SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  9
Télécharger pour lire hors ligne
การจัดการเรียนรูแบบสืบสวนสอบสวน ( Inquiry )
         Dr.Richard Suchman กลาววา “ความรูตางๆที่มีอยูในโลกนี้ เปนผลที่ไดมาจากการศึกษาคนควา
โดยเฉพาะการศึกษาที่เรียกวา สืบสวนสอบสวน (Inquiry)” ดังนั้นการจัดการเรียนรูควรสงเสริมใหผูเรียน
สามารถศึกษาคนควาและสืบสวนสอบสวนความรูดวยตนเอง ทั้งยังชวยใหเกิดความคิดอยางมีเหตุผลอีกดวย
                                                       
และจากความเชื่อดังกลาว Richard Suchman ไดตั้งโครงการวิจัยเกี่ยวกับการสอนแบบสืบสวนสอบสวน
(Inquiry) ขึ้นที่มหาวิทยาลัย Illinois โดยเนนการสอนวิทยาศาสตรดวยวิธีใหนักเรียนตั้งคําถาม เพือใหนกเรียน
                                                                                               ่    ั
คนพบหลักการและกฎเกณฑทางวิทยาศาสตรดวยตนเองสําหรับในประเทศไทย ดร.วีระยุทธ วิเชียรโชติ ไดตั้ง
โครงการวิจัยเกี่ยวกับการเรียนการสอนแบบสืบสวนสอบสวนขึ้นในชวงป พ.ศ.2513-2514 แตการเรียนการสอน
แบบสืบสวนสอบสวนของ ดร.วีระยุทธ วิเชียรโชติ มีความแตกตางจากการสอนแบบ Inquiry ของ Suchman
เพราะดร.วีระยุทธ วิเชียรโชติ มีความคิดวาการสอนแบบ Inquiry ของ Suchman นั้นไมเหมาะสมกับเด็กนักเรียน
ไทย ซึ่งไมคอยชอบถามและดอยความสามารถทางความคิด อันอาจจะทําใหเด็กไทยเกิดความเบื่อหนายและ
ทอแทตอวิธีการนี้ ดังนั้น ดร.วีระยุทธ วิเชียรโชติ จึงไดพฒนาทฤษฎีการเรียนการสอนแบบสืบสวนสอบสวน
                                                           ั
การสอนแบบสืบสวนสอบสวน มีชื่อเรียกแตกตางกันไปหลายชื่อ เชน การสอนแบบสืบ สวนสอบสวน การ
สอนแบบสืบสอบ การสอนแบบสืบเสาะหาความรู การสอนแบบใหคดสืบคน และการสอนโดยนักเรียนคนหา
                                                                     ิ
ความรูโดยใชกระบวนการคิด เปนตน
         ดร.วีระยุทธ วิเชียรโชติ ( 2515 ) ไดใหความหมายไววา การเรียนการสอนแบบสืบสวนสอบสวน คือ
การเรียนการสอนที่เนนการพัฒนาความสามารถในการคิดแกปญหาโดยวิธการทางวิทยาศาสตร ซึ่งในหลักการ
                                                                          ี
ของการดําเนินชีวิตแบบประชาธิปไตย เรียกวา ปญญาธรรม นอกจากนั้นการเรียนการสอนแบบสืบสวน
สอบสวนยังเนนการเรียนรูที่เริ่มตนจากการแสวงหา นําไปสูการคนพบหลักเกณฑตางๆที่เปนวิทยาศาสตร และ
สรุปลงดวยการนําเอาหลักเกณฑใชเปนประโยชนในชีวิตจริง ในรูปของประยุกตวิทยาอีกดวย
         ดร.นาตยา ภัทรแสงไทย ( 2525 ) ไดใหความหมายการสืบสวนสอบสวนไววา การสอนแบบสืบสวน
สอบสวนเปนกระบวนการแสวงหาแนวทางการแกปญหาอยางมีเหตุผล โดยจะเริ่มตนดวยปญหา จากนั้นจึง
ตั้งสมมติฐาน ทดสอบสมมติฐาน หาแนวทางแกปญหา โดยอาศัยขอมูลที่รวบรวมมาได วิเคราะหเปรียบเทียบ
ขอมูลตางๆที่รวบรวมมาได จากนั้นจึงนํามาทดสอบสมมติฐานที่ตั้งไว แกปญหาจนไดขอสรุปออกมา
         สุวิทย มูลคํา และอรทัย มูลคํา (2545: 136) ไดกลาววา การจัดการเรียนรูแบบสืบสวนสอบสวน
คือ กระบวนการเรียนรูที่เนนการพัฒนาความสามารถในการแกปญหาดวยวิธีการฝกใหผูเรียนรูจกศึกษาหา
                                                                                             ั
ความรู โดยผูสอนตั้งคําถามกระตุนใหผูเรียนใชกระบวนการทางความคิดหาเหตุผลจนคนพบความรู หรือ
              
แนวทางการแกปญหาที่ถูกตองดวยตนเอง สรุปเปนหลักการกฎเกณฑ หรือวิธีการในการแกปญหา สามารถ
นําไปประยุกตใชประโยชนในการควบคุม ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง หรือสรางสรรคสิ่งแวดลอมในสภาพการณ
ตางๆ ไดอยางกวางขวาง
สรุปไดวา ในการจัดการเรียนรูโดยการใชวิธีการสืบสวนสอบสวน เปนวิธีการจัดการเรียนรูใหผูเรียนได
รูจักกระบวนการแสวงหาความรูอีกวิธหนึ่งที่จะชวยใหผูเรียนคนพบความจริงตางๆดวยตนเอง โดยอาศัยวิธีการ
                                      ี
แกปญหาการจัดการเรียนรูแบบสืบสวนสอบสวน มีสื่อกลางสําคัญ คือการใชคําถามและการตอบคําถาม ดังนั้น
อาจแบงการสืบสวนสอบสวนโดยพิจารณาลักษณะการถามระหวางครูผจัดการเรียนรูและผูเรียน ไดดงนี้
                                                                      ู                           ั
         1. การสอนแบบสืบสวนสอบสวนที่ครูเปนผูถาม (Passive Inquiry) เปนลักษณะของการสอนตาม
รูปแบบของ Hilda Taba ซึ่งเปนลักษณะครูเปนผูตั้งคําถาม และผูเรียนเปนผูตอบคําถาม นั่นคือผูเรียนจะตองเปน
แหลงขอมูลหรือควบคุมขอมูล
         2. การสอนแบบสืบสวนสอบสวนที่ผูเรียนเปนผูถาม (Active Inquiry) เปนการสอนตามแบบของ
Suchman ซึ่งลักษณะนี้ผูเรียนจะเปนผูตั้งคําถามและครูจะเปนผูตอบคําถาม นั่นคือครูจะเปนแหลงของขอมูล
หรือควบคุมขอมูล
         3.การสอนแบบสืบสวนสอบสวนที่ครูและผูเรียนชวยกันถาม (Combined Inquiry)วิธีการสอนแบบนี้
เปนการประยุกตใชวิธีการของ Taba และ Suchman เขาดวยกัน กลาวคือ ครูถาม-ผูเรียนตอบ ผูเรียนถาม-ครูตอบ
สลับกันไปแลวแตความเหมาะสม แตสิ่งสําคัญที่สุดที่ครูควรระลึกไวเสมอคือ ครูผูจัดกิจกรรมการเรียนรูอยาใจ
รอนรีบบอกผูเรียน

ขั้นตอนการสอนแบบสืบสวนสอบสวน
         บรูเนอร (Bruner. 1966: 89) ไดเสนอกระบวนการสืบสวนสอบสวนไวเปน 4 ขั้น ซึงเปนที่รูจักกันใน
                                                                                         ่
ชื่อ OEPC Techniques ดังรายละเอียดตอไปนี้
         1. ขั้นสังเกต (Observation-O) เปนขั้นที่สาคัญที่สุดอันดับแรกของกระบวนการแสวงหาความรู ขั้น
                                                   ํ
สังเกตนี้ครูจัดสถานการณ กิจกรรมหรือสาธิตการทดลองใหผูเรียนสังเกต จะทําใหผูเรียนเกิดปญหาคับของใจ
(Conflict) ผูเรียนจะถามเพื่อใหไดขอมูลแลวจดบันทึกขอมูลเหลานั้นไวเปนพืนฐาน เพื่อจะนํามาประกอบการ
                                                                              ้
พิจารณาตั้งสมมติฐานตอไป
         2. ขั้นอธิบาย (Explanation-E) เมื่อใชการสังเกตการณเก็บรวบรวมขอมูลในขั้นแรกแลว ตอไปพยายาม
อธิบายสถานการณหรือปรากฏการณนั้นๆ วามีอะไรเปนสาเหตุ เพราะเหตุใดจึงเปนเชนนั้นโดยพยายามหา
แนวทางในการอธิบายไวหลายๆ ทางตามแบบของการตั้งสมมติฐาน
         3. ขั้นทํานายหรือคาดคะเน (Prediction-P) เมื่อทดลองสมมติฐานเพื่อหาทางอธิบายวาปญหาเหลานันมี   ้
สาเหตุจากอะไรแลวผูเรียนก็พอจับเคาโครงของปญหาไดแนชดขึ้น ฉะนั้นจะสามารถคาดคะเนไดวาถามีสาเหตุ
                                                                ั
เชนเดียวกันอีกจะเกิดอะไรตามมา แมวาจะไมมีสถานการณเชนนันปรากฏใหเห็นจริงๆ
                                                                   ้
         4. ขั้นนําไปใชและสรางสรรค (Control and creativity-C) คือ ขั้นที่สามารถนําแนวคิดที่ไดรับไปใชใน
การแกปญหากับสถานการณอื่นๆ ไดอยางถูกตอง
สรุปขั้นตอนของกระบวนการสอนแบบสืบสวนสอบสวนของบรูเนอร ไดดังภาพประกอบ 1
O               E                P               C
        ความรูเดิม             สังเกต          อธิบาย     ทํานาย ควบคุมและสรางสรรค

                      ภาพประกอบ 1 ขั้นตอนของกระบวนการสอนแบบสืบสวนสอบสวนของบรูเนอร
                      ที่มา: เสาวณีย สิกขาบัณฑิต. (2528). เทคโนโลยีทางการศึกษา. หนา 180.
           กรมวิชาการ (2544: 36-37) กลาวถึง ขั้นตอนการสอนแบบสืบสวนสอบสวนไว 5 ขั้นดังนี้
           1. ขั้นการสังกัปแนวหนา คือ ขั้นที่ครูปูพื้นฐานความพรอมในดานความรูใหแกนักเรียน
           2. ขั้นสังเกต คือ ครูสรางสถานการณที่เปนปญหาหรือเปนการแสดงละครปริศนาเพื่อใหนกเรียนสังเกต
                                                                                                  ั
สภาพการณหรือสิ่งแวดลอมที่เปนปญหานันๆ ขั้นนี้ครูสงเสริมใหนักเรียนฝกคิดวิเคราะห ทําความเขาใจ แปล
                                                   ้
ความหมาย และจัดโครงสรางความคิดในรูปแบบตางๆเพื่อใหสอดคลองกับสภาพปญหา และสรางแรงจูงใจให
นักเรียนเกิดความกระหายใครจะแสวงหาความจริง
           3. ขั้นอธิบาย เปนขั้นที่ครูกระตุนใหนกเรียนหาคําอธิบายหรือสาเหตุของปญหาในรูปของเหตุผล ขั้นนี้
                                                       ั
นักเรียนฝกการตั้งทฤษฎีหรือสมมติฐานเพืออธิบายที่มาสาเหตุของปญหานั้น เปนการฝกวิเคราะหระบบจากผล
                                               ่
ไปหาเหตุ
           4. ขั้นทํานาย ใหนักเรียนรูจกหาแนวทางหรือวิธีที่จะพิสูจนทํานายผลหรือพยากรณไดวาผลจะเปน
                                          ั
อยางไร จะเกิดอะไรขึ้น เปนการทดสอบสมมติฐานหรือพิสูจนทฤษฎีที่ตั้งขึ้น
           5. ขั้นควบคุมและสรางสรรค เปนการสงเสริมใหนักเรียนนําหลักการ กฎเกณฑและวิธีการแกปญหามา
ใชประโยชนในการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงสิงแวดลอมในสภาพการณตางๆ ไดอยางกวางขวาง ลักษณะพิเศษของ
                                                     ่                    
วิธีสอนแบบนีคือ กาวไกลวาการสอนแบบวิทยาศาสตรในดานที่คิดไปถึงการใชประโยชนตอไปดวย ไมจํากัด
                   ้
เฉพาะแตการแกปญหาที่เกิดขึ้นเทานัน       ้
           สําหรับ ดร.วีระยุทธ วิเชียรโชติ ไดศึกษาการสอนแบบสืบสวนสอบสวนในประเทศไทย
ใชชื่อวา การสอนแบบสืบสวนสอบสวน (Investigation or OEPC inquiry) และไดเสนอโครงการของการสอน
หรือวิธีการสอนไว 4 ขั้นดังนี้
           ขั้นที่ 1 ขั้นการสังเกต ( Observation ) เปนขั้นที่ครูสรางสถานการณ หรือทดลองใหนักเรียนไดสังเกต
และวิเคราะหองคประกอบและธรรมชาติของปญหาอยางละเอียด ซึ่งเด็กจะถามเพื่อใหไดขอมูลมา เพื่ออภิปราย
ขอสงสัยที่เกิดขึ้น คําตอบคําถามตองเปนแบบ “ ใช หรือ ไมใช ” หรืออาจจะเปนไปไดแลวแตกรณี เพื่อกระตุน   
ใหถามโดยใชความคิด ในขั้นนี้ครูจะไมอธิบายอะไรนอกจากคําถาม
           ขั้นที่ 2 ขั้นการอภิปรายปญหา ( Explanation ) เด็กจะอาศัยขอมูลที่ไดเปนเหตุผลมาอภิปรายหรือ
อธิบายปญหาหรือสาเหตุปญหา สวนมากใชความคิดแบบโยงความสัมพันธและแบบอางอิง อันจะนําไปสราง
                                
สมมติฐานทั่วไปและทฤษฎี คําอธิบายในขันนี้ไมจําเปนที่จะตองเปนความจริงเสมอไป เพราะคําอธิบายนั้นก็คือ
                                                 ้
สมมติฐานกวางๆ หรือทฤษฎีนั่นเอง ซึ่งยังเปนการคาดคะเนอยู ความจริงอาจไมเปนไปตามคําอธิบายนี้กได ขั้น ็
ที่กลาวมานี้เปนเพียงขันของการสืบสวนเทานั้น
                            ้
ขั้นที่ 3 ขั้นพยากรณหรือทํานายผล ( Prediction ) เมื่อลองตั้งสมมติฐานเพื่อหาทางอธิบายวาปญหา
เหลานั้นมีมูลเหตุจากอะไรแลวผูเรียนพอจะจับเคาโครงของปญหาไดชดขั้น ดังนันก็สามารถตั้งสมมติฐานเชิง
                                                                      ั         ้
ทํานายได หรือคาดคะเนผลของสาเหตุตางๆได การเรียนที่สําคัญในขั้นนี้คือ การเรียนรูวิธีการแกปญหา โดยนํา
                                                                                                 
หลักการเรียนรูในขั้นที่ 2 มาใช ซึ่งเปนการสอบสวนนั่นเอง
         ขั้นที่ 4 ขั้นควบคุมและสรางสรรค ( Control or Greativity ) หรือขั้นนําไปใช เปนขันที่นําผลของการ
                                                                                            ้
แกปญหา หรือสิ่งที่คนพบในขั้นอธิบายและขั้นทํานายผล มาใชใหเกิดประโยชนในชีวิตจริง สามารถประดิษฐ
คิดคนสิ่งใหม วิธีการใหม เพือเกิดประโยชนและนําไปใชได
                              ่

การจัดการเรียนรูแบบสืบสวนสอบสวน
            1. ลักษณะเดนเปนวิธีการจัดการเรียนรูที่ทาใหผูเรียนแกไขปญหา เปนการทําใหผูเรียนใชความคิดและ
                                                        ํ
เปนวิธียวยุความสนใจใหผูเรียนอยากติดตาม เพื่อคนหาความจริงตอไปเรื่อยๆ ทั้งนีผูจัดการเรียนรูจะตองมีการ
         ั่                                                                              ้
จัดลําดับเนื้อหาและกิจกรรมตางๆไวเปนอยางดี ซึ่งจะทําใหเกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไดดี
            2. วัตถุประสงคเบื้องตนหรือเปาหมายของการจัดการเรียนรูแบบสืบสวนสอบสวน
                     2.1 เปนการพัฒนาการตัดสินใจของผูเรียนอยางมีเหตุผล
                     2.2 สงเสริมใหผูเรียนรูจกการสังเกตตั้งคําถามและแสวงหาขอเท็จจริง
                                                ั
                     2.3 สงเสริมใหผูเรียนเปนผูมีความเชื่อมั่นในเหตุผล กลาที่จะนําเอาความเขาใจของตนมาใช
ปฏิบัติจริงได

          3. บทบาทของครูและผูเรียน
          บทบาทของครูผูจัดการเรียนรู คือ การตั้งคําถามหรือตั้งปญหาและบอกแหลงขอมูลใหกับผูเรียน
เพื่อที่จะไดสืบคนหาคําตอบในการแกไขปญหา และครูยงมีบทบาทควบคุมเขาสูจุดหมายของการเรียนรู
                                                           ั
บทบาทของผูเรียน คือ การสืบคนหาขอมูลจากแหลงขอมูล เพื่อนํามาแสดงเหตุผลในการแกไขปญหาที่ถูกตอง
          4. สิ่งที่แสดงใหเห็นพฤติกรรมการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง ในเทคนิควิธี การสอนแบบ
สืบสวนสอบสวนก็คือ วิธการซักถาม ตอบคําถาม โดยการเปดโอกาสใหผูเรียนไดหาขอมูล เก็บขอมูล ใช
                             ี
ความคิด ตั้งคําถาม ตอบคําถาม อยางอิสระที่สุด ถาครูจะมีบทบาทในการตั้งคําถาม ก็ควรเปนคําถามที่จะชวยให
ผูเรียนเขาสูจุดหมายที่ตองการ
          5. จากการจัดการเรียนรูแบบสืบสวนสอบสวน จะชวยพัฒนาผูเรียนในดานตางๆ เชน
                     5.1 ทักษะทางปญญา ผูเรียนไดใชความคิดและสติปญญาในการหาขอมูลแสดงเหตุผลอยาง
อิสระ
                     5.2 ทักษะทางสังคม ทําใหผูเรียนเกิดความเชื่อมั่น กลาคิดกลาแสดงออก หรือรับฟงความ
คิดเห็นของผูอน   ื่
                     5.3 ทักษะทางการปฏิบัติ เปนการปลูกฝงใหผูเรียนเปนคนละเอียดถี่ถวน มีความรอบคอบ
รูจักการสังเกต ไมเชื่ออะไรงายๆโดยไมไดตรวจสอบกอน
บทบาทของครูในการสอนแบบสืบสวนสอบสวน
          คาลาฮาน; และคนอื่นๆ (Callahan; et al. 1998: 261-262) ไดกลาวถึง บทบาทของครูในการสอนแบบ
สืบสวนสอบสวน ซึ่งสรุปไดดังนี้
                    1. ครูมีหนาที่ใหคําแนะนํากับนักเรียนมากกวาบอกใหนกเรียนทําตาม
                                                                           ั
                    2. ครูตั้งคําถาม เลือกประเด็นที่นาสนใจเพื่อกระตุนใหนักเรียนคิดและพยายามคนหาคําตอบ
                    3. ในขณะที่นกเรียนคนหาคําตอบ ครูควรแนะนําในการคนพบโดยหาความชัดเจนกับปญหา
                                   ั
                    4. ครูพยายามสรางบรรยากาศในชั้นเรียนทีเ่ ปนการสงเสริมการสรางขอคาดเดา การตังขอ ้
สงสัยและการคิดแกปญหา
                    5. สนับสนุนใหนักเรียนตั้งสมมติฐานและเปดโอกาสใหนักเรียนไดตรวจสอบสมมติฐานดวย
ตนเอง
                    6. ชวยนักเรียนในการวิเคราะหและประเมินความคิดของตนเอง โดยเปดโอกาสใหมี
การอภิปรายเปดในชันเรียนและพยายามกระตุนใหนักเรียนพยายามคิดโดยไมมีการขมขูเมื่อคําตอบไมเปนไป
                        ้
ตามที่คาดหวัง
          วีรยุทธ วิเชียรโชติ (2521: 33-34) ไดกลาวถึงบทบาทของครูในการสอนแบบสืบสวนสอบสวน ซึ่งสรุป
ไดดังนี้
          1. ครูเปนผูกระตุนใหเกิดการสืบสวนสอบสวนโดยการสรางสถานการณยวยุใหเด็กตังคําถามสอบสวน
                                                                                     ั่        ้
ตามลําดับขั้นของคําถามแบบสืบสวนสอบสวน
          2. ครูเปนผูใหการหนุนกําลัง เมื่อเด็กถามมาก็จะใหแรงหนุนยอมรับในคําถามนั้นกลาวชมและชวย
ปรับปรุงภาษาในคําถามเพื่อใหนกเรียนเขาใจในคําถามใหกระจางดียิ่งขึ้น
                                     ั
          3. ครูเปนผูทานกลับ ครูจะทบทวนคําถามอยูบางแตไมมากนักเพื่อพิจารณาดูวานักเรียนมีความเขาใจ
อยางไรบาง อาจตั้งคําถามถามนักเรียนเกียวกับเนื้อหาที่ไดเรียนไปแลวกอนที่จะเรียนบทตอไป
                                            ่
          4. ครูเปนผูแนะนําและกํากับ ครูจะชี้ทางเพือใหเกิดความคิดตามแนวทางที่ถูกตองเปนผูกํากับควบคุม
                                                       ่
เมื่อเด็กออกนอกลูนอกทาง
5. ครูเปนผูจัดระเบียบ ครูดําเนินการจัดชั้นเรียนใหเหมาะสมกับวิธีการเรียน
6. ครูเปนผูสรางแรงจูงใจ ครูชวยสรางแรงจูงใจใหนกเรียนมีกําลังใจในการเรียน
                                                         ั
          กรมวิชาการ (2544: 36); และ พิมพันธ เดชะคุปต (2544: 57) กลาวถึง บทบาทของครูในการสอนแบบ
สืบสวนสอบสวนสรุปไดดงนี้        ั
          1. เปนผูกระตุน (catalyst) ใหนักเรียนคิด โดยกําหนดปญหาแลวใหนกเรียนวางแผนหาคําตอบเอง หรือ
                                                                                ั
กระตุนใหนกเรียนกําหนดปญหาและหาสาเหตุของปญหานั้นดวยการตั้งคําถาม
              ั
          2. เปนผูใหการเสริมแรง (reinforcer) โดยการใหรางวัล กลาวชม เพื่อใหกําลังใจ เพื่อเกิดพฤติกรรมการ
เรียนการสอนแบบตอเนื่อง
          3. เปนผูใหขอมูลยอนกลับ (feedback actor) โดยการบอกขอดีขอบกพรองแกนักเรียน
4. เปนผูแนะนําและกํากับ (guide and director) เปนผูแนะนําเพื่อใหเกิดความคิดและกํากับควบคุมมิให
ออกนอกลูนอกทาง
         5. เปนผูจัดระเบียบ (organizer) เปนผูจัดบรรยากาศและสิ่งแวดลอม รวมทั้งอุปกรณสื่อการสอนแก
นักเรียน
         สุวิทย มูลคํา; และ อรทัย มูลคํา (2545 : 142) กลาวถึง บทบาทผูสอนในการจัดการเรียนรูแบบสืบสวน
สอบสวน ไวดงนี้    ั
         1. กระตุนใหผเู รียนมีความสนใจ คิดปญหา วางแผนและแกปญหาอยางเปนขั้นตอนมีเหตุผลดวยตนเอง
         2. กระตุนใหผเู รียนหาวิธีการแกปญหาหลายๆ วิธีและใชทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรชวยใน
การแกปญหา
         3. เสริมแรงหรือใหกําลังใจแกผูเรียน
         4. ชวยเหลือ แนะนํา กํากับอยางใกลชิด ตลอดจนเปนผูอํานวยความสะดวกเพื่อใหกระบวนการเรียนรู
ดําเนินไปไดดวยความเรียบรอย
                 
         5. จัดเตรียมแหลงการเรียนรูที่สําคัญใหแกผูเรียน
         6. จัดบรรยากาศและสภาพแวดลอมใหเอื้อตอการเรียนรูของผูเรียน
                                                                    
         7. เปนผูใหขอมูลยอนกลับทังขอดีและขอบกพรองแกผูเรียน
                                          ้
จากการศึกษาคนควาขางตนสรุปไดวา บทบาทของครูในการสอนแบบสืบสวนสอบสวน คือ ครูควรจัด
สถานการณปญหาหรือกิจกรรมตางๆ ที่ยั่วยุใหผูเรียนอยากที่จะเรียนรูหรืออยากที่จะคนหาคําตอบของปญหา
               
นั้น เปนผูคอยกระตุนการเรียนรูของผูเรียนใหเกิดขึ้นอยางตอเนื่องและฝกใหผูเรียนไดใชความคิดอยางเปน
ขั้นตอนจนกระทั่งผูเรียนสามารถสรุปความรูไดดวยตนเอง รวมถึงการใหกําลังใจหรือเสริมแรงใหกับผูเรียนอีก
ดวย
         ขอดีและขอจํากัดของการสอนแบบสืบสวนสอบสวน
                         สุโขทัยธรรมาธิราช (2537: 94-95); และ ภพ เลาหไพบูลย (2537: 126) ไดสรุปขอดีและ
ขอจํากัดของการสอนแบบสืบสวนสอบสวนไวดังนี้
         ขอดี
         1. นักเรียนไดฝกกระบวนการคิดทางคณิตศาสตร
         2. ใหนกเรียนรูจักอภิปราย และทํางานรวมกันอยางมีเหตุผล
                     ั
         3. ใหนกเรียนรูจักสังเกตและวิเคราะหสถานการณหรือปญหานั้นโดยละเอียด
                       ั
         4. นักเรียนมีโอกาสพัฒนาความคิดอยางเต็มที่ ไดศึกษาคนควาดวยตนเองจึงมีความอยากเรียนรูอยู
ตลอดเวลา
         5. นักเรียนเปนศูนยกลางของการเรียนการสอน
         6. นักเรียนมีโอกาสไดฝกความคิดและฝกการกระทํา ทําใหไดเรียนรูวิธจัดระบบความคิดและวิธี
                                                                                   ี
สืบสวนสอบสวนดวยตนเอง ทําใหความรูคงทนและถายโยงการเรียนรูได กลาวคือทําใหสามารถจดจําไดนาน
                                                                       
และนําไปใชในสถานการณใหมอีกดวย
          7. นักเรียนจะเกิดเจตคติทดีตอวิชาคณิตศาสตร
                                      ี่ 
          ขอจํากัด
          1. ถาสถานการณที่สรางขึ้นไมชวนสงสัยจะทําใหนกเรียนเบื่อและไมอยากเรียนโดยวิธีนี้
                                                            ั
          2. ถาครูควบคุมมากเกินไปก็จะไมเปดโอกาสใหผูเรียนสืบสวนสอบสวนดวยตนเอง
          3. ใชเวลามากในการสอนแตละครั้ง
          4. นักเรียนที่มสติปญญาต่ําและเนื้อหาวิชาคอนขางยาก นักเรียนอาจจะไม
                           ี
          สามารถศึกษาหาความรูดวยตนเอง
                                    
          สมชาย ชูชาติ (2538: 82) ไดกลาวถึง ขอดีและขอจํากัดของการสอนแบบสืบสวนสอบสวนไวดังนี้
          ขอดี
          1. ผูเรียนเปนศูนยกลางในการเรียนการสอนเพราะเขาจะตองกํากับการเรียนการสอนดวยตนเอง ดังนั้น
บทบาทของผูเรียนจึงเปนผูที่มีความกระฉับกระเฉงไมเปนผูที่เฉื่อยชาตอไป
          2. เปนการเรียนโดยการเนนที่ปญหาจะมีประโยชนตอผูเรียนในแงทวาฝกใหเขาเปนผูรูจักลักษณะ
                                                                             ี่
วิธีการแกปญหา
          3. เปนการเรียนที่ฝกทักษะและความสามารถในการตัดสินใจ
          4. บทบาทของครูผูสอนเปลี่ยนจากผูบอกมาเปนผูถาม ซึ่งวิธีการดังกลาวจะทาใหผูเรียนกระตือรือรน
มากขึ้น
          5. เปนการยอมรับเจตคติของผูเรียนแตละคนโดยเฉพาะในเรื่องคานิยมและเจตคติของผูเรียน เปนการ
เปดโอกาสใหผูเรียนไดพฒนาคานิยมและเจตคติไปในดานที่ดีดวย
                             ั                                  
          6. บทบาทของครูผูสอนเปลี่ยนไป ไมเปนผูคุมการเรียนการสอน กลายเปนผูเรียนไปกับนักเรียนดวย
          7. ไมสงเสริมการเรียนในเชิงแขงขันเพื่อคะแนน แตผูเรียนสามารถเรียนไปโดยมุงทีจะบรรลุเปาหมาย
                                                                                           ่
ของตนเอง
ขอจํากัด
          1. ในกรณีที่นาการสอนแบบสืบสวนสอบสวนมาใชกบกลุมผูเรียนทีมิใชรายบุคคลแลวผูเรียนอาจไมมี
                         ํ                                    ั                 ่
โอกาสรวมกิจกรรมทุกคน มีผูเรียนเพียงบางคนเทานั้นทีมีโอกาสในการแสดงความคิดเห็น การตัดสินใจ
                                                         ่
          2. การสอนแบบสืบสวนสอบสวนนั้นเปนวิธีการที่มุงใหนักเรียนคิดอยางมีเหตุผล วิธการดังกลาวตอง
                                                                                             ี
ใหเวลามากพอสมควร แตการสอนในชั้นเรียนสวนใหญ ผูสอนมักมีแนวโนมที่จะเรงรัดคําตอบหรือขอโตตอบ
ของผูเรียนเสมอ
          3. ในบางครั้งผูเรียนเกิดความรูสึกวาปญหาหรือประเด็นที่ผูสอนหยิบยกขึ้นมาเพื่อการสืบเสาะหา
ความรูนั้น แทจริงแลวผูสอนมีคําตอบอยูในใจไวกอนซึ่งดูเหมือนวาผูเรียนถูกตะลอมใหเปนไปตามสิ่งที่ผูสอน
คิดไวแลว
สุวิทย มูลคํา; และ อรทัย มูลคํา (2545:142) ไดกลาวถึง ขอดีและขอจํากัดของการจัดการเรียนรูแบบ
สืบสวนสอบสวน ไวดังนี้
ขอดี
         1. ผูเรียนไดเรียนรูวิธีการคนควาหาความรูและการแกปญหาดวยตนเอง
                                                                   
         2. ความรูที่ไดมีคุณคา มีความหมายสําหรับผูเรียน เปนประโยชนและจดจําไดนานสามารถเชื่อมโยง
ความรูและนําไปใชในชีวิตประจําวันได
         3. เปนวิธีการที่ทําใหผูเรียนเกิดแรงจูงใจในการเรียนรู มีความอิสระ มีชีวิตชีวา และสนุกสนานกับการ
เรียนรู
ขอจํากัด
         1. ใชเวลามากในการเรียนรูแตละครั้ง บางครั้งอาจไดสาระการเรียนรูไมครบถวนตามที่กําหนด
         2. ถาปญหาหรือสถานการณงายหรือยากเกินไป ไมเราใจหรือไมนาสนใจ จะทําใหผูเรียนเบื่อหนายไม
อยากเรียน
         3. เปนวิธีการที่มีการลงทุนสูง ซึ่งบางครั้งอาจไดผลไมคุมคากับการลงทุน
         4. ผูสอนตองใชเวลาในการวางแผนมาก
         จากการศึกษา สรุปไดวาการนําขอดีของการสืบสวนสอบสวนมาขยายผลการใชอยางเต็มที่เพื่อลด
ขอดอยใหมีนอยสุดยอมเกิดคุณคาและมีประโยชนสูงสุดเปนการสรางโอกาสใหผูเรียน คือ
                
         1. ไดรูจักการคิดการฝกทักษะ แสดงออกถึงความสามารถทางความคิดอยางอิสระและถูกตอง ซึ่ง
สามารถแสดงออกถึงการพัฒนาของสภาพผูเรียนอยางแทจริง
         2. เกิดทักษะองคความรูในการประกอบกิจกรรมที่มีขั้นตอนของการสืบสวนสอบสวน
         3. การสรางใหผูเรียนมีวิธีการตัดสินใจในการแกปญหาไดอยางชาญฉลาดและรวดเร็ว
         4. สงเสริมบทบาทผูเรียนไดแสดงศักยภาพในการพัฒนาดานการเรียนการแกปญหาดวยตนเองมีเหตุผล
สอดคลองกับความสัมพันธของการคนควาหาความรูกับการคนพบคําตอบดวยตนเอง
         5. สามารถนําประโยชนของทักษะกระบวนการเรียนการสอนนี้ไปใชในสถานการณปญหาอื่นๆได
         จากการศึกษาคนควาขางตน สรุปไดวา ขอดีของการสอนแบบสืบสวนสอบสวนก็คือ เปนวิธีที่เนนให
ผูเรียนลงมือปฏิบัติจริง มีอสระทางความคิด คนหาความรูและการแกปญหาดวยตนเองทําใหผูเรียนมีชีวิตชีวาใน
                               ิ                                        
การเรียน เกิดความรูที่คงทน สวนขอจํากัดของวิธีการสอนนี้ก็คือ การรอเวลาเพื่อใหนักเรียนคนพบขอสรุปดวย
ตนเองอาจใชเวลามากทําใหเสียเวลาในการเรียนเนื้อหาตอๆไป และถาจัดสถานการณปญหาที่ไมดึงดูดความ
สนใจของผูเรียนหรือไมมการวางแผนการสอน อาจทําใหผูเรียนเกิดความเบื่อหนายได
                             ี
บรรณานุกรม
         กรมวิชาการ. (2544). รายงานการวิจัยเรื่อง การสังเคราะหวิธีสอนวิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
คณิตศาสตรและวิทยาศาสตร ระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ: กองวิจยทางการศึกษากรมฯ.
                                                                        ั
         ณรงค วรรณจักร. (2550). การจัดการเรียนรูแบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry). สืบคนเมื่อ 23
 มิถุนายน 2552. จาก http://kmsc1.multiply.com/journal/item/67.
         ดารกา วรรณวนิช. (2549). ยุทธศาสตรการสอน. กรุงเทพฯ : โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝายมัธยม).
         ทิศนา แขมมณี. (2546). รูปแบบการเรียนการสอน : ทางเลือกที่หลากหลาย. กรุงเทพฯ:
สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
         รุงทิวา จักรกร. (2523). วิธีสอนทั่วไป. กรุงเทพฯ : ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะ
ศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
         สมชาย ชูชาติ. (2538). เอกสารคําสอนวิชา ศษ 361 วิธีสอนทั่วไป. กรุงเทพฯ: ภาควิชาหลักสูตรและการ
สอน คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
         สุวิทย มูลคํา, อรทัย มูลคํา. (2545). 19 วิธีการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาความรูและทักษะ. กรุงเทพฯ :
ดวงกมลสมัย.
_____________. (2545). 20 วิธีจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม
 คานิยม, การเรียนรู โดยการแสวงหาความรูดวยตนเอง. กรุงเทพฯ : ดวงกมล

Contenu connexe

Tendances

วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกChainarong Maharak
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยNU
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์Nonsawan Exschool
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานSAKANAN ANANTASOOK
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรSunisa199444
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxSophinyaDara
 
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มบทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มAj.Mallika Phongphaew
 
การสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัยการสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัยTupPee Zhouyongfang
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงKru Tew Suetrong
 
3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศ3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศkasetpcc
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดBio Beau
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑พัน พัน
 
ราชาศัพท์
ราชาศัพท์ราชาศัพท์
ราชาศัพท์kruthai40
 
โครงสร้างเวลาเรียน
โครงสร้างเวลาเรียนโครงสร้างเวลาเรียน
โครงสร้างเวลาเรียนChainarong Maharak
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1peter dontoom
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55Decode Ac
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบwanchalerm sotawong
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีParichart Ampon
 

Tendances (20)

วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัย
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
 
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มบทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
 
การสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัยการสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัย
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 
การศึกษารายกรณี
การศึกษารายกรณีการศึกษารายกรณี
การศึกษารายกรณี
 
3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศ3 กิตติกรรมประกาศ
3 กิตติกรรมประกาศ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
 
ราชาศัพท์
ราชาศัพท์ราชาศัพท์
ราชาศัพท์
 
โครงสร้างเวลาเรียน
โครงสร้างเวลาเรียนโครงสร้างเวลาเรียน
โครงสร้างเวลาเรียน
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 

Similaire à การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน

เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนkittitach06709
 
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ศน. โมเมจ้า
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdockrupornpana55
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2Aroonswat
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333Chirinee Deeraksa
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่jDarika Roopdee
 
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อJeeraJaree Srithai
 
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์citylong117
 
การสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะการสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะWeerachat Martluplao
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matSukanya Burana
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome brunersofia-m15
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome brunersoh26
 

Similaire à การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน (20)

เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอน
 
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
 
05chap3
05chap305chap3
05chap3
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่j
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่j
 
ทดลองส่ง 538144213
ทดลองส่ง 538144213ทดลองส่ง 538144213
ทดลองส่ง 538144213
 
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
01นำเสนอการวิจัยปฏิบัติการบท1 2 ดร.เกื้อ
 
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
 
การสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะการสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะ
 
03chap1
03chap103chap1
03chap1
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 mat
 
09chap7
09chap709chap7
09chap7
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
 

Plus de Nongruk Srisukha

ชมรมจิตอาสา
ชมรมจิตอาสาชมรมจิตอาสา
ชมรมจิตอาสาNongruk Srisukha
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22Nongruk Srisukha
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22Nongruk Srisukha
 

Plus de Nongruk Srisukha (6)

Bot1
Bot1Bot1
Bot1
 
Bot2
Bot2Bot2
Bot2
 
Tgt สังคม
Tgt สังคมTgt สังคม
Tgt สังคม
 
ชมรมจิตอาสา
ชมรมจิตอาสาชมรมจิตอาสา
ชมรมจิตอาสา
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
 

การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน

  • 1. การจัดการเรียนรูแบบสืบสวนสอบสวน ( Inquiry ) Dr.Richard Suchman กลาววา “ความรูตางๆที่มีอยูในโลกนี้ เปนผลที่ไดมาจากการศึกษาคนควา โดยเฉพาะการศึกษาที่เรียกวา สืบสวนสอบสวน (Inquiry)” ดังนั้นการจัดการเรียนรูควรสงเสริมใหผูเรียน สามารถศึกษาคนควาและสืบสวนสอบสวนความรูดวยตนเอง ทั้งยังชวยใหเกิดความคิดอยางมีเหตุผลอีกดวย  และจากความเชื่อดังกลาว Richard Suchman ไดตั้งโครงการวิจัยเกี่ยวกับการสอนแบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry) ขึ้นที่มหาวิทยาลัย Illinois โดยเนนการสอนวิทยาศาสตรดวยวิธีใหนักเรียนตั้งคําถาม เพือใหนกเรียน ่ ั คนพบหลักการและกฎเกณฑทางวิทยาศาสตรดวยตนเองสําหรับในประเทศไทย ดร.วีระยุทธ วิเชียรโชติ ไดตั้ง โครงการวิจัยเกี่ยวกับการเรียนการสอนแบบสืบสวนสอบสวนขึ้นในชวงป พ.ศ.2513-2514 แตการเรียนการสอน แบบสืบสวนสอบสวนของ ดร.วีระยุทธ วิเชียรโชติ มีความแตกตางจากการสอนแบบ Inquiry ของ Suchman เพราะดร.วีระยุทธ วิเชียรโชติ มีความคิดวาการสอนแบบ Inquiry ของ Suchman นั้นไมเหมาะสมกับเด็กนักเรียน ไทย ซึ่งไมคอยชอบถามและดอยความสามารถทางความคิด อันอาจจะทําใหเด็กไทยเกิดความเบื่อหนายและ ทอแทตอวิธีการนี้ ดังนั้น ดร.วีระยุทธ วิเชียรโชติ จึงไดพฒนาทฤษฎีการเรียนการสอนแบบสืบสวนสอบสวน ั การสอนแบบสืบสวนสอบสวน มีชื่อเรียกแตกตางกันไปหลายชื่อ เชน การสอนแบบสืบ สวนสอบสวน การ สอนแบบสืบสอบ การสอนแบบสืบเสาะหาความรู การสอนแบบใหคดสืบคน และการสอนโดยนักเรียนคนหา ิ ความรูโดยใชกระบวนการคิด เปนตน ดร.วีระยุทธ วิเชียรโชติ ( 2515 ) ไดใหความหมายไววา การเรียนการสอนแบบสืบสวนสอบสวน คือ การเรียนการสอนที่เนนการพัฒนาความสามารถในการคิดแกปญหาโดยวิธการทางวิทยาศาสตร ซึ่งในหลักการ ี ของการดําเนินชีวิตแบบประชาธิปไตย เรียกวา ปญญาธรรม นอกจากนั้นการเรียนการสอนแบบสืบสวน สอบสวนยังเนนการเรียนรูที่เริ่มตนจากการแสวงหา นําไปสูการคนพบหลักเกณฑตางๆที่เปนวิทยาศาสตร และ สรุปลงดวยการนําเอาหลักเกณฑใชเปนประโยชนในชีวิตจริง ในรูปของประยุกตวิทยาอีกดวย ดร.นาตยา ภัทรแสงไทย ( 2525 ) ไดใหความหมายการสืบสวนสอบสวนไววา การสอนแบบสืบสวน สอบสวนเปนกระบวนการแสวงหาแนวทางการแกปญหาอยางมีเหตุผล โดยจะเริ่มตนดวยปญหา จากนั้นจึง ตั้งสมมติฐาน ทดสอบสมมติฐาน หาแนวทางแกปญหา โดยอาศัยขอมูลที่รวบรวมมาได วิเคราะหเปรียบเทียบ ขอมูลตางๆที่รวบรวมมาได จากนั้นจึงนํามาทดสอบสมมติฐานที่ตั้งไว แกปญหาจนไดขอสรุปออกมา สุวิทย มูลคํา และอรทัย มูลคํา (2545: 136) ไดกลาววา การจัดการเรียนรูแบบสืบสวนสอบสวน คือ กระบวนการเรียนรูที่เนนการพัฒนาความสามารถในการแกปญหาดวยวิธีการฝกใหผูเรียนรูจกศึกษาหา ั ความรู โดยผูสอนตั้งคําถามกระตุนใหผูเรียนใชกระบวนการทางความคิดหาเหตุผลจนคนพบความรู หรือ  แนวทางการแกปญหาที่ถูกตองดวยตนเอง สรุปเปนหลักการกฎเกณฑ หรือวิธีการในการแกปญหา สามารถ นําไปประยุกตใชประโยชนในการควบคุม ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง หรือสรางสรรคสิ่งแวดลอมในสภาพการณ ตางๆ ไดอยางกวางขวาง
  • 2. สรุปไดวา ในการจัดการเรียนรูโดยการใชวิธีการสืบสวนสอบสวน เปนวิธีการจัดการเรียนรูใหผูเรียนได รูจักกระบวนการแสวงหาความรูอีกวิธหนึ่งที่จะชวยใหผูเรียนคนพบความจริงตางๆดวยตนเอง โดยอาศัยวิธีการ ี แกปญหาการจัดการเรียนรูแบบสืบสวนสอบสวน มีสื่อกลางสําคัญ คือการใชคําถามและการตอบคําถาม ดังนั้น อาจแบงการสืบสวนสอบสวนโดยพิจารณาลักษณะการถามระหวางครูผจัดการเรียนรูและผูเรียน ไดดงนี้ ู ั 1. การสอนแบบสืบสวนสอบสวนที่ครูเปนผูถาม (Passive Inquiry) เปนลักษณะของการสอนตาม รูปแบบของ Hilda Taba ซึ่งเปนลักษณะครูเปนผูตั้งคําถาม และผูเรียนเปนผูตอบคําถาม นั่นคือผูเรียนจะตองเปน แหลงขอมูลหรือควบคุมขอมูล 2. การสอนแบบสืบสวนสอบสวนที่ผูเรียนเปนผูถาม (Active Inquiry) เปนการสอนตามแบบของ Suchman ซึ่งลักษณะนี้ผูเรียนจะเปนผูตั้งคําถามและครูจะเปนผูตอบคําถาม นั่นคือครูจะเปนแหลงของขอมูล หรือควบคุมขอมูล 3.การสอนแบบสืบสวนสอบสวนที่ครูและผูเรียนชวยกันถาม (Combined Inquiry)วิธีการสอนแบบนี้ เปนการประยุกตใชวิธีการของ Taba และ Suchman เขาดวยกัน กลาวคือ ครูถาม-ผูเรียนตอบ ผูเรียนถาม-ครูตอบ สลับกันไปแลวแตความเหมาะสม แตสิ่งสําคัญที่สุดที่ครูควรระลึกไวเสมอคือ ครูผูจัดกิจกรรมการเรียนรูอยาใจ รอนรีบบอกผูเรียน ขั้นตอนการสอนแบบสืบสวนสอบสวน บรูเนอร (Bruner. 1966: 89) ไดเสนอกระบวนการสืบสวนสอบสวนไวเปน 4 ขั้น ซึงเปนที่รูจักกันใน ่ ชื่อ OEPC Techniques ดังรายละเอียดตอไปนี้ 1. ขั้นสังเกต (Observation-O) เปนขั้นที่สาคัญที่สุดอันดับแรกของกระบวนการแสวงหาความรู ขั้น ํ สังเกตนี้ครูจัดสถานการณ กิจกรรมหรือสาธิตการทดลองใหผูเรียนสังเกต จะทําใหผูเรียนเกิดปญหาคับของใจ (Conflict) ผูเรียนจะถามเพื่อใหไดขอมูลแลวจดบันทึกขอมูลเหลานั้นไวเปนพืนฐาน เพื่อจะนํามาประกอบการ ้ พิจารณาตั้งสมมติฐานตอไป 2. ขั้นอธิบาย (Explanation-E) เมื่อใชการสังเกตการณเก็บรวบรวมขอมูลในขั้นแรกแลว ตอไปพยายาม อธิบายสถานการณหรือปรากฏการณนั้นๆ วามีอะไรเปนสาเหตุ เพราะเหตุใดจึงเปนเชนนั้นโดยพยายามหา แนวทางในการอธิบายไวหลายๆ ทางตามแบบของการตั้งสมมติฐาน 3. ขั้นทํานายหรือคาดคะเน (Prediction-P) เมื่อทดลองสมมติฐานเพื่อหาทางอธิบายวาปญหาเหลานันมี ้ สาเหตุจากอะไรแลวผูเรียนก็พอจับเคาโครงของปญหาไดแนชดขึ้น ฉะนั้นจะสามารถคาดคะเนไดวาถามีสาเหตุ ั เชนเดียวกันอีกจะเกิดอะไรตามมา แมวาจะไมมีสถานการณเชนนันปรากฏใหเห็นจริงๆ ้ 4. ขั้นนําไปใชและสรางสรรค (Control and creativity-C) คือ ขั้นที่สามารถนําแนวคิดที่ไดรับไปใชใน การแกปญหากับสถานการณอื่นๆ ไดอยางถูกตอง สรุปขั้นตอนของกระบวนการสอนแบบสืบสวนสอบสวนของบรูเนอร ไดดังภาพประกอบ 1
  • 3. O E P C ความรูเดิม สังเกต อธิบาย ทํานาย ควบคุมและสรางสรรค ภาพประกอบ 1 ขั้นตอนของกระบวนการสอนแบบสืบสวนสอบสวนของบรูเนอร ที่มา: เสาวณีย สิกขาบัณฑิต. (2528). เทคโนโลยีทางการศึกษา. หนา 180. กรมวิชาการ (2544: 36-37) กลาวถึง ขั้นตอนการสอนแบบสืบสวนสอบสวนไว 5 ขั้นดังนี้ 1. ขั้นการสังกัปแนวหนา คือ ขั้นที่ครูปูพื้นฐานความพรอมในดานความรูใหแกนักเรียน 2. ขั้นสังเกต คือ ครูสรางสถานการณที่เปนปญหาหรือเปนการแสดงละครปริศนาเพื่อใหนกเรียนสังเกต ั สภาพการณหรือสิ่งแวดลอมที่เปนปญหานันๆ ขั้นนี้ครูสงเสริมใหนักเรียนฝกคิดวิเคราะห ทําความเขาใจ แปล ้ ความหมาย และจัดโครงสรางความคิดในรูปแบบตางๆเพื่อใหสอดคลองกับสภาพปญหา และสรางแรงจูงใจให นักเรียนเกิดความกระหายใครจะแสวงหาความจริง 3. ขั้นอธิบาย เปนขั้นที่ครูกระตุนใหนกเรียนหาคําอธิบายหรือสาเหตุของปญหาในรูปของเหตุผล ขั้นนี้ ั นักเรียนฝกการตั้งทฤษฎีหรือสมมติฐานเพืออธิบายที่มาสาเหตุของปญหานั้น เปนการฝกวิเคราะหระบบจากผล ่ ไปหาเหตุ 4. ขั้นทํานาย ใหนักเรียนรูจกหาแนวทางหรือวิธีที่จะพิสูจนทํานายผลหรือพยากรณไดวาผลจะเปน ั อยางไร จะเกิดอะไรขึ้น เปนการทดสอบสมมติฐานหรือพิสูจนทฤษฎีที่ตั้งขึ้น 5. ขั้นควบคุมและสรางสรรค เปนการสงเสริมใหนักเรียนนําหลักการ กฎเกณฑและวิธีการแกปญหามา ใชประโยชนในการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงสิงแวดลอมในสภาพการณตางๆ ไดอยางกวางขวาง ลักษณะพิเศษของ ่  วิธีสอนแบบนีคือ กาวไกลวาการสอนแบบวิทยาศาสตรในดานที่คิดไปถึงการใชประโยชนตอไปดวย ไมจํากัด ้ เฉพาะแตการแกปญหาที่เกิดขึ้นเทานัน ้ สําหรับ ดร.วีระยุทธ วิเชียรโชติ ไดศึกษาการสอนแบบสืบสวนสอบสวนในประเทศไทย ใชชื่อวา การสอนแบบสืบสวนสอบสวน (Investigation or OEPC inquiry) และไดเสนอโครงการของการสอน หรือวิธีการสอนไว 4 ขั้นดังนี้ ขั้นที่ 1 ขั้นการสังเกต ( Observation ) เปนขั้นที่ครูสรางสถานการณ หรือทดลองใหนักเรียนไดสังเกต และวิเคราะหองคประกอบและธรรมชาติของปญหาอยางละเอียด ซึ่งเด็กจะถามเพื่อใหไดขอมูลมา เพื่ออภิปราย ขอสงสัยที่เกิดขึ้น คําตอบคําถามตองเปนแบบ “ ใช หรือ ไมใช ” หรืออาจจะเปนไปไดแลวแตกรณี เพื่อกระตุน  ใหถามโดยใชความคิด ในขั้นนี้ครูจะไมอธิบายอะไรนอกจากคําถาม ขั้นที่ 2 ขั้นการอภิปรายปญหา ( Explanation ) เด็กจะอาศัยขอมูลที่ไดเปนเหตุผลมาอภิปรายหรือ อธิบายปญหาหรือสาเหตุปญหา สวนมากใชความคิดแบบโยงความสัมพันธและแบบอางอิง อันจะนําไปสราง  สมมติฐานทั่วไปและทฤษฎี คําอธิบายในขันนี้ไมจําเปนที่จะตองเปนความจริงเสมอไป เพราะคําอธิบายนั้นก็คือ ้ สมมติฐานกวางๆ หรือทฤษฎีนั่นเอง ซึ่งยังเปนการคาดคะเนอยู ความจริงอาจไมเปนไปตามคําอธิบายนี้กได ขั้น ็ ที่กลาวมานี้เปนเพียงขันของการสืบสวนเทานั้น ้
  • 4. ขั้นที่ 3 ขั้นพยากรณหรือทํานายผล ( Prediction ) เมื่อลองตั้งสมมติฐานเพื่อหาทางอธิบายวาปญหา เหลานั้นมีมูลเหตุจากอะไรแลวผูเรียนพอจะจับเคาโครงของปญหาไดชดขั้น ดังนันก็สามารถตั้งสมมติฐานเชิง ั ้ ทํานายได หรือคาดคะเนผลของสาเหตุตางๆได การเรียนที่สําคัญในขั้นนี้คือ การเรียนรูวิธีการแกปญหา โดยนํา  หลักการเรียนรูในขั้นที่ 2 มาใช ซึ่งเปนการสอบสวนนั่นเอง ขั้นที่ 4 ขั้นควบคุมและสรางสรรค ( Control or Greativity ) หรือขั้นนําไปใช เปนขันที่นําผลของการ ้ แกปญหา หรือสิ่งที่คนพบในขั้นอธิบายและขั้นทํานายผล มาใชใหเกิดประโยชนในชีวิตจริง สามารถประดิษฐ คิดคนสิ่งใหม วิธีการใหม เพือเกิดประโยชนและนําไปใชได ่ การจัดการเรียนรูแบบสืบสวนสอบสวน 1. ลักษณะเดนเปนวิธีการจัดการเรียนรูที่ทาใหผูเรียนแกไขปญหา เปนการทําใหผูเรียนใชความคิดและ ํ เปนวิธียวยุความสนใจใหผูเรียนอยากติดตาม เพื่อคนหาความจริงตอไปเรื่อยๆ ทั้งนีผูจัดการเรียนรูจะตองมีการ ั่ ้ จัดลําดับเนื้อหาและกิจกรรมตางๆไวเปนอยางดี ซึ่งจะทําใหเกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไดดี 2. วัตถุประสงคเบื้องตนหรือเปาหมายของการจัดการเรียนรูแบบสืบสวนสอบสวน 2.1 เปนการพัฒนาการตัดสินใจของผูเรียนอยางมีเหตุผล 2.2 สงเสริมใหผูเรียนรูจกการสังเกตตั้งคําถามและแสวงหาขอเท็จจริง ั 2.3 สงเสริมใหผูเรียนเปนผูมีความเชื่อมั่นในเหตุผล กลาที่จะนําเอาความเขาใจของตนมาใช ปฏิบัติจริงได 3. บทบาทของครูและผูเรียน บทบาทของครูผูจัดการเรียนรู คือ การตั้งคําถามหรือตั้งปญหาและบอกแหลงขอมูลใหกับผูเรียน เพื่อที่จะไดสืบคนหาคําตอบในการแกไขปญหา และครูยงมีบทบาทควบคุมเขาสูจุดหมายของการเรียนรู ั บทบาทของผูเรียน คือ การสืบคนหาขอมูลจากแหลงขอมูล เพื่อนํามาแสดงเหตุผลในการแกไขปญหาที่ถูกตอง 4. สิ่งที่แสดงใหเห็นพฤติกรรมการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง ในเทคนิควิธี การสอนแบบ สืบสวนสอบสวนก็คือ วิธการซักถาม ตอบคําถาม โดยการเปดโอกาสใหผูเรียนไดหาขอมูล เก็บขอมูล ใช ี ความคิด ตั้งคําถาม ตอบคําถาม อยางอิสระที่สุด ถาครูจะมีบทบาทในการตั้งคําถาม ก็ควรเปนคําถามที่จะชวยให ผูเรียนเขาสูจุดหมายที่ตองการ 5. จากการจัดการเรียนรูแบบสืบสวนสอบสวน จะชวยพัฒนาผูเรียนในดานตางๆ เชน 5.1 ทักษะทางปญญา ผูเรียนไดใชความคิดและสติปญญาในการหาขอมูลแสดงเหตุผลอยาง อิสระ 5.2 ทักษะทางสังคม ทําใหผูเรียนเกิดความเชื่อมั่น กลาคิดกลาแสดงออก หรือรับฟงความ คิดเห็นของผูอน ื่ 5.3 ทักษะทางการปฏิบัติ เปนการปลูกฝงใหผูเรียนเปนคนละเอียดถี่ถวน มีความรอบคอบ รูจักการสังเกต ไมเชื่ออะไรงายๆโดยไมไดตรวจสอบกอน
  • 5. บทบาทของครูในการสอนแบบสืบสวนสอบสวน คาลาฮาน; และคนอื่นๆ (Callahan; et al. 1998: 261-262) ไดกลาวถึง บทบาทของครูในการสอนแบบ สืบสวนสอบสวน ซึ่งสรุปไดดังนี้ 1. ครูมีหนาที่ใหคําแนะนํากับนักเรียนมากกวาบอกใหนกเรียนทําตาม ั 2. ครูตั้งคําถาม เลือกประเด็นที่นาสนใจเพื่อกระตุนใหนักเรียนคิดและพยายามคนหาคําตอบ 3. ในขณะที่นกเรียนคนหาคําตอบ ครูควรแนะนําในการคนพบโดยหาความชัดเจนกับปญหา ั 4. ครูพยายามสรางบรรยากาศในชั้นเรียนทีเ่ ปนการสงเสริมการสรางขอคาดเดา การตังขอ ้ สงสัยและการคิดแกปญหา 5. สนับสนุนใหนักเรียนตั้งสมมติฐานและเปดโอกาสใหนักเรียนไดตรวจสอบสมมติฐานดวย ตนเอง 6. ชวยนักเรียนในการวิเคราะหและประเมินความคิดของตนเอง โดยเปดโอกาสใหมี การอภิปรายเปดในชันเรียนและพยายามกระตุนใหนักเรียนพยายามคิดโดยไมมีการขมขูเมื่อคําตอบไมเปนไป ้ ตามที่คาดหวัง วีรยุทธ วิเชียรโชติ (2521: 33-34) ไดกลาวถึงบทบาทของครูในการสอนแบบสืบสวนสอบสวน ซึ่งสรุป ไดดังนี้ 1. ครูเปนผูกระตุนใหเกิดการสืบสวนสอบสวนโดยการสรางสถานการณยวยุใหเด็กตังคําถามสอบสวน ั่ ้ ตามลําดับขั้นของคําถามแบบสืบสวนสอบสวน 2. ครูเปนผูใหการหนุนกําลัง เมื่อเด็กถามมาก็จะใหแรงหนุนยอมรับในคําถามนั้นกลาวชมและชวย ปรับปรุงภาษาในคําถามเพื่อใหนกเรียนเขาใจในคําถามใหกระจางดียิ่งขึ้น ั 3. ครูเปนผูทานกลับ ครูจะทบทวนคําถามอยูบางแตไมมากนักเพื่อพิจารณาดูวานักเรียนมีความเขาใจ อยางไรบาง อาจตั้งคําถามถามนักเรียนเกียวกับเนื้อหาที่ไดเรียนไปแลวกอนที่จะเรียนบทตอไป ่ 4. ครูเปนผูแนะนําและกํากับ ครูจะชี้ทางเพือใหเกิดความคิดตามแนวทางที่ถูกตองเปนผูกํากับควบคุม ่ เมื่อเด็กออกนอกลูนอกทาง 5. ครูเปนผูจัดระเบียบ ครูดําเนินการจัดชั้นเรียนใหเหมาะสมกับวิธีการเรียน 6. ครูเปนผูสรางแรงจูงใจ ครูชวยสรางแรงจูงใจใหนกเรียนมีกําลังใจในการเรียน ั กรมวิชาการ (2544: 36); และ พิมพันธ เดชะคุปต (2544: 57) กลาวถึง บทบาทของครูในการสอนแบบ สืบสวนสอบสวนสรุปไดดงนี้ ั 1. เปนผูกระตุน (catalyst) ใหนักเรียนคิด โดยกําหนดปญหาแลวใหนกเรียนวางแผนหาคําตอบเอง หรือ  ั กระตุนใหนกเรียนกําหนดปญหาและหาสาเหตุของปญหานั้นดวยการตั้งคําถาม ั 2. เปนผูใหการเสริมแรง (reinforcer) โดยการใหรางวัล กลาวชม เพื่อใหกําลังใจ เพื่อเกิดพฤติกรรมการ เรียนการสอนแบบตอเนื่อง 3. เปนผูใหขอมูลยอนกลับ (feedback actor) โดยการบอกขอดีขอบกพรองแกนักเรียน
  • 6. 4. เปนผูแนะนําและกํากับ (guide and director) เปนผูแนะนําเพื่อใหเกิดความคิดและกํากับควบคุมมิให ออกนอกลูนอกทาง 5. เปนผูจัดระเบียบ (organizer) เปนผูจัดบรรยากาศและสิ่งแวดลอม รวมทั้งอุปกรณสื่อการสอนแก นักเรียน สุวิทย มูลคํา; และ อรทัย มูลคํา (2545 : 142) กลาวถึง บทบาทผูสอนในการจัดการเรียนรูแบบสืบสวน สอบสวน ไวดงนี้ ั 1. กระตุนใหผเู รียนมีความสนใจ คิดปญหา วางแผนและแกปญหาอยางเปนขั้นตอนมีเหตุผลดวยตนเอง 2. กระตุนใหผเู รียนหาวิธีการแกปญหาหลายๆ วิธีและใชทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรชวยใน การแกปญหา 3. เสริมแรงหรือใหกําลังใจแกผูเรียน 4. ชวยเหลือ แนะนํา กํากับอยางใกลชิด ตลอดจนเปนผูอํานวยความสะดวกเพื่อใหกระบวนการเรียนรู ดําเนินไปไดดวยความเรียบรอย  5. จัดเตรียมแหลงการเรียนรูที่สําคัญใหแกผูเรียน 6. จัดบรรยากาศและสภาพแวดลอมใหเอื้อตอการเรียนรูของผูเรียน  7. เปนผูใหขอมูลยอนกลับทังขอดีและขอบกพรองแกผูเรียน ้ จากการศึกษาคนควาขางตนสรุปไดวา บทบาทของครูในการสอนแบบสืบสวนสอบสวน คือ ครูควรจัด สถานการณปญหาหรือกิจกรรมตางๆ ที่ยั่วยุใหผูเรียนอยากที่จะเรียนรูหรืออยากที่จะคนหาคําตอบของปญหา  นั้น เปนผูคอยกระตุนการเรียนรูของผูเรียนใหเกิดขึ้นอยางตอเนื่องและฝกใหผูเรียนไดใชความคิดอยางเปน ขั้นตอนจนกระทั่งผูเรียนสามารถสรุปความรูไดดวยตนเอง รวมถึงการใหกําลังใจหรือเสริมแรงใหกับผูเรียนอีก ดวย ขอดีและขอจํากัดของการสอนแบบสืบสวนสอบสวน สุโขทัยธรรมาธิราช (2537: 94-95); และ ภพ เลาหไพบูลย (2537: 126) ไดสรุปขอดีและ ขอจํากัดของการสอนแบบสืบสวนสอบสวนไวดังนี้ ขอดี 1. นักเรียนไดฝกกระบวนการคิดทางคณิตศาสตร 2. ใหนกเรียนรูจักอภิปราย และทํางานรวมกันอยางมีเหตุผล ั 3. ใหนกเรียนรูจักสังเกตและวิเคราะหสถานการณหรือปญหานั้นโดยละเอียด ั 4. นักเรียนมีโอกาสพัฒนาความคิดอยางเต็มที่ ไดศึกษาคนควาดวยตนเองจึงมีความอยากเรียนรูอยู ตลอดเวลา 5. นักเรียนเปนศูนยกลางของการเรียนการสอน 6. นักเรียนมีโอกาสไดฝกความคิดและฝกการกระทํา ทําใหไดเรียนรูวิธจัดระบบความคิดและวิธี ี
  • 7. สืบสวนสอบสวนดวยตนเอง ทําใหความรูคงทนและถายโยงการเรียนรูได กลาวคือทําใหสามารถจดจําไดนาน   และนําไปใชในสถานการณใหมอีกดวย 7. นักเรียนจะเกิดเจตคติทดีตอวิชาคณิตศาสตร ี่  ขอจํากัด 1. ถาสถานการณที่สรางขึ้นไมชวนสงสัยจะทําใหนกเรียนเบื่อและไมอยากเรียนโดยวิธีนี้ ั 2. ถาครูควบคุมมากเกินไปก็จะไมเปดโอกาสใหผูเรียนสืบสวนสอบสวนดวยตนเอง 3. ใชเวลามากในการสอนแตละครั้ง 4. นักเรียนที่มสติปญญาต่ําและเนื้อหาวิชาคอนขางยาก นักเรียนอาจจะไม ี สามารถศึกษาหาความรูดวยตนเอง  สมชาย ชูชาติ (2538: 82) ไดกลาวถึง ขอดีและขอจํากัดของการสอนแบบสืบสวนสอบสวนไวดังนี้ ขอดี 1. ผูเรียนเปนศูนยกลางในการเรียนการสอนเพราะเขาจะตองกํากับการเรียนการสอนดวยตนเอง ดังนั้น บทบาทของผูเรียนจึงเปนผูที่มีความกระฉับกระเฉงไมเปนผูที่เฉื่อยชาตอไป 2. เปนการเรียนโดยการเนนที่ปญหาจะมีประโยชนตอผูเรียนในแงทวาฝกใหเขาเปนผูรูจักลักษณะ ี่ วิธีการแกปญหา 3. เปนการเรียนที่ฝกทักษะและความสามารถในการตัดสินใจ 4. บทบาทของครูผูสอนเปลี่ยนจากผูบอกมาเปนผูถาม ซึ่งวิธีการดังกลาวจะทาใหผูเรียนกระตือรือรน มากขึ้น 5. เปนการยอมรับเจตคติของผูเรียนแตละคนโดยเฉพาะในเรื่องคานิยมและเจตคติของผูเรียน เปนการ เปดโอกาสใหผูเรียนไดพฒนาคานิยมและเจตคติไปในดานที่ดีดวย ั  6. บทบาทของครูผูสอนเปลี่ยนไป ไมเปนผูคุมการเรียนการสอน กลายเปนผูเรียนไปกับนักเรียนดวย 7. ไมสงเสริมการเรียนในเชิงแขงขันเพื่อคะแนน แตผูเรียนสามารถเรียนไปโดยมุงทีจะบรรลุเปาหมาย ่ ของตนเอง ขอจํากัด 1. ในกรณีที่นาการสอนแบบสืบสวนสอบสวนมาใชกบกลุมผูเรียนทีมิใชรายบุคคลแลวผูเรียนอาจไมมี ํ ั ่ โอกาสรวมกิจกรรมทุกคน มีผูเรียนเพียงบางคนเทานั้นทีมีโอกาสในการแสดงความคิดเห็น การตัดสินใจ ่ 2. การสอนแบบสืบสวนสอบสวนนั้นเปนวิธีการที่มุงใหนักเรียนคิดอยางมีเหตุผล วิธการดังกลาวตอง ี ใหเวลามากพอสมควร แตการสอนในชั้นเรียนสวนใหญ ผูสอนมักมีแนวโนมที่จะเรงรัดคําตอบหรือขอโตตอบ ของผูเรียนเสมอ 3. ในบางครั้งผูเรียนเกิดความรูสึกวาปญหาหรือประเด็นที่ผูสอนหยิบยกขึ้นมาเพื่อการสืบเสาะหา ความรูนั้น แทจริงแลวผูสอนมีคําตอบอยูในใจไวกอนซึ่งดูเหมือนวาผูเรียนถูกตะลอมใหเปนไปตามสิ่งที่ผูสอน คิดไวแลว
  • 8. สุวิทย มูลคํา; และ อรทัย มูลคํา (2545:142) ไดกลาวถึง ขอดีและขอจํากัดของการจัดการเรียนรูแบบ สืบสวนสอบสวน ไวดังนี้ ขอดี 1. ผูเรียนไดเรียนรูวิธีการคนควาหาความรูและการแกปญหาดวยตนเอง  2. ความรูที่ไดมีคุณคา มีความหมายสําหรับผูเรียน เปนประโยชนและจดจําไดนานสามารถเชื่อมโยง ความรูและนําไปใชในชีวิตประจําวันได 3. เปนวิธีการที่ทําใหผูเรียนเกิดแรงจูงใจในการเรียนรู มีความอิสระ มีชีวิตชีวา และสนุกสนานกับการ เรียนรู ขอจํากัด 1. ใชเวลามากในการเรียนรูแตละครั้ง บางครั้งอาจไดสาระการเรียนรูไมครบถวนตามที่กําหนด 2. ถาปญหาหรือสถานการณงายหรือยากเกินไป ไมเราใจหรือไมนาสนใจ จะทําใหผูเรียนเบื่อหนายไม อยากเรียน 3. เปนวิธีการที่มีการลงทุนสูง ซึ่งบางครั้งอาจไดผลไมคุมคากับการลงทุน 4. ผูสอนตองใชเวลาในการวางแผนมาก จากการศึกษา สรุปไดวาการนําขอดีของการสืบสวนสอบสวนมาขยายผลการใชอยางเต็มที่เพื่อลด ขอดอยใหมีนอยสุดยอมเกิดคุณคาและมีประโยชนสูงสุดเปนการสรางโอกาสใหผูเรียน คือ  1. ไดรูจักการคิดการฝกทักษะ แสดงออกถึงความสามารถทางความคิดอยางอิสระและถูกตอง ซึ่ง สามารถแสดงออกถึงการพัฒนาของสภาพผูเรียนอยางแทจริง 2. เกิดทักษะองคความรูในการประกอบกิจกรรมที่มีขั้นตอนของการสืบสวนสอบสวน 3. การสรางใหผูเรียนมีวิธีการตัดสินใจในการแกปญหาไดอยางชาญฉลาดและรวดเร็ว 4. สงเสริมบทบาทผูเรียนไดแสดงศักยภาพในการพัฒนาดานการเรียนการแกปญหาดวยตนเองมีเหตุผล สอดคลองกับความสัมพันธของการคนควาหาความรูกับการคนพบคําตอบดวยตนเอง 5. สามารถนําประโยชนของทักษะกระบวนการเรียนการสอนนี้ไปใชในสถานการณปญหาอื่นๆได จากการศึกษาคนควาขางตน สรุปไดวา ขอดีของการสอนแบบสืบสวนสอบสวนก็คือ เปนวิธีที่เนนให ผูเรียนลงมือปฏิบัติจริง มีอสระทางความคิด คนหาความรูและการแกปญหาดวยตนเองทําใหผูเรียนมีชีวิตชีวาใน ิ  การเรียน เกิดความรูที่คงทน สวนขอจํากัดของวิธีการสอนนี้ก็คือ การรอเวลาเพื่อใหนักเรียนคนพบขอสรุปดวย ตนเองอาจใชเวลามากทําใหเสียเวลาในการเรียนเนื้อหาตอๆไป และถาจัดสถานการณปญหาที่ไมดึงดูดความ สนใจของผูเรียนหรือไมมการวางแผนการสอน อาจทําใหผูเรียนเกิดความเบื่อหนายได ี
  • 9. บรรณานุกรม กรมวิชาการ. (2544). รายงานการวิจัยเรื่อง การสังเคราะหวิธีสอนวิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตรและวิทยาศาสตร ระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ: กองวิจยทางการศึกษากรมฯ. ั ณรงค วรรณจักร. (2550). การจัดการเรียนรูแบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry). สืบคนเมื่อ 23 มิถุนายน 2552. จาก http://kmsc1.multiply.com/journal/item/67. ดารกา วรรณวนิช. (2549). ยุทธศาสตรการสอน. กรุงเทพฯ : โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝายมัธยม). ทิศนา แขมมณี. (2546). รูปแบบการเรียนการสอน : ทางเลือกที่หลากหลาย. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. รุงทิวา จักรกร. (2523). วิธีสอนทั่วไป. กรุงเทพฯ : ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะ ศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. สมชาย ชูชาติ. (2538). เอกสารคําสอนวิชา ศษ 361 วิธีสอนทั่วไป. กรุงเทพฯ: ภาควิชาหลักสูตรและการ สอน คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สุวิทย มูลคํา, อรทัย มูลคํา. (2545). 19 วิธีการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาความรูและทักษะ. กรุงเทพฯ : ดวงกมลสมัย. _____________. (2545). 20 วิธีจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม คานิยม, การเรียนรู โดยการแสวงหาความรูดวยตนเอง. กรุงเทพฯ : ดวงกมล