SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  5
Télécharger pour lire hors ligne
จีนคว้าแชมป์การค้าโลก
---------------------------------------------
อันที่จริง ข่าวการคว้า “แชมป์การค้าโลก” ของจีนในครั้งนี้ไม่ใช่ข่าวใหม่ที่น่าตื่นเต้นแต่อย่างใด เพราะ
ผู้เชี่ยวชาญได้ประเมินและคาดการณ์ก่อนหน้านี้แล้วว่า จีนจะก้าวขึ้นครองอันดับหนึ่งของการค้าโลกในไม่ช้า พอดูจากแนวโน้ม
การค้าฯ ของจีนและสหรัฐฯ ในระยะหลัง โดยเฉพาะช่วงโค้งสุดท้ายของปี 2556 แล้วก็ยิ่งมั่นใจใหญ่พร้อม “ฟันธง” ว่า จีน
จะแซงหน้าสหรัฐฯ ในฐานะประเทศที่ค้าขายระหว่างประเทศมากที่สุดในโลกในปี 2556 อย่างไรก็ดี ผู้คนในวงการต้องรอฟัง
ประกาศตัวเลขการค้าระหว่างประเทศของจีนและสหรัฐฯ อย่างเป็นทางการอีกครั้ง จนกระทั่งเมื่อเร็ว ๆ นี้ ตัวเลขการค้าฯ
ได้รับการยืนยันจากองค์การการค้าโลก (World Trade Organization: WTO)
เรียบร้อยแล้ว ผลเป็นเช่นไรลองติดตามมาได้เลยครับ ...
การเปิดเสรี ... การเติบโตทางการค้าของจีน
ปี 2521-2536 ... ยุคปรับฐาน หากมองย้อนกลับไปเมื่อปี
2521 ที่จีนเปิดประเทศสู่โลกภายนอกครั้งใหม่ การค้าระหว่างประเทศของจีนมีมูลค่า
เพียง 20,640 ล้านเหรียญสหรัฐฯ แต่ความสาเร็จจากการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจได้
ส่งผลให้การค้าฯ ของจีนขยายตัวอย่างต่อเนื่องในอัตราที่สูง โดยมีมูลค่าก้าวขึ้นเป็น 115,440 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ในปี 2533
และมีมูลค่าเกือบ 200,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ในปี 2536 อย่างไรก็ดี จีนเสียดุลการค้าในระยะแรกและได้เปรียบดุลการค้า
บ้างในหลายปีต่อมา ทั้งนี้ ปี 2536 นับเป็นปีที่จีนขาดดุลการค้าครั้งล่าสุด
ปี 2537-2556 ... ยุคเกินดุลการค้า ในช่วง 20 ปีที่ผ่านมา จีนนับว่าประสบความสาเร็จและได้รับ
ประโยชน์ทางเศรษฐกิจและการค้าอย่างมากจากบริบทของการเปิดเสรีทางการค้าโลก ทาให้สามารถเชื่อมโยงจีนเข้ากับการค้า
โลกได้อย่างแนบแน่นและรวดเร็วชนิดที่ไม่เคยมีประเทศใดทามาก่อน
จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์จีนพบว่า ในปี 2545 จีนได้เข้าไปมี
บทบาทในเวทีการเจรจาการค้าพหุภาคีในฐานะสมาชิก WTO และก้าวขึ้นเป็นประเทศที่มี
มูลค่าการค้าอันดับที่ 6 ของโลกด้วยมูลค่า 0.62 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ คิดเป็นสัดส่วน
ร้อยละ 4 ของมูลค่าการค้าโลกโดยรวม ในเวลาต่อมา การส่งออกและนาเข้าของจีนก็
ยังคงขยายตัวในอัตราที่สูง โดยมูลค่าการค้าฯ พุ่งขึ้นทะลุหลัก 1 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ
ในปี 2547 และใช้เวลาไม่ถึง 3 ปีในการก้าวขึ้นแตะหลัก 2 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ
มูลค่าการส่งออกและนาเข้าของจีน ระหว่างปี 2521-2556
(พันล้านเหรียญสหรัฐฯ)
ปี การส่งออก การนาเข้า ดุลการค้า
2521 9.75 10.89 -1.14
2523 18.12 20.02 -1.90
2528 27.35 42.25 -14.90
2533 62.09 53.35 8.74
2535 84.94 80.59 4.35
2536 91.74 103.96 -12.22
2537 121.01 115.61 5.40
2538 148.78 132.08 16.70
2
2539 151.05 138.83 12.22
2540 182.79 142.37 40.42
2541 183.71 140.24 43.47
2542 194.93 165.70 29.23
2543 249.20 225.09 24.11
2544 266.10 243.55 22.55
2545 325.60 295.17 30.43
2546 438.23 412.76 25.47
2547 593.33 561.23 32.09
2548 761.95 659.95 102.00
2549 968.98 791.46 177.52
2550 1,220.46 956.12 264.34
2551 1,430.69 1,132.57 298.12
2552 1,201.61 1,005.92 195.69
2553 1,577.75 1,396.24 181.51
2554 1,898.38 1,743.48 154.90
2555 2,048.93 1,817.83 231.10
2556 2,210.00 1,950.00 260.00
ในปี 2552 จีนสามารถก้าวกระโดดขึ้นเป็นประเทศที่มี
มูลค่าการค้าฯ มากเป็นอันดับที่ 2 ของโลกด้วยมูลค่าถึง 3.64 ล้านล้านเหรียญ
สหรัฐฯ คิดเป็นสัดส่วนถึงร้อยละ 24 ของมูลค่าการค้าโลกโดยรวม โดยเป็น
ประเทศผู้ส่งออกอันดับ 1 ของโลกด้วยมูลค่าราว 1.2 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ
และประเทศผู้นาเข้าอันดับ 2 ของโลกในมูลค่ากว่า 1 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ
ทั้งนี้ ส่วนสาคัญเนื่องจากการส่งเสริมการส่งออกและการ
กระตุ้นเศรษฐกิจครั้งใหญ่ของรัฐบาลจีน การพัฒนาขีดความสามารถในการ
แข่งขันด้านการผลิตและการตลาดของจีน และการกล้ารุกออกไปสู่ตลาด
ต่างประเทศของผู้ประกอบการจีน
ขณะเดียวกัน ในระหว่างปี 2545-2554 รัฐบาลจีนก็ปรับลดอัตราอากรนาเข้าโดยรวมลงจากร้อยละ
15.3 เหลือร้อยละ 9.8 ซึ่งต่ากว่าอัตราที่ WTO กาหนดใช้กับของประเทศกาลังพัฒนา และเปิดหน่วยงานอานวยความสะดวก
ทางการค้าถึง 100 แห่ง ซึ่งจัดอยู่ในระดับเดียวกับของประเทศพัฒนาแล้ว รวมทั้งยังจัดระเบียบกฎหมายและกฎระเบียบด้าน
การค้าให้สอดคล้องกับพันธะสัญญาของ WTO โดยรัฐบาลกลางได้ปรับปรุงกฎหมายกฎระเบียบถึงกว่า 2,300 ฉบับ ขณะที่
รัฐบาลท้องถิ่นได้แก้ไขกฎระเบียบมากกว่า 190,000 ฉบับ
ในปี 2555 มูลค่าการค้าฯ ของจีนสามารถขยับขึ้นมาไล่จี้สหรัฐฯ แบบหายใจรดต้นคอ โดยจีนมีมูลค่า
การค้าฯ ราว 3.87 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ ขณะที่สหรัฐฯ มีมูลค่าการค้าฯ อยู่ที่ 3.88 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ และในปี
2556 มูลค่าการค้าฯ ของจีนก็ทะยานขึ้นแตะ 4.16 ล้านล้านเหรียญ
สหรัฐฯ เป็นประเทศแรกในโลก โดยจาแนกเป็นการส่งออก 2.21 ล้าน
ล้านเหรียญสหรัฐฯ และการนาเข้า 1.95 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ โดย
ในช่วง 3 ปีหลังนี้ การค้าฯ ของจีนเติบโตในอัตราเฉลี่ยมากกว่า 3 เท่า
ของการค้าโลก
3
อัตราการเติบโตของการค้าโลกและจีน ระหว่างปี 2554-2556
ปี อัตราการเติบโต (ร้อยละ)
โลก จีน
2554 5.2 25.8
2555 2.0 6.2
2556 2.5 7.6
นอกจากนี้ ยังมีข้อสังเกตที่น่าสนใจว่า จีนนับว่าได้รับ
ประโยชน์อย่างเต็มเม็ดเต็มหน่วยจากการเปิดเสรีทางการค้าและการ
ขยายตัวของการค้าโลก หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ การขยายตัวของการค้า
ฯ ของจีนยังเกิดขึ้นท่ามกลางการเกินดุลการค้าจานวนมหาศาลในแต่ละปี
นับแต่ปี 2537 จีนได้เปรียบดุลการค้า 20 ปีต่อเนื่องกัน คิดเป็นมูลค่าการ
เกินดุลการค้ารวมกว่า 2 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยในปี 2537 จีน
เกินดุลที่ระดับ 5,400 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
ขณะที่ช่วงปี 2538-2547 จีนได้เปรียบดุลการค้า
เฉลี่ย 27,700 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ต่อปี แต่พอครั้นเข้าช่วงปี 2548-2556 การเกินดุลการค้าของจีนก็พุ่งพรวดพราดเป็นถึง
เฉลี่ยปีละกว่า 200,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และที่น่าตื่นตะลึงก็คือ นับแต่ปี 2548 ยังไม่มีปีใดเลยที่จีนเกินดุลการค้าน้อย
กว่า 100,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ!!!
ตาแหน่งแชมป์ค้าโลก ... การไล่ล่าที่ไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย
จากข้อมูลของ WTO ยังยืนยันว่า ณ สิ้นปี 2556 จีนได้ก้าวแซงหน้าสหรัฐฯ ขึ้นเป็นประเทศที่มีมูลค่า
การค้าฯ สูงที่สุดในโลกอย่างเป็นทางการไปเรียบร้อยแล้ว โดยมูลค่าการค้าฯ ของจีน
และของสหรัฐฯ อยู่ที่ 4.16 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ และ 3.91 ล้านล้านเหรียญ
สหรัฐฯ ตามลาดับ ทิ้งห่างกันอยู่ประมาณ 250,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
มูลค่าการค้าโลกของจีนและสหรัฐฯ ระหว่างปี 2552-2556
(ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ)
ปี จีน สหรัฐฯ
2552 2.21 2.66
2553 2.97 3.25
2554 3.64 3.75
2555 3.87 3.88
2556 4.16 3.91
นอกจากนี้ นายเหยา เจี้ยน (Yao Jian) โฆษก
กระทรวงพาณิชย์ ยังได้ให้ข้อมูลผ่านเว็บไซต์ของกระทรวงพาณิชย์จีนว่า
“ปัจจุบัน จีนเป็นคู่ค้ารายใหญ่ที่สุดของ 120 ประเทศ/ภูมิภาคทั่วโลก
มูลค่าการนาเข้าเพิ่มขึ้นเป็นราว 2 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ สร้างงานและ
4
โอกาสในการลงทุนมหาศาลแก่พันธมิตร ... บทบาทนาในเวทีการค้าโลกอาจเป็นพื้นฐานสาคัญสาหรับจีนในการพัฒนาเป็นผู้ค้า
ที่แข็งแกร่งยิ่งขึ้น แต่หนทางยังอีกยาวไกล มูลค่าเพิ่มในสินค้าส่งออกยังอยู่ในระดับต่า การเป็นเจ้าของตราสินค้าของตนเองยัง
ไม่เพียงพอ เครือข่ายการขายยังไม่ได้รับการพัฒนาเท่าที่ควร คุณภาพสินค้าส่งออกยังไม่ดีมาก และธุรกิจควรปรับปรุง
ความสามารถในการใช้ทรัพยากรทั้งในตลาดภายในและต่างประเทศ”
ขณะที่นายหลง กั้วเฉียง (Long Guoqiang) นักวิจัยแห่งศูนย์วิจัยการพัฒนา (Development
Research Center) ประจามนตรีแห่งรัฐ (State Council) ของจีนกล่าวเสริมในเรื่องนี้ว่า “ความสาเร็จในฐานะผู้นาด้าน
การค้าโลกดังกล่าวนับเป็นสิ่งที่น่าชื่นชมอย่างยิ่ง นโยบายกระตุ้นการค้าของจีนในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมา และการริเริ่ม
ผสมผสานความได้เปรียบของต่างชาติในด้านเงินทุน เทคโนโลยี ช่องทางจัดจาหน่าย และตราสินค้าเข้ากับความแข็งแกร่งของ
จีนในด้านที่ดินและแรงงานราคาถูก และความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐาน/สิ่งอานวยความสะดวกทาให้จีนมีความได้เปรียบใน
การแข่งขันระหว่างประเทศในกลุ่มสินค้าที่ใช้แรงงานเข้มข้น ขณะเดียวกัน กิจการของจีนก็กาลังหาหนทางใช้ทรัพยากรของโลก
ผ่านการลงทุน และเพิ่มขีดความสามารถด้านการผลิตของประเทศ”
อนึ่ง นับแต่ปี 2551 โลกต้องเผชิญกับวิกฤติเศรษฐกิจและการเงินอยู่หลายครั้ง ซึ่งสหรัฐฯ ดูจะได้รับ
ผลกระทบเชิงลบในระดับที่มากกว่าจีน ส่งผลให้เศรษฐกิจและการค้าของสหรัฐฯ เติบโตในอัตราที่ลดลงอย่างรวดเร็ว ขณะที่
การค้าของจีนยังคงขยายตัวได้อย่างน่าพอใจ และลดช่องว่างมูลค่าการค้าโลกของสหรัฐฯ ลงอย่างเห็นได้ชัดจนทาให้มูลค่า
การค้าฯ ของจีนก้าวแซงสหรัฐฯ ได้เร็วกว่าที่หลายฝ่ายคาดคิดไว้
บทสรุป ... ความท้าทายที่รออยู่
สาหรับสถานการณ์ในปี 2557 และอนาคตอันใกล้นั้น แม้ว่าเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศ
พัฒนาแล้วและกาลังซื้อในสินค้าส่งออกหลักของจีนจากต่างประเทศ อาทิ เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ จะส่อเค้าการฟื้น
ตัว แต่ก็ยังคงแฝงไว้ซึ่งความเปราะบางและขาดเสถียรภาพอยู่มาก ขณะเดียวกัน การเพิ่มขึ้นของต้นทุนการผลิตอันเนื่องจาก
ค่าจ้าง/สวัสดิการแรงงานที่สูงขึ้น ความผันผวนของค่าเงินหยวน และการ
คาดการณ์การเติบโตทางเศรษฐกิจของจีนในอัตราที่ลดลง แถมความพยายามใน
การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจของจีนให้หันมาพึ่งพาการบริโภคภายในประเทศที่ดู
จะยัง “โตไม่ทันใช้”
การดาเนินนโยบาย “ประหยัดแห่งชาติ”
และการปราบปรามการทุจริตคอรัปชั่นที่ท่านประธานาธิบดีสี จิ้
นผิงผลักดันอยู่เต็มที่ และปัญหามลพิษที่สั่งสมจนเรื้อรังก็ถา
โถมเข้ามากดดันและทดสอบความสามารถของผู้บริหารชุดใหม่ ทาให้เสถียรภาพทางเศรษฐกิจและการเมือง
ของจีนพลอยแกว่งตัวไปด้วย ผู้นาจีนในระยะหลังได้พยายามปลุกเร้าการสร้าง “สังคมสมานฉันท์” โดยให้
เครดิตกับผู้นาทุกรุ่นทุกสมัยที่ผ่านมาว่าจีนมีวันนี้เพราะการตัดสินใจแก้ไขปัญหาและพัฒนาบ้างเมืองได้
เหมาะสมกับสภาพการณ์ในแต่ละห้วงเวลา แต่ปัญหาการเมืองที่มองว่าสงบราบรื่นที่สุดในการ “ส่งไม้ต่อ” สู่ผู้นารุ่นที่ 5 ก็กลับ
ครุกรุ่นและหนักหน่วงมากยิ่งขึ้นเมื่อปัญหาการเมืองภายในประเทศประทุตัวอีกครั้ง โดยเฉพาะภายหลังการก่อการร้ายในนคร
คุนหมิง มณฑลยูนนานเมื่อต้นเดือนมีนาคม ที่ผ่านมา ส่งผลให้กิจการต่างชาติบางส่วนรีรอที่จะขยายการลงทุนและฐานการ
ผลิตในจีน
มาถึงวันนี้ จีนมิได้ขาดแคลนเงินทุน แต่ต้องการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและภาคการผลิตของจีนให้มี
มูลค่าเพิ่มมากขึ้น เหล่านี้ยิ่งกดดันให้รัฐบาลจีนต้องใช้ความพยายามมากขึ้นในการผลักดันให้ ผู้ประกอบการหันมาใส่ใจกับการ
วิจัยและพัฒนา การขยายตลาด และการสร้างแบรนด์ รวมทั้งการหันมาให้ ความสาคัญกับการสร้างความมั่นใจแก่นักลงทุน
ต่างชาติผ่านนโยบายใหม่ ๆ อย่าง เขตเสรีทางการค้า (Free Trade Zone)
ซึ่งทดลองนาร่องแห่งแรกที่นครเซี่ยงไฮ้เมื่อปลายเดือนกันยายน 2556 และรอ
จังหวะที่จะขยายออกไปดาเนินการในอีกหลายเมืองใหญ่ในอนาคตอันใกล้ เพื่อ
5
เร่งดึงดูดเงินทุน เทคโนโลยีระดับสูง การบริหารจัดการที่ทันสมัย และปัจจัยอื่น ๆ เข้าสู่จีนอีกครั้ง
มิฉะนั้นแล้ว ตาแหน่งแชมป์และสัดส่วนการค้าโลกของจีนก็อาจสั่นคลอน และความพยายามที่จะก้าวขึ้น
เป็นมหาอานาจทางเศรษฐกิจของโลกก็อาจไปไม่ถึงฝั่งฝันในที่สุด ...
----------------------------------------------------
รวบรวมและเรียบเรียงโดย
ดร. ไพจิตร วิบูลย์ธนสาร
อัครราชทูต (ฝ่ายการพาณิชย์)
สานักงานพาณิชย์ในต่างประเทศ ณ กรุงปักกิ่ง
4 มีนาคม 2557

Contenu connexe

Plus de Nopporn Thepsithar

2014-05-07 ปรับกลยุทธ์และพัฒนาศักยภาพด้านโลจิสติกส์ก่อนบุกตลาด AEC
2014-05-07 ปรับกลยุทธ์และพัฒนาศักยภาพด้านโลจิสติกส์ก่อนบุกตลาด AEC2014-05-07 ปรับกลยุทธ์และพัฒนาศักยภาพด้านโลจิสติกส์ก่อนบุกตลาด AEC
2014-05-07 ปรับกลยุทธ์และพัฒนาศักยภาพด้านโลจิสติกส์ก่อนบุกตลาด AECNopporn Thepsithar
 
2014-02-06 การบริหารจัดการกำลังคนคุณภาพในภาคเอกชน
2014-02-06 การบริหารจัดการกำลังคนคุณภาพในภาคเอกชน2014-02-06 การบริหารจัดการกำลังคนคุณภาพในภาคเอกชน
2014-02-06 การบริหารจัดการกำลังคนคุณภาพในภาคเอกชนNopporn Thepsithar
 
จุลสารอุตสาหกรรมสีเขียว ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 ตุลาคม - พฤศจิกายน 2556
จุลสารอุตสาหกรรมสีเขียว ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 ตุลาคม - พฤศจิกายน 2556จุลสารอุตสาหกรรมสีเขียว ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 ตุลาคม - พฤศจิกายน 2556
จุลสารอุตสาหกรรมสีเขียว ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 ตุลาคม - พฤศจิกายน 2556Nopporn Thepsithar
 
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance IndexNopporn Thepsithar
 
2013 12-03 TNSC Press Release
2013 12-03 TNSC Press Release 2013 12-03 TNSC Press Release
2013 12-03 TNSC Press Release Nopporn Thepsithar
 
Presentation 2013 09-13 Thai Logistics Standard to World Class Logistics
Presentation 2013 09-13 Thai Logistics Standard to World Class LogisticsPresentation 2013 09-13 Thai Logistics Standard to World Class Logistics
Presentation 2013 09-13 Thai Logistics Standard to World Class LogisticsNopporn Thepsithar
 
Executive Summary CSCMP Europe Conference 2013
Executive Summary CSCMP Europe Conference 2013Executive Summary CSCMP Europe Conference 2013
Executive Summary CSCMP Europe Conference 2013Nopporn Thepsithar
 
เงินกู้ 2 ล้านล้านบาท แผนการลงทุน ความคุ้มค่า และ ข้อเสนอแนะ
เงินกู้ 2 ล้านล้านบาท แผนการลงทุน ความคุ้มค่า และ ข้อเสนอแนะเงินกู้ 2 ล้านล้านบาท แผนการลงทุน ความคุ้มค่า และ ข้อเสนอแนะ
เงินกู้ 2 ล้านล้านบาท แผนการลงทุน ความคุ้มค่า และ ข้อเสนอแนะNopporn Thepsithar
 
บริหารธุรกิจตามวิถีแห่งเต๋าของเหลาจื๊อ โดย ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
บริหารธุรกิจตามวิถีแห่งเต๋าของเหลาจื๊อ โดย ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจบริหารธุรกิจตามวิถีแห่งเต๋าของเหลาจื๊อ โดย ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
บริหารธุรกิจตามวิถีแห่งเต๋าของเหลาจื๊อ โดย ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจNopporn Thepsithar
 
2013-03-21 การบริหารกำลังพลคุณภาพในภาคเอกชน
2013-03-21 การบริหารกำลังพลคุณภาพในภาคเอกชน 2013-03-21 การบริหารกำลังพลคุณภาพในภาคเอกชน
2013-03-21 การบริหารกำลังพลคุณภาพในภาคเอกชน Nopporn Thepsithar
 
Presentation เต้าเต๋อจิง คัมภีร์นักปกครอง โดยอาจารย์ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
Presentation เต้าเต๋อจิง คัมภีร์นักปกครอง โดยอาจารย์ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจPresentation เต้าเต๋อจิง คัมภีร์นักปกครอง โดยอาจารย์ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
Presentation เต้าเต๋อจิง คัมภีร์นักปกครอง โดยอาจารย์ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจNopporn Thepsithar
 
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRINopporn Thepsithar
 
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v12013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1Nopporn Thepsithar
 
ร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย 2556 - 2560 brief 2013-03-06
ร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย 2556 - 2560 brief 2013-03-06ร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย 2556 - 2560 brief 2013-03-06
ร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย 2556 - 2560 brief 2013-03-06Nopporn Thepsithar
 
ร่างแผนพัฒนาระบบอำนวยความสะดวกทางการค้าและโซ่อุปทาน 2556 2560
ร่างแผนพัฒนาระบบอำนวยความสะดวกทางการค้าและโซ่อุปทาน 2556 2560ร่างแผนพัฒนาระบบอำนวยความสะดวกทางการค้าและโซ่อุปทาน 2556 2560
ร่างแผนพัฒนาระบบอำนวยความสะดวกทางการค้าและโซ่อุปทาน 2556 2560Nopporn Thepsithar
 
Presentation 2013-01-20 Supply Chain Capacity Building
Presentation 2013-01-20 Supply Chain Capacity BuildingPresentation 2013-01-20 Supply Chain Capacity Building
Presentation 2013-01-20 Supply Chain Capacity BuildingNopporn Thepsithar
 
Presentation 2013-01-06 Supply Chain Capacity Building - Transportation Manag...
Presentation 2013-01-06 Supply Chain Capacity Building - Transportation Manag...Presentation 2013-01-06 Supply Chain Capacity Building - Transportation Manag...
Presentation 2013-01-06 Supply Chain Capacity Building - Transportation Manag...Nopporn Thepsithar
 
Presentation 2013-01-11 My experience on Coaching
Presentation 2013-01-11 My experience on CoachingPresentation 2013-01-11 My experience on Coaching
Presentation 2013-01-11 My experience on CoachingNopporn Thepsithar
 

Plus de Nopporn Thepsithar (20)

2014-05-07 ปรับกลยุทธ์และพัฒนาศักยภาพด้านโลจิสติกส์ก่อนบุกตลาด AEC
2014-05-07 ปรับกลยุทธ์และพัฒนาศักยภาพด้านโลจิสติกส์ก่อนบุกตลาด AEC2014-05-07 ปรับกลยุทธ์และพัฒนาศักยภาพด้านโลจิสติกส์ก่อนบุกตลาด AEC
2014-05-07 ปรับกลยุทธ์และพัฒนาศักยภาพด้านโลจิสติกส์ก่อนบุกตลาด AEC
 
2014-02-06 การบริหารจัดการกำลังคนคุณภาพในภาคเอกชน
2014-02-06 การบริหารจัดการกำลังคนคุณภาพในภาคเอกชน2014-02-06 การบริหารจัดการกำลังคนคุณภาพในภาคเอกชน
2014-02-06 การบริหารจัดการกำลังคนคุณภาพในภาคเอกชน
 
จุลสารอุตสาหกรรมสีเขียว ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 ตุลาคม - พฤศจิกายน 2556
จุลสารอุตสาหกรรมสีเขียว ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 ตุลาคม - พฤศจิกายน 2556จุลสารอุตสาหกรรมสีเขียว ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 ตุลาคม - พฤศจิกายน 2556
จุลสารอุตสาหกรรมสีเขียว ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 ตุลาคม - พฤศจิกายน 2556
 
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
 
2013 12-03 TNSC Press Release
2013 12-03 TNSC Press Release 2013 12-03 TNSC Press Release
2013 12-03 TNSC Press Release
 
Presentation 2013 09-13 Thai Logistics Standard to World Class Logistics
Presentation 2013 09-13 Thai Logistics Standard to World Class LogisticsPresentation 2013 09-13 Thai Logistics Standard to World Class Logistics
Presentation 2013 09-13 Thai Logistics Standard to World Class Logistics
 
Executive Summary CSCMP Europe Conference 2013
Executive Summary CSCMP Europe Conference 2013Executive Summary CSCMP Europe Conference 2013
Executive Summary CSCMP Europe Conference 2013
 
เงินกู้ 2 ล้านล้านบาท แผนการลงทุน ความคุ้มค่า และ ข้อเสนอแนะ
เงินกู้ 2 ล้านล้านบาท แผนการลงทุน ความคุ้มค่า และ ข้อเสนอแนะเงินกู้ 2 ล้านล้านบาท แผนการลงทุน ความคุ้มค่า และ ข้อเสนอแนะ
เงินกู้ 2 ล้านล้านบาท แผนการลงทุน ความคุ้มค่า และ ข้อเสนอแนะ
 
บริหารธุรกิจตามวิถีแห่งเต๋าของเหลาจื๊อ โดย ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
บริหารธุรกิจตามวิถีแห่งเต๋าของเหลาจื๊อ โดย ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจบริหารธุรกิจตามวิถีแห่งเต๋าของเหลาจื๊อ โดย ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
บริหารธุรกิจตามวิถีแห่งเต๋าของเหลาจื๊อ โดย ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
 
2013-03-21 การบริหารกำลังพลคุณภาพในภาคเอกชน
2013-03-21 การบริหารกำลังพลคุณภาพในภาคเอกชน 2013-03-21 การบริหารกำลังพลคุณภาพในภาคเอกชน
2013-03-21 การบริหารกำลังพลคุณภาพในภาคเอกชน
 
Presentation เต้าเต๋อจิง คัมภีร์นักปกครอง โดยอาจารย์ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
Presentation เต้าเต๋อจิง คัมภีร์นักปกครอง โดยอาจารย์ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจPresentation เต้าเต๋อจิง คัมภีร์นักปกครอง โดยอาจารย์ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
Presentation เต้าเต๋อจิง คัมภีร์นักปกครอง โดยอาจารย์ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
 
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI
 
2013 03-15 Thai Truck Center
2013 03-15 Thai Truck Center2013 03-15 Thai Truck Center
2013 03-15 Thai Truck Center
 
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v12013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
 
ร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย 2556 - 2560 brief 2013-03-06
ร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย 2556 - 2560 brief 2013-03-06ร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย 2556 - 2560 brief 2013-03-06
ร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย 2556 - 2560 brief 2013-03-06
 
LIFFA Presentation
LIFFA Presentation LIFFA Presentation
LIFFA Presentation
 
ร่างแผนพัฒนาระบบอำนวยความสะดวกทางการค้าและโซ่อุปทาน 2556 2560
ร่างแผนพัฒนาระบบอำนวยความสะดวกทางการค้าและโซ่อุปทาน 2556 2560ร่างแผนพัฒนาระบบอำนวยความสะดวกทางการค้าและโซ่อุปทาน 2556 2560
ร่างแผนพัฒนาระบบอำนวยความสะดวกทางการค้าและโซ่อุปทาน 2556 2560
 
Presentation 2013-01-20 Supply Chain Capacity Building
Presentation 2013-01-20 Supply Chain Capacity BuildingPresentation 2013-01-20 Supply Chain Capacity Building
Presentation 2013-01-20 Supply Chain Capacity Building
 
Presentation 2013-01-06 Supply Chain Capacity Building - Transportation Manag...
Presentation 2013-01-06 Supply Chain Capacity Building - Transportation Manag...Presentation 2013-01-06 Supply Chain Capacity Building - Transportation Manag...
Presentation 2013-01-06 Supply Chain Capacity Building - Transportation Manag...
 
Presentation 2013-01-11 My experience on Coaching
Presentation 2013-01-11 My experience on CoachingPresentation 2013-01-11 My experience on Coaching
Presentation 2013-01-11 My experience on Coaching
 

2014-03-04 จีนเป็นแชมป์การค้าโลก ดร. ไพจิตร วิบูลย์ธนสาร

  • 1. จีนคว้าแชมป์การค้าโลก --------------------------------------------- อันที่จริง ข่าวการคว้า “แชมป์การค้าโลก” ของจีนในครั้งนี้ไม่ใช่ข่าวใหม่ที่น่าตื่นเต้นแต่อย่างใด เพราะ ผู้เชี่ยวชาญได้ประเมินและคาดการณ์ก่อนหน้านี้แล้วว่า จีนจะก้าวขึ้นครองอันดับหนึ่งของการค้าโลกในไม่ช้า พอดูจากแนวโน้ม การค้าฯ ของจีนและสหรัฐฯ ในระยะหลัง โดยเฉพาะช่วงโค้งสุดท้ายของปี 2556 แล้วก็ยิ่งมั่นใจใหญ่พร้อม “ฟันธง” ว่า จีน จะแซงหน้าสหรัฐฯ ในฐานะประเทศที่ค้าขายระหว่างประเทศมากที่สุดในโลกในปี 2556 อย่างไรก็ดี ผู้คนในวงการต้องรอฟัง ประกาศตัวเลขการค้าระหว่างประเทศของจีนและสหรัฐฯ อย่างเป็นทางการอีกครั้ง จนกระทั่งเมื่อเร็ว ๆ นี้ ตัวเลขการค้าฯ ได้รับการยืนยันจากองค์การการค้าโลก (World Trade Organization: WTO) เรียบร้อยแล้ว ผลเป็นเช่นไรลองติดตามมาได้เลยครับ ... การเปิดเสรี ... การเติบโตทางการค้าของจีน ปี 2521-2536 ... ยุคปรับฐาน หากมองย้อนกลับไปเมื่อปี 2521 ที่จีนเปิดประเทศสู่โลกภายนอกครั้งใหม่ การค้าระหว่างประเทศของจีนมีมูลค่า เพียง 20,640 ล้านเหรียญสหรัฐฯ แต่ความสาเร็จจากการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจได้ ส่งผลให้การค้าฯ ของจีนขยายตัวอย่างต่อเนื่องในอัตราที่สูง โดยมีมูลค่าก้าวขึ้นเป็น 115,440 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ในปี 2533 และมีมูลค่าเกือบ 200,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ในปี 2536 อย่างไรก็ดี จีนเสียดุลการค้าในระยะแรกและได้เปรียบดุลการค้า บ้างในหลายปีต่อมา ทั้งนี้ ปี 2536 นับเป็นปีที่จีนขาดดุลการค้าครั้งล่าสุด ปี 2537-2556 ... ยุคเกินดุลการค้า ในช่วง 20 ปีที่ผ่านมา จีนนับว่าประสบความสาเร็จและได้รับ ประโยชน์ทางเศรษฐกิจและการค้าอย่างมากจากบริบทของการเปิดเสรีทางการค้าโลก ทาให้สามารถเชื่อมโยงจีนเข้ากับการค้า โลกได้อย่างแนบแน่นและรวดเร็วชนิดที่ไม่เคยมีประเทศใดทามาก่อน จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์จีนพบว่า ในปี 2545 จีนได้เข้าไปมี บทบาทในเวทีการเจรจาการค้าพหุภาคีในฐานะสมาชิก WTO และก้าวขึ้นเป็นประเทศที่มี มูลค่าการค้าอันดับที่ 6 ของโลกด้วยมูลค่า 0.62 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ คิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 4 ของมูลค่าการค้าโลกโดยรวม ในเวลาต่อมา การส่งออกและนาเข้าของจีนก็ ยังคงขยายตัวในอัตราที่สูง โดยมูลค่าการค้าฯ พุ่งขึ้นทะลุหลัก 1 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ ในปี 2547 และใช้เวลาไม่ถึง 3 ปีในการก้าวขึ้นแตะหลัก 2 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ มูลค่าการส่งออกและนาเข้าของจีน ระหว่างปี 2521-2556 (พันล้านเหรียญสหรัฐฯ) ปี การส่งออก การนาเข้า ดุลการค้า 2521 9.75 10.89 -1.14 2523 18.12 20.02 -1.90 2528 27.35 42.25 -14.90 2533 62.09 53.35 8.74 2535 84.94 80.59 4.35 2536 91.74 103.96 -12.22 2537 121.01 115.61 5.40 2538 148.78 132.08 16.70
  • 2. 2 2539 151.05 138.83 12.22 2540 182.79 142.37 40.42 2541 183.71 140.24 43.47 2542 194.93 165.70 29.23 2543 249.20 225.09 24.11 2544 266.10 243.55 22.55 2545 325.60 295.17 30.43 2546 438.23 412.76 25.47 2547 593.33 561.23 32.09 2548 761.95 659.95 102.00 2549 968.98 791.46 177.52 2550 1,220.46 956.12 264.34 2551 1,430.69 1,132.57 298.12 2552 1,201.61 1,005.92 195.69 2553 1,577.75 1,396.24 181.51 2554 1,898.38 1,743.48 154.90 2555 2,048.93 1,817.83 231.10 2556 2,210.00 1,950.00 260.00 ในปี 2552 จีนสามารถก้าวกระโดดขึ้นเป็นประเทศที่มี มูลค่าการค้าฯ มากเป็นอันดับที่ 2 ของโลกด้วยมูลค่าถึง 3.64 ล้านล้านเหรียญ สหรัฐฯ คิดเป็นสัดส่วนถึงร้อยละ 24 ของมูลค่าการค้าโลกโดยรวม โดยเป็น ประเทศผู้ส่งออกอันดับ 1 ของโลกด้วยมูลค่าราว 1.2 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ และประเทศผู้นาเข้าอันดับ 2 ของโลกในมูลค่ากว่า 1 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ ทั้งนี้ ส่วนสาคัญเนื่องจากการส่งเสริมการส่งออกและการ กระตุ้นเศรษฐกิจครั้งใหญ่ของรัฐบาลจีน การพัฒนาขีดความสามารถในการ แข่งขันด้านการผลิตและการตลาดของจีน และการกล้ารุกออกไปสู่ตลาด ต่างประเทศของผู้ประกอบการจีน ขณะเดียวกัน ในระหว่างปี 2545-2554 รัฐบาลจีนก็ปรับลดอัตราอากรนาเข้าโดยรวมลงจากร้อยละ 15.3 เหลือร้อยละ 9.8 ซึ่งต่ากว่าอัตราที่ WTO กาหนดใช้กับของประเทศกาลังพัฒนา และเปิดหน่วยงานอานวยความสะดวก ทางการค้าถึง 100 แห่ง ซึ่งจัดอยู่ในระดับเดียวกับของประเทศพัฒนาแล้ว รวมทั้งยังจัดระเบียบกฎหมายและกฎระเบียบด้าน การค้าให้สอดคล้องกับพันธะสัญญาของ WTO โดยรัฐบาลกลางได้ปรับปรุงกฎหมายกฎระเบียบถึงกว่า 2,300 ฉบับ ขณะที่ รัฐบาลท้องถิ่นได้แก้ไขกฎระเบียบมากกว่า 190,000 ฉบับ ในปี 2555 มูลค่าการค้าฯ ของจีนสามารถขยับขึ้นมาไล่จี้สหรัฐฯ แบบหายใจรดต้นคอ โดยจีนมีมูลค่า การค้าฯ ราว 3.87 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ ขณะที่สหรัฐฯ มีมูลค่าการค้าฯ อยู่ที่ 3.88 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ และในปี 2556 มูลค่าการค้าฯ ของจีนก็ทะยานขึ้นแตะ 4.16 ล้านล้านเหรียญ สหรัฐฯ เป็นประเทศแรกในโลก โดยจาแนกเป็นการส่งออก 2.21 ล้าน ล้านเหรียญสหรัฐฯ และการนาเข้า 1.95 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ โดย ในช่วง 3 ปีหลังนี้ การค้าฯ ของจีนเติบโตในอัตราเฉลี่ยมากกว่า 3 เท่า ของการค้าโลก
  • 3. 3 อัตราการเติบโตของการค้าโลกและจีน ระหว่างปี 2554-2556 ปี อัตราการเติบโต (ร้อยละ) โลก จีน 2554 5.2 25.8 2555 2.0 6.2 2556 2.5 7.6 นอกจากนี้ ยังมีข้อสังเกตที่น่าสนใจว่า จีนนับว่าได้รับ ประโยชน์อย่างเต็มเม็ดเต็มหน่วยจากการเปิดเสรีทางการค้าและการ ขยายตัวของการค้าโลก หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ การขยายตัวของการค้า ฯ ของจีนยังเกิดขึ้นท่ามกลางการเกินดุลการค้าจานวนมหาศาลในแต่ละปี นับแต่ปี 2537 จีนได้เปรียบดุลการค้า 20 ปีต่อเนื่องกัน คิดเป็นมูลค่าการ เกินดุลการค้ารวมกว่า 2 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยในปี 2537 จีน เกินดุลที่ระดับ 5,400 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขณะที่ช่วงปี 2538-2547 จีนได้เปรียบดุลการค้า เฉลี่ย 27,700 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ต่อปี แต่พอครั้นเข้าช่วงปี 2548-2556 การเกินดุลการค้าของจีนก็พุ่งพรวดพราดเป็นถึง เฉลี่ยปีละกว่า 200,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และที่น่าตื่นตะลึงก็คือ นับแต่ปี 2548 ยังไม่มีปีใดเลยที่จีนเกินดุลการค้าน้อย กว่า 100,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ!!! ตาแหน่งแชมป์ค้าโลก ... การไล่ล่าที่ไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย จากข้อมูลของ WTO ยังยืนยันว่า ณ สิ้นปี 2556 จีนได้ก้าวแซงหน้าสหรัฐฯ ขึ้นเป็นประเทศที่มีมูลค่า การค้าฯ สูงที่สุดในโลกอย่างเป็นทางการไปเรียบร้อยแล้ว โดยมูลค่าการค้าฯ ของจีน และของสหรัฐฯ อยู่ที่ 4.16 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ และ 3.91 ล้านล้านเหรียญ สหรัฐฯ ตามลาดับ ทิ้งห่างกันอยู่ประมาณ 250,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ มูลค่าการค้าโลกของจีนและสหรัฐฯ ระหว่างปี 2552-2556 (ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ) ปี จีน สหรัฐฯ 2552 2.21 2.66 2553 2.97 3.25 2554 3.64 3.75 2555 3.87 3.88 2556 4.16 3.91 นอกจากนี้ นายเหยา เจี้ยน (Yao Jian) โฆษก กระทรวงพาณิชย์ ยังได้ให้ข้อมูลผ่านเว็บไซต์ของกระทรวงพาณิชย์จีนว่า “ปัจจุบัน จีนเป็นคู่ค้ารายใหญ่ที่สุดของ 120 ประเทศ/ภูมิภาคทั่วโลก มูลค่าการนาเข้าเพิ่มขึ้นเป็นราว 2 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ สร้างงานและ
  • 4. 4 โอกาสในการลงทุนมหาศาลแก่พันธมิตร ... บทบาทนาในเวทีการค้าโลกอาจเป็นพื้นฐานสาคัญสาหรับจีนในการพัฒนาเป็นผู้ค้า ที่แข็งแกร่งยิ่งขึ้น แต่หนทางยังอีกยาวไกล มูลค่าเพิ่มในสินค้าส่งออกยังอยู่ในระดับต่า การเป็นเจ้าของตราสินค้าของตนเองยัง ไม่เพียงพอ เครือข่ายการขายยังไม่ได้รับการพัฒนาเท่าที่ควร คุณภาพสินค้าส่งออกยังไม่ดีมาก และธุรกิจควรปรับปรุง ความสามารถในการใช้ทรัพยากรทั้งในตลาดภายในและต่างประเทศ” ขณะที่นายหลง กั้วเฉียง (Long Guoqiang) นักวิจัยแห่งศูนย์วิจัยการพัฒนา (Development Research Center) ประจามนตรีแห่งรัฐ (State Council) ของจีนกล่าวเสริมในเรื่องนี้ว่า “ความสาเร็จในฐานะผู้นาด้าน การค้าโลกดังกล่าวนับเป็นสิ่งที่น่าชื่นชมอย่างยิ่ง นโยบายกระตุ้นการค้าของจีนในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมา และการริเริ่ม ผสมผสานความได้เปรียบของต่างชาติในด้านเงินทุน เทคโนโลยี ช่องทางจัดจาหน่าย และตราสินค้าเข้ากับความแข็งแกร่งของ จีนในด้านที่ดินและแรงงานราคาถูก และความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐาน/สิ่งอานวยความสะดวกทาให้จีนมีความได้เปรียบใน การแข่งขันระหว่างประเทศในกลุ่มสินค้าที่ใช้แรงงานเข้มข้น ขณะเดียวกัน กิจการของจีนก็กาลังหาหนทางใช้ทรัพยากรของโลก ผ่านการลงทุน และเพิ่มขีดความสามารถด้านการผลิตของประเทศ” อนึ่ง นับแต่ปี 2551 โลกต้องเผชิญกับวิกฤติเศรษฐกิจและการเงินอยู่หลายครั้ง ซึ่งสหรัฐฯ ดูจะได้รับ ผลกระทบเชิงลบในระดับที่มากกว่าจีน ส่งผลให้เศรษฐกิจและการค้าของสหรัฐฯ เติบโตในอัตราที่ลดลงอย่างรวดเร็ว ขณะที่ การค้าของจีนยังคงขยายตัวได้อย่างน่าพอใจ และลดช่องว่างมูลค่าการค้าโลกของสหรัฐฯ ลงอย่างเห็นได้ชัดจนทาให้มูลค่า การค้าฯ ของจีนก้าวแซงสหรัฐฯ ได้เร็วกว่าที่หลายฝ่ายคาดคิดไว้ บทสรุป ... ความท้าทายที่รออยู่ สาหรับสถานการณ์ในปี 2557 และอนาคตอันใกล้นั้น แม้ว่าเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศ พัฒนาแล้วและกาลังซื้อในสินค้าส่งออกหลักของจีนจากต่างประเทศ อาทิ เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ จะส่อเค้าการฟื้น ตัว แต่ก็ยังคงแฝงไว้ซึ่งความเปราะบางและขาดเสถียรภาพอยู่มาก ขณะเดียวกัน การเพิ่มขึ้นของต้นทุนการผลิตอันเนื่องจาก ค่าจ้าง/สวัสดิการแรงงานที่สูงขึ้น ความผันผวนของค่าเงินหยวน และการ คาดการณ์การเติบโตทางเศรษฐกิจของจีนในอัตราที่ลดลง แถมความพยายามใน การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจของจีนให้หันมาพึ่งพาการบริโภคภายในประเทศที่ดู จะยัง “โตไม่ทันใช้” การดาเนินนโยบาย “ประหยัดแห่งชาติ” และการปราบปรามการทุจริตคอรัปชั่นที่ท่านประธานาธิบดีสี จิ้ นผิงผลักดันอยู่เต็มที่ และปัญหามลพิษที่สั่งสมจนเรื้อรังก็ถา โถมเข้ามากดดันและทดสอบความสามารถของผู้บริหารชุดใหม่ ทาให้เสถียรภาพทางเศรษฐกิจและการเมือง ของจีนพลอยแกว่งตัวไปด้วย ผู้นาจีนในระยะหลังได้พยายามปลุกเร้าการสร้าง “สังคมสมานฉันท์” โดยให้ เครดิตกับผู้นาทุกรุ่นทุกสมัยที่ผ่านมาว่าจีนมีวันนี้เพราะการตัดสินใจแก้ไขปัญหาและพัฒนาบ้างเมืองได้ เหมาะสมกับสภาพการณ์ในแต่ละห้วงเวลา แต่ปัญหาการเมืองที่มองว่าสงบราบรื่นที่สุดในการ “ส่งไม้ต่อ” สู่ผู้นารุ่นที่ 5 ก็กลับ ครุกรุ่นและหนักหน่วงมากยิ่งขึ้นเมื่อปัญหาการเมืองภายในประเทศประทุตัวอีกครั้ง โดยเฉพาะภายหลังการก่อการร้ายในนคร คุนหมิง มณฑลยูนนานเมื่อต้นเดือนมีนาคม ที่ผ่านมา ส่งผลให้กิจการต่างชาติบางส่วนรีรอที่จะขยายการลงทุนและฐานการ ผลิตในจีน มาถึงวันนี้ จีนมิได้ขาดแคลนเงินทุน แต่ต้องการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและภาคการผลิตของจีนให้มี มูลค่าเพิ่มมากขึ้น เหล่านี้ยิ่งกดดันให้รัฐบาลจีนต้องใช้ความพยายามมากขึ้นในการผลักดันให้ ผู้ประกอบการหันมาใส่ใจกับการ วิจัยและพัฒนา การขยายตลาด และการสร้างแบรนด์ รวมทั้งการหันมาให้ ความสาคัญกับการสร้างความมั่นใจแก่นักลงทุน ต่างชาติผ่านนโยบายใหม่ ๆ อย่าง เขตเสรีทางการค้า (Free Trade Zone) ซึ่งทดลองนาร่องแห่งแรกที่นครเซี่ยงไฮ้เมื่อปลายเดือนกันยายน 2556 และรอ จังหวะที่จะขยายออกไปดาเนินการในอีกหลายเมืองใหญ่ในอนาคตอันใกล้ เพื่อ
  • 5. 5 เร่งดึงดูดเงินทุน เทคโนโลยีระดับสูง การบริหารจัดการที่ทันสมัย และปัจจัยอื่น ๆ เข้าสู่จีนอีกครั้ง มิฉะนั้นแล้ว ตาแหน่งแชมป์และสัดส่วนการค้าโลกของจีนก็อาจสั่นคลอน และความพยายามที่จะก้าวขึ้น เป็นมหาอานาจทางเศรษฐกิจของโลกก็อาจไปไม่ถึงฝั่งฝันในที่สุด ... ---------------------------------------------------- รวบรวมและเรียบเรียงโดย ดร. ไพจิตร วิบูลย์ธนสาร อัครราชทูต (ฝ่ายการพาณิชย์) สานักงานพาณิชย์ในต่างประเทศ ณ กรุงปักกิ่ง 4 มีนาคม 2557