บริกรรมถึงพระนามของพระองค์ตลอดจนถึงจงรักภักดีต่อพระองค์
ด้วย
ภาพประกอบศาสนาซิกข์
พระสุวรรณวิหาร เมืองอมฤตสาร รัฐปัญจาบ สาธารณรัฐอินเดีย
ศาสนสถานศักดิ์สิทธิ์ของชาวซิกข์
อกาล ตาคัท ซาฮิบ สถานที่ประดิษฐานพระอาทิ ครันถ์ ซาฮิบ
เมืองอมฤตสาร รัฐปัญจาบ สาธารณรัฐอินเดีย
ซุ้มประตูทางเข้าพระสุวรรณวิหาร
สะพานข้ามไปพระสุวรรณวิหาร
ศาสนาซิกข์ไม่มีนักบวชหรือพระ มีแต่ผู้ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา
ประจาวันเรียกว่า ครีนธี่, เรียกศาสนาจารย์ผู้ทาหน้าที่สวดภาวนา
ว่า ราฆี้ และเรียกสังคีตาจารย์ผู้ทาหน้าที่ร้องบทสวดว่า กีรตัน
ศาสนาจารย์ผู้ทาหน้าที่อ่านพระคัมภีร์เรียกว่า ปาธี ในภาพกาลัง
อ่านพระคัมภีร์ซึ่งมีผ้าคลุมหรือจันโดอาปิดไว้ พระมหาคัมภีร์ถูก
ประดิษฐานบนแคร่ที่ทาด้วยไม้, ทองคา, หินอ่อน เรียกว่า ปาลกี
โรงครัวพระศาสดาเป็นสถานที่สาหรับรองรับผู้แสวงบุญโดยไม่แบ่ง
ชั้นวรรณะใดๆทั้งสิ้น เป็นอาคารขนาดใหญ่มีด้วยกัน ๒ ชั้น ในแต่
ละชั้นบรรจุคนได้ไม่ต่ากว่า ๕๐๐ คน มีหมุนเวียนกันเข้ามา
รับประทานอาหารตลอดทั้งวันและทั้งคืน
มีเจ้าหน้าที่คอยบริการอาหารและเครื่องดื่ม
ส่วนบนสุดตรงโดมของพระวิหารทองคามีศาสนาจารย์คอยอ่านพระ
มหาคัมภีร์ตลอดเวลา
นายทวารบาลผู้คอยดูแลความปลอดภัยในศาสนสถาน
ชาวซิกข์ร่วมอาบน้าเพื่อแสดงความระลึกถึงพระศาสดา
บิดานาบุตรมาอาบน้าเพื่อสอนวิถีแห่งซิกข์
บรรยากาศยามเย็นในพระวิหารทองคา
ก่อนที่พระอาทิตย์จะลับขอบฟ้า
พิธีอัญเชิญพระมหาคัมภีร์
พระมหาคัมภีร์บนพระแท่นเสลี่ยงประดับตกแต่งด้วยดอกไม้และของ
หอม
ชาวซิกข์ไม่ว่าเด็กเล็กหรือผู้ใหญ่ต้องรักษาไว้ซึ่งผม หนวดเคราให้
สะอาดเรียบร้อยเสมอ

Contenu connexe

Tendances

ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากลThanaponSuwan
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3O'Orh ChatmaNee
 
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันleemeanshun minzstar
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย Bom Anuchit
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับniralai
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาPadvee Academy
 
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์Proud N. Boonrak
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกบทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกWichai Likitponrak
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนพัน พัน
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3New Nan
 
โคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติโคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติพัน พัน
 
กรุงศรีอยุธยากับการปกครอง ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f07-1page
กรุงศรีอยุธยากับการปกครอง ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f07-1pageกรุงศรีอยุธยากับการปกครอง ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f07-1page
กรุงศรีอยุธยากับการปกครอง ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f07-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 

Tendances (20)

ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากล
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
 
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกบทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
 
โคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติโคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติ
 
กรุงศรีอยุธยากับการปกครอง ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f07-1page
กรุงศรีอยุธยากับการปกครอง ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f07-1pageกรุงศรีอยุธยากับการปกครอง ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f07-1page
กรุงศรีอยุธยากับการปกครอง ประวัติศาสตร์ ป.5+583+55t2his p05 f07-1page
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 

Plus de Nattha Namm

แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวNattha Namm
 
ธาตุหมู่ 6A
ธาตุหมู่ 6Aธาตุหมู่ 6A
ธาตุหมู่ 6ANattha Namm
 
ภูเขาไฟ
ภูเขาไฟภูเขาไฟ
ภูเขาไฟNattha Namm
 
แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวNattha Namm
 
ดินถล่ม
ดินถล่มดินถล่ม
ดินถล่มNattha Namm
 
ผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรป
ผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรป
ผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปNattha Namm
 
สงครามเวียดนาม
สงครามเวียดนามสงครามเวียดนาม
สงครามเวียดนามNattha Namm
 
หลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนหลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนNattha Namm
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางNattha Namm
 
อาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัยอาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัยNattha Namm
 
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อม
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อมแผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อม
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อมNattha Namm
 
ตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยา
ตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยาตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยา
ตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยาNattha Namm
 
ใบความรู้ ลิ้น
ใบความรู้ ลิ้นใบความรู้ ลิ้น
ใบความรู้ ลิ้นNattha Namm
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นNattha Namm
 

Plus de Nattha Namm (14)

แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหว
 
ธาตุหมู่ 6A
ธาตุหมู่ 6Aธาตุหมู่ 6A
ธาตุหมู่ 6A
 
ภูเขาไฟ
ภูเขาไฟภูเขาไฟ
ภูเขาไฟ
 
แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหว
 
ดินถล่ม
ดินถล่มดินถล่ม
ดินถล่ม
 
ผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรป
ผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรป
ผลกระทบจากการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรป
 
สงครามเวียดนาม
สงครามเวียดนามสงครามเวียดนาม
สงครามเวียดนาม
 
หลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนหลักการทรูแมน
หลักการทรูแมน
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
 
อาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัยอาณาจักรศรีวิชัย
อาณาจักรศรีวิชัย
 
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อม
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อมแผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อม
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อม
 
ตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยา
ตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยาตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยา
ตามรอยภาพความเจริญสมัยอยุธยา
 
ใบความรู้ ลิ้น
ใบความรู้ ลิ้นใบความรู้ ลิ้น
ใบความรู้ ลิ้น
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 

ศาสนาซิกข์