SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  6
สถาปัตยกรรมเครือข่ายรูปแบบ OSI
ในปี ค.ศ. 1977 องค์กร ISO (international Oraganization for Standard)ได้จัดตั้งคณะ
กรรมการขึ้นกลุ่มหนึ่ง เพื่อทาการศึกษาจัดรูปแบบมาตราฐาน และพัฒนาสถาปัตยกรรมเครือข่าย
และใน ปี ค.ศ. 1983 องค์กร ISO
ก็ได้ออกประกาศรูปแบบของสถาปัตยกรรมเครือข่ายมาตราฐานในชื่อของ "รูปแบบ OSI " (Open
System Interconnection Model) เพื่อใช้เป็นรูปแบบมาตราฐานในการเชื่อมต่อระบบ คอมพิวเตอร
อักษร์ "O" หรือ "Open" ก็ หมายถึง การที่คอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์หนึ่งสามารถ"เปิด"
กว้างให้คอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นที่ใช้มาตราฐาน OSI
เหมือนกันสามารถติดต่อไปมาหาสู่ระหว่างกันได้จุดมุ่งหมายของการกาหนดการแบ่งโครงสร้างของ
สถาปัตยกรรมเครือข่ายออกเป็นเลเยอร์ ๆ และกาหนดหน้าที่การทางานในแต่ละเลเยอร์
รวมถึงกาหนดรูปแบบการอินเตอร์เฟซระหว่างเลเยอร์ด้วย โดยมีหลักเกณฑ์ในการกาหนดดังต่อไปนี้
1. ไม่แบ่งโครงสร้างออกเป็นเลเยอร์ ๆมากเกินไป
2. แต่ 2. ละเลเยอร์จะต้องมีการทางานแตกต่างกันทั้งขบวนการและเทคโนโลยี
3. 3. จัดกลุ่มหน้าที่การทางานที่คล้ายกันให้อยู่ในเลเยอร์เดียวกัน
4. เลือกเฉพาะการทางานที่เคยใช้ได้ผลประสบความสาเร็จแล้ว
1. 5. กาหนดหน้าที่การทางานเฉพาะง่ายๆ แก่เลเยอร์ เผื่อว่าในอนาคตถ้ามีการออกแบบเลเยอร์
6.1 6. กาหนดอินเตอร์เฟซมาตรฐาน
1. 7. ให้มีการยืดหยุ่นในการเปลี่ยนแปลงโปรโตคอลในแต่ละเลเยอร์
8 8. สาหรับเลเยอร์ของแต่ละเลเยอร์ให้ใช้หลักเกณฑ์เดียวกันกับที่กล่าวมาใน 7ข้อแรก
สถาปัตยกรรมรูปแบบ OSI
หน้าที่การทางานของเลเยอร์แต่ละชั้นในสถาปัตยกรรม OSI
สถาปัตยกรรมรูปแบบ OSI ที่ได้ประกาศออกสู่สาธารณชนมีรูปแบบดังแสดงในรูปด้านบน และ
สถาปัตยกรรมรูปแบบ OSI สาหรับการสื่อสารผ่านเครือข่ายเป็นดังที่แสดงในรูปด้านล่าง รูปแบบ OSI
มีการ แบ่งโครงสร้างของสถาปัตยกรรมออกเป็น 7 เลเยอร์
และในแต่ละเลเยอร์ได้มีการกาหนดหน้าที่การทางานไว้ ดังต่อไปนี้
1.เลเยอร์ชั้น Physicalเป็นชั้นล่างที่สุดของการติดต่อสื่อสารทาหน้าที่ส่ง-
รับข้อมูลจริงๆจากช่องทางการสื่อสาร (สื่อกลาง)
ระหว่างคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆมาตรฐานสาหรับ เลเยอร์
ชั้นนี้จะกาหนดว่าแต่ละคอนเนคเตอร์ (Connector) เช่น RS-232-C มีกี่พิน(pin) แต่ละพินทาหน้า
ที่อะไรบ้าง ใช้สัญญาณไฟกี่โวลต์ เทคนิคการมัลติเพล็กซ์แบบต่างๆ ก็จะถูกกาหนดอยู่ในเลเยอร์ชั้นนี้
2. เลเยอร์ชั้น Data Link จะเป็นเสมือนผู้ตรวจสอบ
หรือควบคุมความผิดพลาดในข้อมูลโดยจะแบ่งข้อมูลที่จะส่งออกเป็นแพ็กเกจหรือเฟรม
ถ้าผู้รับได้รับข้อมูลถูกต้องก็จะส่งสัญญาณยืนยันกลับมาว่า ได้รับ ข้อมูลแล้ว เรียกว่า สัญญาณ ACK
(Acknowledge) ให้กับผู้ส่ง แต่ถ้าผู้ส่งไม่ได้รับสัญญาณ ACK หรือได้รับ สัญญาณ NAK (Negative
Acknowledge) กลับมา ผู้ส่งก็อาจจะทาการส่งข้อมุลไปให้ใหม่ อีกหน้าที่หนึ่ง
ของเลเยอร์ชั้นนี้คือป้องกันไม่ให้เครื่องส่งทาการส่งข้อมูลเร็วจนเกินขีดความสามารถของเครืองผู้รับจะ
รับข้อ มูลได้
3. เลเยอร์ Network เป็นชั้นที่ออกแบบหรือกาหนดเส้นทางการเดินทางของข้อมูลที่จะส่ง-
รับในการส่งผ่านข้อมูลระหว่างต้นทางและปลายทาง
ซึ่งแน่นอนว่าในการสื่อสารข้อมูลผ่านเครือข่ายการสื่อสารจะ ต้องมีเส้นทางการส่ง-รับข้อมูลมากกว่า 1
เส้นทาง ดังนั้นเลเยอร์ชั้น Network นี้จะทาหน้าที่เลือกเส้นทางที่ ใช้เวลาในการสื่อสารน้อยที่สุด
และระยะทางสั้นที่สุดด้วย ข่าวสารที่รับมาจากเลเยอร์ชั้นที่ 4จะถูกแบ่งออกเป็น แพ็กเกจ ๆ ในชั้นนี้
4. เลเยอร์ Transport บางครั้งเรียกว่า เลเยอร์ชั้น Host-to-Host หรือเครื่องต่อเครื่อง และจาก เลเยอร์ชั้นที่
4 ถึงชั้นที่7 นี้รวมกันจะเรียกว่า เลเยอร์ End-to-End ในเลเยอร์ชั้น Transport นี้เป็นการ
สื่อสารกันระหว่างต้นทางและปลายทาง (คอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์) กันจริง ๆ เลเยอร์ชั้น Transpot
จะ ทาหน้าที่ตรวจสอบว่าข้อมูลที่ส่งมาจากเลเยอร์ชั้น Session นั้นไปถึงปลายทางจริง ๆ หรือไม่
ดังนั้นการกา หนดตาแหน่งของข้อมูล(address) จึงเป็นเรื่องสาคัญในชั้นนี้
เนื่องจากจะต้องรู้ว่าใครคือผู้ส่ง และใครคือผู้รับ ข้อมูลนั้น
5. เลเยอร์ Session ทาหน้าที่เชื่อมโยงระหว่างผู้ใช้งานกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆโดยผู้ใช้จะใช้
คาสั่งหรือข้อความที่กาหนดไว้ป้ อนเข้าไปในระบบ
ในการสร้างการเชื่อมโยงนี้ผู้ใช้จะต้องกาหนดรหัสตาแหน่ง
ของจุดหมายปลายทางที่ต้องมีการติดต่อสื่อสารด้วย เลเยอร์ชั้น Session
จะส่งข้อมูลทั้งหมดให้กับเลเยอร์ชั้น Transport เป็นผู้จัดการต่อไป ในเครือข่ายทั้งเลเยอร์ Session
และเลเยอร์ Transport อาจจะเป็นเลเยอร์ ชั้นเดียวกัน
6. เลเยอร์ Presentation ทาหน้าที่เหมือนบรรณารักษ์ กล่าวคือคอยรวบรวมข้อความ (Text) และ
แปลงรหัส หรือแปลงรูปแบบของข้อมูลให้เป็นรูปแบบการสื่อสารเดียวกัน เพื่อช่วยลดปัญหาต่าง ๆ
ที่อาจจะเกิด ขึ้นกันผุ้ใช้งานในระบบ
7. เลเยอร์ Application เป็นเลเยอรชั้นบนสุดของรูปแบบ OSI ซึ่งเป็นชั้นที่ใช้ติดต่อระหว่างผู้ใช้
โดยตรงซึ่งได้แก่ โฮสต์คอมพิวเตอร์ เทอร์มินัลหรือคอมพิวเตอร์ PC เป็นต้น
แอปพลิเคชันในเลเยอรชั้นนี้ สามารถนาเข้า
หรือออกจากระบบเครือข่ายได้โดยไม่จาเป็นต้องสนใจว่ามีขั้นตอนการทางานอย่างไร เพราะจะ
มีเลเยอร์ชั้น Presentation โดยตรงเท่านั้น
สถาปัตยกรรมเครือข่ายรูปแบบ OSI
โปรโตคอลของในเลเยอร์แต่ละชั้นจะแตกต่างกันออกไปแต่อย่างไรก็ตามการที่เครื่องคอมพิวเตอร์หลา
ยๆเครื่องจะติดต่อสื่อสารกันได้ ในแต่ละเลเยอร์ของแต่ละเครื่องจะต้องใช้โปรโตคอลแบบเดียวกัน
หรือ ถ้าใช้โปรโตคอลต่างกันก็ต้องมีอุปกรณ์
หรือซอฟต์แวร์ที่สามารถแปลงโปรโตคอลที่ต่างกันนั้นให้มีรูปแบบเป็น อย่างเดียวกัน เพื่อเชื่อมโยงให้
คอมพิวเตอร์ทั้ง 2 เครื่องสามารถติดต่อกันได้
ตัวอย่างของโปรโตคอลที่ใช้ในเลเยอร์ชั้นต่างๆ ในรูปแบบ OSI แสดงไว้ในตารางด้านล่าง
เลเยอร์ มาตรฐาน รายละเอียด
7
ISO8571
ISO8572
การบริการโอนถ่าย และการแลกเปลี่ยนข้อมูล
การบริการโอนถ่าย และการแลกเปลี่ยนข้อมูล
ISO8831
ISO8832
การบริการโอนถ่าย และการแลกเปลี่ยนข้อมูล
โปรโตคอลการบริการโอนถ่าย และการแลกเปลี่ยนข้อมูล
ISO9040
ISO9041
การบริหารเทอร์มินัลแบบเสมือน
โปรโตคอลการบริหารเทอร์มินัลแบบเสมือน
CCITT X.400 ไปรษณีย์อิเล็คทรอนิกส์ และกักเก็บข่าวสาร
6 ISO8822
ISO8823
การบริหารแบบ Connection-oriented ในเลเยอร์ Presentation
โปรโตคอลการบริการแบบ Connection-oriented
ในเลเยอร์Presentation
5 ISO8326
ISO8327
การบริการแบบ Connection-oriented ในเลเยอร์ Session
โปรโตคอลการบริการแบบ Connection-oriented ในเลเยอร์
Session
4 ISO8072
ISO8073
การบริหารแบบ Connection-oriented ในเลเยอร์ Transport
โปรโตคอลการบริการแบบ Connection-orientedในเลเยอร์
Transport
3 CCITT X.25 โปรโตคอล X.25 ในเลเยอร์ Network
2 ISO8802
(IEEE 802)
CCITT X.25
โปรโตคอลสาหรับเครือข่ายท้องถิ่น (LAN)
โปรโตคอล SDLC,HDLC ในเลเยอร์ Data Link
1 CCITT X.21 ดิจิตอลอินเตอร์เฟซของเลเยอร์ Physical
เราสามารถแบ่งส่วนการทางานของสถาปัตยกรรมรูปแบบ OSI ได้ง่าย ๆ จากรูปด้านล่าง
ซ้ายมือซึ่งจัดแบ่งเลเยอร์ทั้ง 7 ชั้นออกเป็น 3 ส่วนคือส่วนของผู้ใช้งาน
ส่วนการติดต่อระหว่างเครื่องต่อเครื่องและส่วนการเชื่อมโยงต้นทางกับปลายทางสาหรับในทางขวามือ
ของรูปจะเป้นการจัดแบ่งลักษณะ การสื่อ สารออกเป็น 2 ส่วนคือส่วนดาเนินการโดยผู้ใช้งาน
และอีกส่วนหนึ่งเป็นการดาเนินการโดยเครือข่าย
สถาปัตยกรรมรูปแบบ OSI แบ่งแยกตามส่วนการทางาน
ถ้าเรากล่าวถึงการติดต่อเชื่อมโยงการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยัง
คอมพิวเตอร์ อีกเครื่องหนึ่ง ให้แบ่งกลุ่มการทางานของเลเยอร์ตามทางซ้ายมือของรูป
แต่จะเป็นเรื่องของ โปรโตคอลซึ่งทาหน้าที่ในการกาหนดการสื่อสาร และควบคุมจัดการสื่อสาร
ขอให้ยึดแบบการแบ่งลักษณะของ การสื่อสารตามทางขวามือเป็นหลัก ตัวอย่าง
เช่นการสื่อสารข้อมูลโดยผ่านเครือข่าย X.25 ของเครือข่ายจะ ทาหน้าที่ในการสื่อสารใน 3
เลเยอร์ชั้นล่างของรูปแบบ OSI ส่วนของเลเยอร์ 4 ชั้นที่เหลือจะเป็นโปรโตคอล
สาหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างผู้ใช้งาน

Contenu connexe

En vedette

Company Definition, Meaning, Features, Types and Structure
Company Definition, Meaning, Features, Types and StructureCompany Definition, Meaning, Features, Types and Structure
Company Definition, Meaning, Features, Types and StructureThejas Perayil
 
Script Draft Three
Script Draft ThreeScript Draft Three
Script Draft Threeaimeelee12
 
Lifting of corporate veil
Lifting of corporate veilLifting of corporate veil
Lifting of corporate veilAmandeep Kaur
 
F r evaluation and outline of key changes and implementations
F r evaluation and outline of key changes and implementationsF r evaluation and outline of key changes and implementations
F r evaluation and outline of key changes and implementationscseerussell
 
Evaluation, imp, outline
Evaluation, imp, outlineEvaluation, imp, outline
Evaluation, imp, outlinecseerussell
 
Habiter la ville
Habiter la villeHabiter la ville
Habiter la villemlaugel
 

En vedette (9)

Introduction of domino pdf
Introduction of domino pdfIntroduction of domino pdf
Introduction of domino pdf
 
Company Definition, Meaning, Features, Types and Structure
Company Definition, Meaning, Features, Types and StructureCompany Definition, Meaning, Features, Types and Structure
Company Definition, Meaning, Features, Types and Structure
 
Script Draft 4
Script Draft 4Script Draft 4
Script Draft 4
 
Script Draft Three
Script Draft ThreeScript Draft Three
Script Draft Three
 
Tópicos moodle
Tópicos moodleTópicos moodle
Tópicos moodle
 
Lifting of corporate veil
Lifting of corporate veilLifting of corporate veil
Lifting of corporate veil
 
F r evaluation and outline of key changes and implementations
F r evaluation and outline of key changes and implementationsF r evaluation and outline of key changes and implementations
F r evaluation and outline of key changes and implementations
 
Evaluation, imp, outline
Evaluation, imp, outlineEvaluation, imp, outline
Evaluation, imp, outline
 
Habiter la ville
Habiter la villeHabiter la ville
Habiter la ville
 

สถาปัตยกรรมเครือข่ายรูปแบบ Osi นายธนวินท์ หว่อง ปวส.2 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ โปลี

  • 1. สถาปัตยกรรมเครือข่ายรูปแบบ OSI ในปี ค.ศ. 1977 องค์กร ISO (international Oraganization for Standard)ได้จัดตั้งคณะ กรรมการขึ้นกลุ่มหนึ่ง เพื่อทาการศึกษาจัดรูปแบบมาตราฐาน และพัฒนาสถาปัตยกรรมเครือข่าย และใน ปี ค.ศ. 1983 องค์กร ISO ก็ได้ออกประกาศรูปแบบของสถาปัตยกรรมเครือข่ายมาตราฐานในชื่อของ "รูปแบบ OSI " (Open System Interconnection Model) เพื่อใช้เป็นรูปแบบมาตราฐานในการเชื่อมต่อระบบ คอมพิวเตอร อักษร์ "O" หรือ "Open" ก็ หมายถึง การที่คอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์หนึ่งสามารถ"เปิด" กว้างให้คอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่นที่ใช้มาตราฐาน OSI เหมือนกันสามารถติดต่อไปมาหาสู่ระหว่างกันได้จุดมุ่งหมายของการกาหนดการแบ่งโครงสร้างของ สถาปัตยกรรมเครือข่ายออกเป็นเลเยอร์ ๆ และกาหนดหน้าที่การทางานในแต่ละเลเยอร์ รวมถึงกาหนดรูปแบบการอินเตอร์เฟซระหว่างเลเยอร์ด้วย โดยมีหลักเกณฑ์ในการกาหนดดังต่อไปนี้ 1. ไม่แบ่งโครงสร้างออกเป็นเลเยอร์ ๆมากเกินไป 2. แต่ 2. ละเลเยอร์จะต้องมีการทางานแตกต่างกันทั้งขบวนการและเทคโนโลยี 3. 3. จัดกลุ่มหน้าที่การทางานที่คล้ายกันให้อยู่ในเลเยอร์เดียวกัน 4. เลือกเฉพาะการทางานที่เคยใช้ได้ผลประสบความสาเร็จแล้ว 1. 5. กาหนดหน้าที่การทางานเฉพาะง่ายๆ แก่เลเยอร์ เผื่อว่าในอนาคตถ้ามีการออกแบบเลเยอร์ 6.1 6. กาหนดอินเตอร์เฟซมาตรฐาน 1. 7. ให้มีการยืดหยุ่นในการเปลี่ยนแปลงโปรโตคอลในแต่ละเลเยอร์ 8 8. สาหรับเลเยอร์ของแต่ละเลเยอร์ให้ใช้หลักเกณฑ์เดียวกันกับที่กล่าวมาใน 7ข้อแรก
  • 2. สถาปัตยกรรมรูปแบบ OSI หน้าที่การทางานของเลเยอร์แต่ละชั้นในสถาปัตยกรรม OSI สถาปัตยกรรมรูปแบบ OSI ที่ได้ประกาศออกสู่สาธารณชนมีรูปแบบดังแสดงในรูปด้านบน และ สถาปัตยกรรมรูปแบบ OSI สาหรับการสื่อสารผ่านเครือข่ายเป็นดังที่แสดงในรูปด้านล่าง รูปแบบ OSI มีการ แบ่งโครงสร้างของสถาปัตยกรรมออกเป็น 7 เลเยอร์ และในแต่ละเลเยอร์ได้มีการกาหนดหน้าที่การทางานไว้ ดังต่อไปนี้ 1.เลเยอร์ชั้น Physicalเป็นชั้นล่างที่สุดของการติดต่อสื่อสารทาหน้าที่ส่ง- รับข้อมูลจริงๆจากช่องทางการสื่อสาร (สื่อกลาง) ระหว่างคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆมาตรฐานสาหรับ เลเยอร์ ชั้นนี้จะกาหนดว่าแต่ละคอนเนคเตอร์ (Connector) เช่น RS-232-C มีกี่พิน(pin) แต่ละพินทาหน้า ที่อะไรบ้าง ใช้สัญญาณไฟกี่โวลต์ เทคนิคการมัลติเพล็กซ์แบบต่างๆ ก็จะถูกกาหนดอยู่ในเลเยอร์ชั้นนี้ 2. เลเยอร์ชั้น Data Link จะเป็นเสมือนผู้ตรวจสอบ หรือควบคุมความผิดพลาดในข้อมูลโดยจะแบ่งข้อมูลที่จะส่งออกเป็นแพ็กเกจหรือเฟรม ถ้าผู้รับได้รับข้อมูลถูกต้องก็จะส่งสัญญาณยืนยันกลับมาว่า ได้รับ ข้อมูลแล้ว เรียกว่า สัญญาณ ACK (Acknowledge) ให้กับผู้ส่ง แต่ถ้าผู้ส่งไม่ได้รับสัญญาณ ACK หรือได้รับ สัญญาณ NAK (Negative Acknowledge) กลับมา ผู้ส่งก็อาจจะทาการส่งข้อมุลไปให้ใหม่ อีกหน้าที่หนึ่ง ของเลเยอร์ชั้นนี้คือป้องกันไม่ให้เครื่องส่งทาการส่งข้อมูลเร็วจนเกินขีดความสามารถของเครืองผู้รับจะ รับข้อ มูลได้ 3. เลเยอร์ Network เป็นชั้นที่ออกแบบหรือกาหนดเส้นทางการเดินทางของข้อมูลที่จะส่ง- รับในการส่งผ่านข้อมูลระหว่างต้นทางและปลายทาง ซึ่งแน่นอนว่าในการสื่อสารข้อมูลผ่านเครือข่ายการสื่อสารจะ ต้องมีเส้นทางการส่ง-รับข้อมูลมากกว่า 1 เส้นทาง ดังนั้นเลเยอร์ชั้น Network นี้จะทาหน้าที่เลือกเส้นทางที่ ใช้เวลาในการสื่อสารน้อยที่สุด และระยะทางสั้นที่สุดด้วย ข่าวสารที่รับมาจากเลเยอร์ชั้นที่ 4จะถูกแบ่งออกเป็น แพ็กเกจ ๆ ในชั้นนี้ 4. เลเยอร์ Transport บางครั้งเรียกว่า เลเยอร์ชั้น Host-to-Host หรือเครื่องต่อเครื่อง และจาก เลเยอร์ชั้นที่ 4 ถึงชั้นที่7 นี้รวมกันจะเรียกว่า เลเยอร์ End-to-End ในเลเยอร์ชั้น Transport นี้เป็นการ
  • 3. สื่อสารกันระหว่างต้นทางและปลายทาง (คอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์) กันจริง ๆ เลเยอร์ชั้น Transpot จะ ทาหน้าที่ตรวจสอบว่าข้อมูลที่ส่งมาจากเลเยอร์ชั้น Session นั้นไปถึงปลายทางจริง ๆ หรือไม่ ดังนั้นการกา หนดตาแหน่งของข้อมูล(address) จึงเป็นเรื่องสาคัญในชั้นนี้ เนื่องจากจะต้องรู้ว่าใครคือผู้ส่ง และใครคือผู้รับ ข้อมูลนั้น 5. เลเยอร์ Session ทาหน้าที่เชื่อมโยงระหว่างผู้ใช้งานกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆโดยผู้ใช้จะใช้ คาสั่งหรือข้อความที่กาหนดไว้ป้ อนเข้าไปในระบบ ในการสร้างการเชื่อมโยงนี้ผู้ใช้จะต้องกาหนดรหัสตาแหน่ง ของจุดหมายปลายทางที่ต้องมีการติดต่อสื่อสารด้วย เลเยอร์ชั้น Session จะส่งข้อมูลทั้งหมดให้กับเลเยอร์ชั้น Transport เป็นผู้จัดการต่อไป ในเครือข่ายทั้งเลเยอร์ Session และเลเยอร์ Transport อาจจะเป็นเลเยอร์ ชั้นเดียวกัน 6. เลเยอร์ Presentation ทาหน้าที่เหมือนบรรณารักษ์ กล่าวคือคอยรวบรวมข้อความ (Text) และ แปลงรหัส หรือแปลงรูปแบบของข้อมูลให้เป็นรูปแบบการสื่อสารเดียวกัน เพื่อช่วยลดปัญหาต่าง ๆ ที่อาจจะเกิด ขึ้นกันผุ้ใช้งานในระบบ 7. เลเยอร์ Application เป็นเลเยอรชั้นบนสุดของรูปแบบ OSI ซึ่งเป็นชั้นที่ใช้ติดต่อระหว่างผู้ใช้ โดยตรงซึ่งได้แก่ โฮสต์คอมพิวเตอร์ เทอร์มินัลหรือคอมพิวเตอร์ PC เป็นต้น แอปพลิเคชันในเลเยอรชั้นนี้ สามารถนาเข้า หรือออกจากระบบเครือข่ายได้โดยไม่จาเป็นต้องสนใจว่ามีขั้นตอนการทางานอย่างไร เพราะจะ มีเลเยอร์ชั้น Presentation โดยตรงเท่านั้น สถาปัตยกรรมเครือข่ายรูปแบบ OSI โปรโตคอลของในเลเยอร์แต่ละชั้นจะแตกต่างกันออกไปแต่อย่างไรก็ตามการที่เครื่องคอมพิวเตอร์หลา ยๆเครื่องจะติดต่อสื่อสารกันได้ ในแต่ละเลเยอร์ของแต่ละเครื่องจะต้องใช้โปรโตคอลแบบเดียวกัน หรือ ถ้าใช้โปรโตคอลต่างกันก็ต้องมีอุปกรณ์ หรือซอฟต์แวร์ที่สามารถแปลงโปรโตคอลที่ต่างกันนั้นให้มีรูปแบบเป็น อย่างเดียวกัน เพื่อเชื่อมโยงให้ คอมพิวเตอร์ทั้ง 2 เครื่องสามารถติดต่อกันได้
  • 4. ตัวอย่างของโปรโตคอลที่ใช้ในเลเยอร์ชั้นต่างๆ ในรูปแบบ OSI แสดงไว้ในตารางด้านล่าง เลเยอร์ มาตรฐาน รายละเอียด 7 ISO8571 ISO8572 การบริการโอนถ่าย และการแลกเปลี่ยนข้อมูล การบริการโอนถ่าย และการแลกเปลี่ยนข้อมูล ISO8831 ISO8832 การบริการโอนถ่าย และการแลกเปลี่ยนข้อมูล โปรโตคอลการบริการโอนถ่าย และการแลกเปลี่ยนข้อมูล ISO9040 ISO9041 การบริหารเทอร์มินัลแบบเสมือน โปรโตคอลการบริหารเทอร์มินัลแบบเสมือน CCITT X.400 ไปรษณีย์อิเล็คทรอนิกส์ และกักเก็บข่าวสาร 6 ISO8822 ISO8823 การบริหารแบบ Connection-oriented ในเลเยอร์ Presentation โปรโตคอลการบริการแบบ Connection-oriented ในเลเยอร์Presentation 5 ISO8326 ISO8327 การบริการแบบ Connection-oriented ในเลเยอร์ Session โปรโตคอลการบริการแบบ Connection-oriented ในเลเยอร์ Session 4 ISO8072 ISO8073 การบริหารแบบ Connection-oriented ในเลเยอร์ Transport โปรโตคอลการบริการแบบ Connection-orientedในเลเยอร์ Transport 3 CCITT X.25 โปรโตคอล X.25 ในเลเยอร์ Network 2 ISO8802 (IEEE 802) CCITT X.25 โปรโตคอลสาหรับเครือข่ายท้องถิ่น (LAN) โปรโตคอล SDLC,HDLC ในเลเยอร์ Data Link
  • 5. 1 CCITT X.21 ดิจิตอลอินเตอร์เฟซของเลเยอร์ Physical เราสามารถแบ่งส่วนการทางานของสถาปัตยกรรมรูปแบบ OSI ได้ง่าย ๆ จากรูปด้านล่าง ซ้ายมือซึ่งจัดแบ่งเลเยอร์ทั้ง 7 ชั้นออกเป็น 3 ส่วนคือส่วนของผู้ใช้งาน ส่วนการติดต่อระหว่างเครื่องต่อเครื่องและส่วนการเชื่อมโยงต้นทางกับปลายทางสาหรับในทางขวามือ ของรูปจะเป้นการจัดแบ่งลักษณะ การสื่อ สารออกเป็น 2 ส่วนคือส่วนดาเนินการโดยผู้ใช้งาน และอีกส่วนหนึ่งเป็นการดาเนินการโดยเครือข่าย สถาปัตยกรรมรูปแบบ OSI แบ่งแยกตามส่วนการทางาน ถ้าเรากล่าวถึงการติดต่อเชื่อมโยงการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยัง คอมพิวเตอร์ อีกเครื่องหนึ่ง ให้แบ่งกลุ่มการทางานของเลเยอร์ตามทางซ้ายมือของรูป แต่จะเป็นเรื่องของ โปรโตคอลซึ่งทาหน้าที่ในการกาหนดการสื่อสาร และควบคุมจัดการสื่อสาร
  • 6. ขอให้ยึดแบบการแบ่งลักษณะของ การสื่อสารตามทางขวามือเป็นหลัก ตัวอย่าง เช่นการสื่อสารข้อมูลโดยผ่านเครือข่าย X.25 ของเครือข่ายจะ ทาหน้าที่ในการสื่อสารใน 3 เลเยอร์ชั้นล่างของรูปแบบ OSI ส่วนของเลเยอร์ 4 ชั้นที่เหลือจะเป็นโปรโตคอล สาหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างผู้ใช้งาน