SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  17
Télécharger pour lire hors ligne
บทที่ 4
อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ 1
อ.อรคพัฒร์ บัวลม
การควบคุมราคา (Price Control)
ปกติกลไกราคาจะสามารถทาหน้าที่จัดสรรสินค้าและ
บริการ และปัจจัยการผลิตได้อย่างสมบูรณ์ แต่ในกรณีสินค้าบาง
ชนิดไม่สามารถปล่อยให้เป็นไปตามกลไกราคาได้ รัฐบาลต้อง
เข้าไปแทรกแซง โดยการควบคุมราคา ถ้ารัฐเห็นว่าสินค้าและ
ปัจจัยการผลิตบางชนิดราคาสูงหรือต่าเกินไป
2
1. การกาหนดราคาขั้นต่า (Minimum price legislation)
การกาหนดราคาขั้นต่า หรือ การพยุงราคา หมายถึง การที่
รัฐกาหนดราคาขั้นต่าโดยห้ามขายต่ากว่าราคาที่รัฐกาหนด รัฐ
เข้าแทรกแซงเมื่อรัฐต้องการช่วยเหลือผู้ผลิตในภาค
เกษตรกรรม ทาได้2 วิธี
3
1.1 กรณีรัฐรับซื้ออุปทานส่วนเกิน เพื่อช่วยให้ราคาต่อ
หน่วยสูงขึ้น
ราคาข้าว
Qd Qe Qs
ปริมาณข้าว
S
D
อุปทานส่วนเกิน
E
0 30 50 70
100=Ps
80=Pe
ราคาขั้นต่า
4
1.2 กรณีรัฐจ่ายเงินอุดหนุนให้ผู้ผลิต เพื่อช่วยให้ผู้ผลิต
ได้รับราคาต่อหน่วยสูงขึ้น
100=Ps
80=Pe
ปริมาณข้าว
ราคาข้าว
S
D
A
E
0 30 50 70
Qd Qe Qs
Qe
100=Ps
80=Pe
ราคาข้าว
S
D
E
0 50 ปริมาณข้าว
เงินอุดหนุน
5
1.3 ให้ชาวนาลดการผลิตลง ทาให้อุปทานลดลงมาเท่ากับ
อุปสงค์พอดี
ปริมาณข้าว
ราคาข้าว
S
D
E
0 30 50 70
Qd Qe Qs
100=Ps
80=Pe
S1
E1
6
การกาหนดราคาขั้นสูง หมายถึง การที่รัฐเข้าไปควบคุมราคา
เมื่อรัฐเห็นว่าสินค้าทั่วไปราคาสูงเกินไป จึงกาหนดราคาใหม่ให้
ต่ากว่าราคาตลาด หรือราคาดุลยภาพ
ปริมาณ
ราคา
S
Dอุปสงค์ส่วนเกิน
E
0 30 50 70
100=Pe
80=Pc
Qs Qe Qd
ราคาขั้นสูง
2. การกาหนดราคาขั้นสูง (Maximum price legislation)
7
1. การเก็บภาษีอากร
รัฐจะเก็บภาษีโดยตรงจากผู้ขาย แต่ผู้ขายจะผลักภาระภาษีมา
ให้กับผู้ซื้อโดยรวมอยู่ในราคาสินค้า เรียกว่าภาษีทางอ้อม โดยทา
ได้2 วิธี
1) ภาษีต่อหน่วย คือ เก็บตามลักษณะ หรือตามจานวนหน่วย
2) ร้อยละของราคาขาย คือ จัดเก็บตามราคาสินค้าหรือมูลค่าที่
ขายได้
การเก็บภาษีอากรและการให้เงินอุดหนุน
8
1. ภาษีต่อหน่วย 2. ร้อยละของราคาขาย
P
Q
S
S1
P2
P1
T
0
Q1
P
Q
S1
SP2
P1
Q1
0
T
9
การเก็บภาษีอากร ทาให้ต้นทุนการผลิตสูงขึ้นและต้องขาย
ในราคาสูงขึ้น กระทบต่อปริมาณผลผลิต ทาให้ผู้ผลิตผลิตลดลง
ดังนั้น เส้นอุปทานจะเคลื่อนย้ายไปทางซ้ายมือ
ภาษีต่อหน่วย 7 บาท
- ผู้ผลิตเสีย 2 บาท
- ผู้ซื้อเสีย 5 บาท
P
Q
S
S1
25
20
0
3
D
27
2.5
E
E1
18
10
2. การให้เงินอุดหนุน
รัฐช่วยเหลือผู้ผลิต ในกรณีที่ขายสินค้าได้ราคาต่าไม่คุ้มทุน
รัฐจึงจ่ายเงินอุดหนุนแก่ผู้ผลิต ทาให้อุปทานเคลื่อนย้ายไป
ทางขวามือ
15
P
Q
S1
S
20
0
3.5
D
3
E1
E
13
7บาท
11
ปรากฏการณ์ การเกิด การเคลื่อนไหวของราคาแบบ วัฏจักร
ของผลผลิตเกษตร (เนื่องจากการคาดราคาจากปีที่ผ่านมา)
ความไม่สมดุลของอุปสงค์และอุปทาน ทาให้ราคาเกิดวนรอบ
จุดดุลยภาพ
การเคลื่อนไหวของราคา ขึ้นอยู่กับความยืดหยุ่นของเส้นอุป
สงค์อุปทาน
แบบจาลองใยแมงมุม
12
• ปรากฏการณ์ การเกิด การเคลื่อนไหวของราคาแบบวัฏจักรของ
ผลผลิตเกษตร (เนื่องจากการคาดราคาจากปีที่ผ่านมา)
• ความไม่สมดุลของอุปสงค์และอุปทาน
• ราคาเกิดวนรอบจุดดุลยภาพ
• ข้อสมมติ
– เมื่อกาหนดการผลิต แล้วไม่มีการเปลี่ยนแปลง
– ปริมาณสินค้าต้องไม่มีมากพอที่จะระงับการขึ้นลงของสินค้า
ได้
– ผู้ผลิตจานวนมาก การปฏิบัติของแต่ละคนไม่มีผลกระทบ
13
1. กรณีอุปสงค์ยืดหยุ่นกว่าอุปทาน
กรณี d > s
เข้าหาดุลยภาพ
Px (บาท/หน่วย)
Qx (หน่วย)
D0
S0
E0
o q1
p4
q2
p2
p1
q3 q4
14
2. กรณีอุปสงค์ยืดหยุ่นน้อยกว่าอุปทาน
กรณี d < s
ออกจากดุลยภาพ
Qx
(หน่วย)
D0
S0
E0
o q3
p1
q2
p2
p3
q4
p4
15
3. กรณีอุปสงค์อุปทานมีความยืดหยุ่นเท่ากัน
Qx (หน่วย)
กรณี d = s
Px (บาท/หน่วย)
q0
D0
S0
E0
o
p0
q1
p1
q2
p2
วนรอบดุลยภาพ
16
END
17

Contenu connexe

Tendances

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
Areewan Plienduang
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
Ornkapat Bualom
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ไพบููลย์ หัดรัดชัย
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสี
พัน พัน
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
thnaporn999
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
thnaporn999
 

Tendances (20)

บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
 
Chapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นChapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่น
 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสี
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
 
การกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทาน
การกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทานการกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทาน
การกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทาน
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
 
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
 
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติMacro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินMacro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
 

Plus de Ornkapat Bualom

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
Ornkapat Bualom
 
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลบทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
Ornkapat Bualom
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
Ornkapat Bualom
 

Plus de Ornkapat Bualom (9)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
 
Macro Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
Macro  Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจMacro  Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
Macro Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
 
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศMacro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
 
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังMacro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
 
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณMacro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
 
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติMacro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
 
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
 
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลบทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
 

บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ