SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  25
Télécharger pour lire hors ligne
แบบร่างโครงงานเทคโนโลยี

                                  เรื่อง

                          เก้าอี้เก็บรองเท้า
                               จัดทาโดย

                    นาย วัฒนชัย นิลาพันธ์ เลขที่ 10

                     นาย สกรรจ์ ขัติจักร เลขที่ 18

                    นาย เอกอังกูร ป้อมเสมา เลขที่ 41

                        ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ม.6/6

                                 เสนอ
                        ครู เขื่อนทอง มูลวรรณ
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการเรียนรายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ง33101

                      ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555

                 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
บทคัดย่อ

       โครงงานเก้าอี้เก็บรองเท้าชิ้นนี้เป็นประดิษฐ์ชิ้นงานในกระบวนวิชาการงานอาชีพและ
เทคโนโลยี(ออกแบบ)โดยเน้นให้ผู้เรียนมีการทางานเพื่อฝึกกระบวนการคิดสร้างสรรค์
กระบวนการทางานกลุ่ม งานฝีมือ โดยทางกลุ่มได้ออกแบบขึ้นโดยใช้ปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิต
จริงเพื่อที่เราจะได้แก้ไขปัญหานี้หรือหาทางออกที่เกิดขึ้นโดยกระบวนการคิดของพวกเราเองซึ่ง
ก็ได้ผลดีในระดับหนึ่งและสามารถใช่ได้จริงอีกด้วยทั้งนี้ เก้าอี้เก็บรองเท้าของเราสามารถในไป
ต่อยอดและพัฒนาให้มีรูปแบบต่างตามความต้องการของผู้ใช้ได้อีกมากมายกลุ่มพวกผมหวังว่า
โครงงานเก้าอี้เก็บรองเท้าจะสามารถให้และตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้ได้เป็นอย่างดี
กิตติกรรมประกาศ

          โครงงานฉบับนี้ สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยความเมตตาช่วยเหลืออย่างดียิ่งของผู้ปกครอง
ของกลุ่มของพวกเราทุกๆคนรวมถึงครูอาจารย์ที่ได้ให้คาแนะนาและบอกกล่าว กลุ่มของกระ
 พวกเราจึงขอขอบพระคุณทุก ๆ ท่านที่ได้อุดหนุนการทางาน และให้กาลังใจแก่ผู้เขียนเสมอ
มา กระทั่งการศึกษาค้นคว้าโครงงานครั้งนี้สาเร็จลุล่วงด้วยดีและความดีอันเกิดจากการศึกษา
ค้นคว้าครั้งนี้ ผู้เขียนขอมอบแด่บิดา มารดา ครู อาจารย์ และผู้มีพระคุณทุกท่านผู้เขียนมีความ
   ซาบซึงในความกรุณาอันดียิ่งจากทุกท่านที่ได้กล่าวนามมา และขอกราบขอบพระคุณมา
        ้
                                                                         ณ โอกาสนี้




                                                                             คณะผู้จัดทา
สารบัญ


                                                หน้า

บทคัดย่อ

กิตติกรรมประกาศ

       สารบัญ

บทที1 บทนา
    ่

บทที2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
    ่

บทที่ 3 วิธีการดาเนินการ

บทที่ 4 ผลการทดลอง

บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ

บรรณนุกรม

ภาคผนวก

-รูปการปฏิบัตงานต่างๆ
             ิ
บทที่1


ชื่อโครงงานเทคโนโลยี “เก้าอี้เก็บรองเท้า”

ชื่อผู้ทาโครงงานเทคโนโลยี

       นาย วัฒนชัย นิลาพันธ์ เลขที่ 10

       นาย สกรรจ์ ขัติจักร เลขที่ 18
       นาย เอกอังกูร ป้อมเสมา เลขที่ 41

ชื่อครูที่ปรึกษาโครงงาน

        ครู เขื่อทอง มูลวรรณ

ที่มาและความสาคัญของโครงงาน

       เนื่องจากปัญหาหลักในการใช้ชีวิตอยู่ในหอพักคือพื้นที่ใช้สอยมีจากัดกลุ่มของพวกผม
จึงได้ทาเก้าอี้เก็บรองเท้าเพื่อสามารถใช้สอยในพื้นที่แคบได้และเก็บรองเท้าได้อย่างเป็นระเบียบ
ในพื้นที่ที่มีจากัดนั้นเก้าอี้เก็บรองเท้าถือว่ามีประโยชน์อย่างมากเลยทีเดียว

จุดมุ่งหมาย

       เพื่อฝึกงานฝีมือ การทางานเป็นทีม บริหารกระบวนการคิดและแก้ไขปัญหา

นิยามศัพท์เฉพาะ (Definition)

       เป็นเก้าอี้ที่สามารถเก็บรองเท้า ถุงเท้า และอุปกรณ์ดูแลรองเท้าได้
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

-ฝึกงานฝีมือ

-ฝึกการทางานเป็นทีม

-บริหารกระบวนการคิดและแก้ไขปัญหา

-ฝึกทักษะในการใช้อุปกรณ์ต่างๆในการประดิษฐ์

-ในความรู้ที่ได้จากการปฏิบัติไปปรับใช้ในชีวิตประจาวันได้
บทที่2
       การจัดทาโครงงานเอ้าอี้เก็บรองเท้า รายวิชาออกแบบเทคโนโลยี ผู้จัดทาได้ศึกษาและ
รวบรวมข้อมูลจากเอกสารและอินเทอร์เน็ตที่เกี่ยวของประกอบด้วย

1 หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธสักราช 2551 กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี

ช่วงชั้นที4(ม.4-6)
          ่

2ความรู้เกี่ยวกับโครงงานเทคโนโลยี

3หลักการออกแบบผลิตภัณฑ์ประเภท เครื่องใช้

4ความรู้เกี่ยวกับโปรแกรม sket up

5ความรู้เกี่ยวกับ งานไม้



1. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช่วง
ชั้นที่ 4(ม.4-6) ประกอบด้วย มาตรฐานการเรียน รู้ ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้ดังนี้(กรม
วิชาการ,2551)

         1.1 มาตรฐานการเรียนรู้ มีดังนี้

        1.1.2 เข้าใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสร้างสิ่งของเครื่องใช้
หรือวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยีอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ เลือกใช้เทคโนโลยีในทาง
สร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม สิ่งแวดล้อม และมีส่วนร่วมในการจัดการเทคโนโลยีที่ยั่งยืน
1.2 ตัวชีวัดมีดังนี้
         ้

                  ง 2.1.1 อธิบายและเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นๆ

                ง 2.1.2 วิเคราะห์ระบบเทคโนโลยี

                ง 2.1.3 การสร้างชิ้นงาน หรือถ่ายทอดความคิด ของวิธีการเป็นแบบจาลอง
ความคิดและการรายงานผลโดยใช้ซอฟท์แวร์ช่วย ในการออกแบบหรือนาเสนอผลงาน

                ง 2.1.5 วิเคราะห์และเลือกใช้เทคโนโลยี ที่เหมาะสมกับชีวิตประจาวัน อย่าง
สร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม และมีการจัดการเทคโนโลยีที่ยั่งยืนด้วยวิธีการของ
เทคโนโลยีสะอาด

     1.3 สาระการเรียนรู้ มีดังนี้

1.3.1 เทคโนโลยีมีความสัมพันธ์กับศาสตร์อื่นๆโดยเฉพาะวิทยาศาสตร์

1.3.2 ระบบเทคโนโลยีประกอบด้วย ตัวป้อน (Input) กระบวนการ (Process) ผลลัพธ์

(Output) ทรัพยากรทางเทคโนโลยี (Resources) ปัจจัยที่เอื้อหรือขัดขวาง ต่อเทคโนโลยี
(Consideration)

     1.3.3 การวิเคราะห์ระบบเทคโนโลยีทาให้ทราบเกี่ยวกับปัจจัยในด้านต่างๆ ที่มีผลต่อการ

แก้ปัญหาหรือสนอง ความต้องการ

 1.3.4 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้หรือวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยี จะทาให้ผู้เรียน

ทางานอย่างเป็นระบบ สามารถย้อนกลับมาแก้ไขได้ง่าย

 1.3.5 การใช้ซอฟท์แวร์ชวยในการออกแบบหรือนาเสนอผลงาน มีประโยชน์ในการช่วย
                       ่

ร่างภาพ ทาภาพ 2 มิติ และ 3 มิติ
1.3.6 การพัฒนาสิ่งของเครื่องใช้ ต้องคานึงถึง หลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้น

    1.3.7 หลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้น เป็นการวิเคราะห์จุดมุ่งหมายของ การ

ออกแบบประกอบด้วย ชิ้นงานนี้ใช้ทาอะไร ทาไมถึงต้องมีชิ้นงานนี้ ใครเป็นผู้ใช้ ใช้ที่ไหน
เมื่อไรจึงใช้ วิธีการ ที่ทาให้ชิ้นงานนี้ทางานได้ตามวัตถุประสงค์

    1.3.8 ภาพฉาย เป็นภาพแสดงรายละเอียด ของชิ้นงาน ประกอบด้วยภาพด้านหน้า

ด้านข้าง ด้านบน แสดงขนาดและหน่วยวัด เพื่อนาไปสร้างชิ้นงาน

   1.3.9 ความคิดสร้างสรรค์มี 4 ลักษณะ ประกอบด้วย ความคิดริเริ่ม ความคล่องในการคิด

ความยืดหยุ่นในการคิด และความคิดละเอียดลออ

1.3.10 ความคิดแปลกใหม่ที่ได้ ต้องไม่ละเมิดความคิดผู้อื่น

1.3.11 ความคิดแปลกใหม่เป็นการสร้างนวัตกรรมที่อาจนาไปสู่การจดลิขสิทธิ์ หรือสิทธิบัตร

การวิเคราะห์ผลดี ผลเสีย การประเมิน และการตัดสินใจเพื่อเลือกใช้เทคโนโลยี ที่เหมาะสม

1.3..12 การเลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้อย่างสร้างสรรค์ โดยการเลือกสิ่งของ เครื่องใช้ที่เป็นมิตร
กับชีวิต สังคม สิ่งแวดล้อม

1.3.13 เทคโนโลยีสะอาดเป็นการจัดการเทคโนโลยีที่ยั่งยืนแบบหนึ่ง
2. ความรู้เกี่ยวกับโครงงานเทคโนโลยี (Technology Project Work)

   โครงงานเทคโนโลยี จัดเป็นโครงงานที่เกี่ยวกับการนาความรู้ ทักษะ และทรัพยากรมาสร้าง
หรือประดิษฐ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์หรือวิธีการเพื่อใช้แก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ
ซึ่งอาจเป็นการสร้างหรือประดิษฐ์ของใหม่ ๆ ปรับปรุงหรือพัฒนาของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มี
ประสิทธิภาพสูงขึ้น นอกจากนี้ยังรวมถึงการสร้างแบบจาลองเพื่ออธิบายวิธีการแก้ปัญหาหรือ
สนองความต้องการหรือแนวความคิดต่าง ๆ โครงงานเทคโนโลยีจึงมีส่วนคล้ายกับโครงงาน
ประเภทสิ่งประดิษฐ์ แต่โครงงานเทคโนโลยีมีความแตกต่างจากโครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ที่
ไม่มีการกาหนดตัวแปรที่จะศึกษา

ในการดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีได้ใช้กระบวนการ
เทคโนโลยีของ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งมี 7 ขั้นตอนดังนี้

       1. กาหนดปัญหาหรือความต้องการ (Identification the problem , need or preference)

       2.รวบรวมข้อมูลเพื่อแสวงหาวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ (Information)

       3. เลือกวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ (Selection of the best possible
solution)

       4. ออกแบบและปฏิบัติการ (Design and making)

       5. ทดสอบ (Testing to see if it works)

       6. การปรับปรุงแก้ไข (Modification and improvement)

       7. ประเมินผล (Assessment)
1. กาหนดปัญหาหรือความต้องการ (Identification the problem , need or preference)
เมื่อมนุษย์เกิดปัญหาหรือความต้องการ ขั้นแรกคือ การทาความเข้าใจปัญหานั้น ๆ อย่างละเอียด
หรือกาหนดขอบเขตการแก้ปัญหา ระบุความต้องการให้ชัดเจนว่าต้องการอะไร โดยเขียนเป็น
ข้อความสั้น ๆ ให้ได้ใจความชัดเจน

       2. รวบรวมข้อมูลเพื่อแสวงหาวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ (Information)

เมื่อกาหนดปัญหาหรือความต้องการแล้ว ขั้นตอนต่อไป คือ เก็บรวบรวมข้อมูลและความรู้ทุก
ด้านที่ เกี่ยวข้องกับปัญหาหรือความต้องการเพื่อหาวิธีการที่เหมาะสมสาหรับแก้ปัญหา หรือ
สนองความต้องการที่กาหนดไว้ ทาได้หลายวิธี เช่น ข้อมูลเหล่านี้จะนาไปสู่การได้วิธีการ
แก้ปัญหา หรือสนองความต้องการในหลายแบบ ขั้นตอนนี้เป็น ขั้นตอนที่สาคัญมาก ซึ่งจะเป็น
ช่องทางที่สามารถใส่เนื้อหาที่เราต้องการให้นักเรียนได้เรียนรู้ และถือว่าเป็นช่องทางของ
การบูรณาการได้ดีที่สุด

       3. เลือกวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ (Selection of the best possible
solution)ในขั้นนี้ เป็นการตัดสินใจเลือกแนวคิดที่ดีที่สุดสาหรับแก้ปัญหา โดยนาข้อมูล และ
ความรู้ที่รวบรวมได้ มาประกอบกันจนได้ข้อสรุปว่า จะเลือกวิธีการแก้ปัญหาหรือวิธีการสนอง
ความต้องการเป็นแบบใด โดยวิธีการที่เลือกอาจยึดแนวที่ว่า เมื่อเลือกแล้วจะทาให้สิ่งนั้นดีขึ้น
(Better) สะดวกสบายหรือรวดเร็วขึ้น(Faster speed) ประหยัดขึ้น (Cheaper) รวมทั้งวิธีการ
เหล่านี้ จะต้องสอดคล้องกับทรัพยากร (Resource) ที่มีอยู่

         4. ออกแบบและปฏิบัติการ (Design and making) ขั้นตอนนี้ต้องการให้นักเรียนรู้จักคิด
ออกแบบ ซึ่งไม่จาเป็นต้องเป็นสิ่งของเครื่องใช้เสมอไป อาจเป็น วิธีการก็ได้ และการออกแบบ
ไม่จาเป็นต้องเขียนแบบเสมอไป อาจเป็นแค่ลาดับความคิด หรือจินตนาการให้เป็นขั้นตอนซึ่ง
รวมปฏิบัติการลงไปด้วย นั่นคือเมื่อออกแบบแล้วต้องลงมือทา และลงมือปฏิบัติในสิ่งที่
ออกแบบไว้
5. ทดสอบ (Testing to see if it works)

         เป็นการนาสิ่งประดิษฐ์หรือวิธีการนั้นทดลองใช้เพื่อทดสอบว่าใช้งานหรือทางานได้
หรือไม่มีข้อบกพร่องอย่างไร ถ้ายังไม่ได้ก็ไปสู่ขั้นตอนต่อไป คือ ปรับปรุง แก้ไข

        6. การปรับปรุงแก้ไข (Modification and improvement) หลังจากการทดสอบผลแล้ว
พบว่า สิ่งประดิษฐ์ที่สร้างขึ้น หรือวิธีการที่คิดขึ้นไม่ทางานมีข้อบกพร่อง ก็ทาการปรับปรุง
แก้ไข โดยอาจเลือกวิธีการใหม่ก็ได้คือย้อนไปขั้นตอนที่ 3

       7. ประเมินผล (Assessment) หลังจากปรับปรุงแก้ไขจนใช้งานได้ดีตามวิธีการที่
ออกแบบแล้ว ก็นามาประเมินผลโดยรวม โดยพิจารณาดังนี้

        บางกิจกรรมอาจไม่ครบทั้ง 7 ขั้นตอนก็ได้ บางกิจกรรมขั้นตอนอาจสลับกันไปบ้างก็ได้
แต่เมื่อนาไปใช้ แล้ว นักเรียนรู้จักที่จะทางานเป็นขั้นตอน เป็นระบบ ย้อนกลับมาดู หรือแก้ไข
ได้ตามขั้นตอนที่ทาไปได้




3. หลักการออกแบบผลิตภัณฑ์ ประเภทงานไม้(เครืองใช้)
                                           ่

            3.1 การสร้างเก้าอี้

            3.2 โครงสร้าง การตอกตะปู

4.ความรู้เกี่ยวกับโปรแกรม sket up auto cad

 5. ความรู้เกี่ยวกับ การประดิษฐ์งานไม้ การตกแต่ง

 6. ความรู้เกี่ยวกับ การเลือกใช้ไม้

6.1 การใช้อุปรณ์ทางด้านงานช่างไม้
บทที่ 3
                   การเลือกวิธีการ/กรอบแนวคิดในการดาเนินงาน


         ในการจัดทาโครงงานเก้าอี้เก็บรองเท้าผู้จัดทาได้มีกรอบแนวคิดหรือขั้นตอนในการ
ดาเนินงานดังนี้

3.1 กรอบแนวคิดในการทาโครงงาน

      (ได้ทาเป็น Flowchart ได้ดูตัวอย่าง และปรับใช้ โดยเฉพาะขั้นตอนการลงมือปฏิบัติ

     ได้จัดทาเพิ่มกระบวนการทางานโดยใช้ PDCA )

3.2 การนาความรู้จากสาระต่าง ๆ มาบูรณาการในการทาโครงงานเก้าอี้เก็บรองเท้า

(ได้นาเสนอเป็น Mapping เหมือนตัวอย่าง ในหนังสือการออกแบบและเทคโนโลยี)
บทที่ 4
                                      ผลการปฏิบัติงาน


                     ในการดาเนินงานโครงงานเก้าอี้เก็บรองเท้าผู้จัดทาได้ดาเนินการตาม
กระบวนการเทคโนโลยี 7 ขั้นตอน ของ สสวท.ดังนี้

        ขั้นที่ 1 การกาหนดปัญหาและความต้องการ (Identification the problem , need or
preference)

        ปัญหาคือการอาศัยในหอพักที่มีพื้นที่แคบและจากัดดังนั้นกลุ่มของพวกเราจึงได้คิดหา
วิธีที่แก้ไขในการกาจัดปัญหาขึ้นเพื่อสามารถในไปประยุกต์ใช้ในหอพักที่มีพื้นที่จากัดได้และ
ต้องการใช้พื้นที่อันจากัดของหอพักให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นและสะดวกต่อการดูแลรักษาและ
จัดเก็บมากยิ่งขึ้น

        ขั้นตอนที่2.รวบรวมข้อมูลเพื่อแสวงหาวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ
(Information)

1.จัดทาเก้าอี้เก็บรองเท้าขึ้นตามความต้องการของผู้พักอาศัยในหอ

2.จัดทาโต๊ะเคลื่อนที่สามารถเก็บรองเท้าวางหนังสือทางานต่างๆได้

3.จัดทาตู้เสื้อผ้าที่สามารถเก็บรองเท้าเก็บของเครื่องใช้และเสื้อผ้าที่ต้องการและสามารถใช้เป็น
โตะอ่านหนังสือขนาดเล็กได้โดยการเลื่อนออกมาจากด้านล่าง

       ขั้นตอน 3. เลือกวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ (Selection of the best
possible solution) กลุ่มของผมได้เลือกที่จะทาเก้าอี้เก็บรองเท้าเพราะสามารถทาได้จริงและใช้
งบประมาณไม่มากและสามารนาไปประยุกต์ใช้ไดในที่แคบอย่างหอพักได้ดีกว่าสิ่งอื่นๆ
ขั้นตอนที่ 4. ออกแบบและปฏิบัติการ (Design and making) โดยใช้กระบวนการ PDCA
ของ Deming ดังนี้ขั้นตอนทั้ง 4 ขั้นตอนของวงจร PDCA ประกอบด้วย "การวางแผน" อย่าง
รอบคอบ เพื่อ " การปฏิบัติ " อย่างค่อยเป็นค่อยไป แล้วจึง "ตรวจสอบ" ผลที่เกิดขึ้น วิธีการ
ปฏิบัติใดมีประสิทธิผลที่สุด ก็จะจัดให้เป็นมาตรฐาน หากไม่สามารถบรรลุเป้าหมายได้ ก็
ต้องมองหาวิธีการปฏิบัติใหม่หรือใช้ความพยายามให้มากขึ้นกว่าเดิม


ขั้นตอนการวางแผน (Plan)
ในขั้น ตอนการวางแผนกลุ่มของพวกเรานั้นได้ทาการครอบคลุมถึงการกาหนดกรอบหัวข้อที่
ต้องการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ซึ่งรวมถึงการพัฒนาสิ่งใหม่ ๆ การแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการ
ปฏิบัติงาน ฯลฯ พร้อมกับพิจารณาว่ามีความจาเป็นต้องใช้ข้อมูลใดบ้างเพื่อการปรับปรุง
เปลี่ยน แปลงนั้น โดยระบุวิธีการเก็บข้อมูลให้ชัดเจน นอกจากนี้ จะต้องวิเคราะห์ข้อมูลที่
รวบรวมได้ แล้วกาหนดทางเลือกในการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงดังกล่าวการวางแผนยังช่วยให้
เราสามารถคาดการณ์สิ่งที่เกิดขึ้นในอนาคต และช่วยลดความสูญเสียต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้
ทั้งในด้านแรงงาน วัตถุดิบ ชั่วโมงการทางาน เงิน เวลา ฯลฯ โดยสรุปแล้ว การวางแผนช่วย
ให้รับรู้สภาพปัจจุบัน พร้อมกับกาหนดสภาพที่ต้องการให้เกิดขึ้นในอนาคต ด้วยการผสาน
ประสบการณ์ ความรู้ และทักษะอย่างลงตัว ซึ่งกลุ่มของพวกเรานั้นได้ทาการวางแผนโดยให้
สามาชิกทุกคนปรึกษากันว่าจะทาอย่างไรบ้างและตกลงเลือกวิธีที่ดีที่สุดในการปฏิบัติโดยได้
จัดทา plan แบบก้างปลา และ mapping ขึ้น

ขั้นตอนการปฏิบัติ (DO)
ในขั้นตอนปฏิบัตินั้นกลุ่มของผมได้จัดการลงมือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตามทางเลือกที่ได้
กาหนดไว้ในขั้นตอนการ วางแผน ในขั้นนี้ต้องตรวจสอบระหว่างการปฏิบัติด้วยว่าได้ดาเนิน
ไปในทิศทางที่ตั้งใจ หรือไม่ พร้อมกับสื่อสารให้ผู้ที่เกี่ยวข้องรับทราบด้วย เราไม่ควรปล่อย
ให้ถึงวินาทีสุดท้ายเพื่อดูความคืบหน้าที่เกิดขึ้น และตรวจสอบให้แน่ นอน เพื่อจะได้มั่นใจว่า
การปฏิบัติของกลุ่มเรานั้นได้ทาการปรับปรุงเพื่อให้เกิดความผิดพลาดน้อยที่สุด
ขันตอนการตรวจสอบ (Check)
  ้


ในขั้นตอนการตรวจสอบกลุ่มของพวกผมได้จัดทาการประเมินผลที่ได้รับจากการปรับปรุง
เปลี่ยนแปลง การตรวจสอบทาให้เราทราบว่าการปฏิบัติใน ขั้นที่สองสามารถบรรลุเป้าหมาย
หรือวัตถุประสงค์ที่ได้กาหนดไว้


ขั้นตอนการดาเนินงานให้เหมาะสม (Act)


ในขั้นตอนนี้กลุ่มของพวกเราได้ ดาเนินงานให้เหมาะสมและพิจารณาผลที่ได้จากการตรวจสอบ
ซึ่งมีอยู่ 2 กรณี คือ ผลที่เกิดขึ้นเป็นไปตามแผนที่วางไว้ หรือไม่เป็นไปตามแผนที่วางไว้ หาก
เป็นกรณีแรก ก็ให้นาแนวทางหรือกระบวนการปฏิบัตินั้นมาจัดทาให้เป็นมาตรฐาน พร้อมทั้งหา
วิธีการทีจะปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้นไปอีก ซึ่งอาจหมายถึงสามารถบรรลุเป้าหมายได้เร็วกว่าเดิม หรือ
         ่
เสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าเดิม หรือทาให้คุณภาพดียิ่งขึ้นก็ได้แต่ถ้าหากเป็นกรณีที่สอง ซึ่งก็คือผลที่
ได้ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ตามแผนที่วางไว้ เราควรนาข้อมูลที่รวบรวมไว้มาวิเคราะห์ และ
พิจารณาว่าควรจะดาเนินการอย่างไรต่อไปนี้


1.ได้มองหาทางเลือกใหม่ที่น่าจะเป็นไปได้
2.ได้ใช้ความพยายามให้มากขึ้นกว่าเดิม
3.ได้ขอความช่วยเหลือจากผู้รู้
คาศัพท์เฉพาะ
Specific - เฉพาะเจาะจง มีความชัดเจน
Measurable - สามารถวัดและประเมินผลได้
Acceptable - เป็นที่ยอมรับได้ของผู้ปฏิบัติ
Realistic - ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความเป็นจริง
Time Frame - มีกรอบเวลากาหนด
Extending - ท้าทาย และเพิ่มศักยภาพของผู้ปฏิบัติ
Rewarding - คุ้มค่ากับการปฏิบัติครับ

ขั้นตอนที่ 6. การปรับปรุงแก้ไข (Modification and improvement)

ในขั้นตอนนี้กลุ่มของผมได้ปรับปรุงแก้ไขโดยจัดทาแผนการปรับปรุงโดยการทาให้ละเอียดและ
แข็งแรงทดทานมากขึ้นโดยการขอคาปรึกษาจากผู้ที่มีประสบการณ์และความรู้ใรด้านงานไม้



ขั้นตอนที่ 7. ประเมินผล (Assessment)

ประเมินผลโดยการให้ผู้ปฏิบัติและเพื่อนๆลองทดสอบด้วยการนั่ง ดูการรับน้าหนักขณะที่เท้า
ลอยจากพื้นเพื่อทดสอบความแข็งแรงทนทานต่อการรองรับน้าหนักและทดลองใส่รองเท้าดูว่า
จะสามารถจัดเก็บรองเท้าขนาดไหนได้บ้าง
บทที่ 5
                         สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
ให้เขียนนาเสนอดังนี้

   1.     สรุปผลการดาเนินงาน
          ในขั้นที่ 1 การกาหนดปัญหาและความต้องการ (Identification the problem , need
          or preference)ปัญหาคือการอาศัยในหอพักที่มีพื้นที่แคบและจากัดดังนั้นกลุ่มของ
          พวกเราจึงได้คิดหาวิธีที่แก้ไขในการกาจัดปัญหาขึ้นเพื่อสามารถในไปประยุกต์ใช้ใน
          หอพักที่มีพื้นที่ ขั้นตอนที่2.รวบรวมข้อมูลเพื่อแสวงหาวิธีการแก้ปัญหาหรือสนอง
          ความต้องการ (Information)จัดทาเก้าอี้เก็บรองเท้าขึ้นตามความต้องการของผู้พัก
          อาศัยในหอ ขั้นตอน 3. เลือกวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ (Selection of
          the best possible solution) กลุ่มของผมได้เลือกที่จะทาเก้าอี้เก็บรองเท้าเพราะ
          สามารถทาได้จริงขั้นตอนที่ 4. ออกแบบและปฏิบัติการ (Design and making) โดย
          ใช้กระบวนการ PDCA ของ Deming ขั้นตอนการวางแผน (Plan)
          ในขั้น ตอนการวางแผนกลุ่มของพวกเรานั้นได้ทาการครอบคลุมถึงการกาหนด
          กรอบหัวข้อที่ต้องการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ซึ่งรวมถึงการพัฒนาสิ่งใหม่ ขั้นตอน
          การปฏิบัติ (DO)ในขั้นตอนปฏิบัตินั้นกลุ่มของผมได้จัดการลงมือปรับปรุง
          เปลี่ยนแปลงตามทางเลือกที่ได้กาหนดไว้ในขั้นตอนการ วางแผน
          ขั้นตอนการตรวจสอบ (Check)ในขั้นตอนการตรวจสอบกลุ่มของพวกผมได้จัดทา
          การประเมินผลที่ได้รับจากการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง การตรวจสอบทาให้เราทราบ
          ว่าการปฏิบัติใน ขั้นที่สองสามารถบรรลุเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่ได้กาหนดไว้
          ขั้นตอนการดาเนินงานให้เหมาะสม (Act)ในขั้นตอนนี้กลุ่มของพวกเราได้
          ดาเนินงานให้เหมาะสมและพิจารณาผลที่ได้จากการตรวจสอบ ปรับปรุงให้ดี
          ยิ่งขึ้นไปอีก ซึ่งอาจหมายถึงสามารถบรรลุเป้าหมายได้เร็ว
อภิปรายผล
   จากการที่ไก้ทาโครงงานนี้กลุ่มของพวกเราได้ผลเป็นที่น่าพอใจจากการทางาน
กลุ่มนี้พวกเราเห็นว่าการที่ได้ประดิษฐ์เก้าอี้ใส่รองเม้าของพวกเรานั้นจะทาให้พวก
เรานาไปใช้ในชีวิตจริงและก่อนประโยชน์ได้อย่างเต็มที่ทั้งในการที่เราได้วางแผนไว้
หรือนอกจากนั้นยังสามารถนาไปต่อยอดขึ้นไปได้อีกด้วยจากผลที่งานที่ได้ปฏิบัติ
นั้นทาให้กลุ่มของพวกเราได้รับความรู้ความเข้าใจและสามารถนาไปปฏิบัติ
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้อีกด้วย


ข้อเสนอแนะ

1.ได้เสนอแนะให้มีการปรึกษากันเพื่อหาข้อปรึกษาที่ดีในการทางานกลุ่ม
2.ได้เสนอแนะให้มีการทา mapping เพื่อช่วยในการวางแผนงานที่ดีขึ้น

3.ได้เสนอแนะให้มีการถามผู้รู้ผู้ที่มีความเข้าใจในงานด้านไม้

4.ได้เสนอแนะให้มีการสอบถามรอคาไม้ที่จะนามาใช้เป็นอุปรณ์ในการประดิษฐ์
บรรณานุกรม


พื้นฐานงานช่างไม้(ออนไลน์). แหล่งที่มา: http://www.thaiwoodcentral.com/cgi-sys/suspendedpage.cgi
        วันที่ 18 มกราคม 2556

เก้าอี(ออนไลน์). แหล่งที่มา: http://www.thaiblogonline.com/loveamakmay.blog?PostID=23340
      ้
        วันที่ 18 มกราคม 2556

 วิธีการทาเก้าอี้และโต๊ะ http://www.thaicarpenter.com/รวมวิดีโอ-เกี่ยวกับงานไม้/วิธีการทาโต๊ะและเก้าอี้

      สืบค้นข้อมูลวันที่ 18 มกราคม 2556

10 ไอเดีย ที่เก็บรองเท้า ประยุกต์ใช้เอง จัดวางให้เป็นระเบียบ http://www.banidea.com/10-ideas-for-
        shoe-store/ สืบค้นข้อมูลวันที่ 18 มกราคม 2556
ภาคผนวก
ออกแบบ
ออกแบบ
ออกแบบ
ออกแบบ

Contenu connexe

Tendances

โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัสโครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัสPreeyaporn Wannamanee
 
เค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอมเค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอมMark Siwadol
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Nattanan Rassameepak
 
การสืบพันธุ์ในคน
การสืบพันธุ์ในคนการสืบพันธุ์ในคน
การสืบพันธุ์ในคนIsaree Kowin
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์cakemark
 
โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)
โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)
โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)tangmo77
 
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงานแบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงานnoeypornnutcha
 
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16Lekleklek Jongrak
 
โครงงาน เรื่อง ฮอร์โมนมนุษย์
โครงงาน เรื่อง ฮอร์โมนมนุษย์ โครงงาน เรื่อง ฮอร์โมนมนุษย์
โครงงาน เรื่อง ฮอร์โมนมนุษย์ dgnjamez
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมScott Tape
 
เค้าโครงร่างอีฟ
เค้าโครงร่างอีฟเค้าโครงร่างอีฟ
เค้าโครงร่างอีฟJah Jadeite
 

Tendances (17)

โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัสโครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
 
ผลการดำเนินงานเศรษฐกิจพอเพียง
ผลการดำเนินงานเศรษฐกิจพอเพียงผลการดำเนินงานเศรษฐกิจพอเพียง
ผลการดำเนินงานเศรษฐกิจพอเพียง
 
2 plantstrruc 1
2 plantstrruc 12 plantstrruc 1
2 plantstrruc 1
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
เค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอมเค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอม
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
การสืบพันธุ์ในคน
การสืบพันธุ์ในคนการสืบพันธุ์ในคน
การสืบพันธุ์ในคน
 
Lesson2plant2bykruwichai62
Lesson2plant2bykruwichai62Lesson2plant2bykruwichai62
Lesson2plant2bykruwichai62
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)
โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)
โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)
 
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงานแบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
 
Lesson2plant1bykruwichai62
Lesson2plant1bykruwichai62Lesson2plant1bykruwichai62
Lesson2plant1bykruwichai62
 
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
 
โครงงาน เรื่อง ฮอร์โมนมนุษย์
โครงงาน เรื่อง ฮอร์โมนมนุษย์ โครงงาน เรื่อง ฮอร์โมนมนุษย์
โครงงาน เรื่อง ฮอร์โมนมนุษย์
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 
เค้าโครงร่างอีฟ
เค้าโครงร่างอีฟเค้าโครงร่างอีฟ
เค้าโครงร่างอีฟ
 
Ham
HamHam
Ham
 

Similaire à ออกแบบ

รายงาน
รายงานรายงาน
รายงานNuTty Quiz
 
Design process onwebforrobotcontest
Design process onwebforrobotcontestDesign process onwebforrobotcontest
Design process onwebforrobotcontestWeerachat Martluplao
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...
เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...
เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...heemaa
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยsudaphud
 
น.ส ยุภารัตน์
น.ส ยุภารัตน์น.ส ยุภารัตน์
น.ส ยุภารัตน์Yuparat ORn
 
คำอธิบายรายวิชา2
คำอธิบายรายวิชา2คำอธิบายรายวิชา2
คำอธิบายรายวิชา2Duangsuwun Lasadang
 
สาระแกนกลาง
สาระแกนกลางสาระแกนกลาง
สาระแกนกลางhamanfield
 
ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2Paranee Srikhampaen
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงานThank Chiro
 

Similaire à ออกแบบ (20)

เก้าอี้หวงห้าม
เก้าอี้หวงห้ามเก้าอี้หวงห้าม
เก้าอี้หวงห้าม
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
Design process onwebforrobotcontest
Design process onwebforrobotcontestDesign process onwebforrobotcontest
Design process onwebforrobotcontest
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
 
เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...
เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...
เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
 
น.ส ยุภารัตน์
น.ส ยุภารัตน์น.ส ยุภารัตน์
น.ส ยุภารัตน์
 
PPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัยPPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัย
 
คำอธิบายรายวิชา2
คำอธิบายรายวิชา2คำอธิบายรายวิชา2
คำอธิบายรายวิชา2
 
คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2
คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2
คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2
 
สาระแกนกลาง
สาระแกนกลางสาระแกนกลาง
สาระแกนกลาง
 
ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
Com 1
Com 1Com 1
Com 1
 
Project m607
Project m607Project m607
Project m607
 

Plus de Pum Pep

ออกแบบ
ออกแบบออกแบบ
ออกแบบPum Pep
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์Pum Pep
 
สุขะ
สุขะสุขะ
สุขะPum Pep
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคมPum Pep
 
ใบงานที่ 16
ใบงานที่ 16ใบงานที่ 16
ใบงานที่ 16Pum Pep
 
ใบงานที่ 15
ใบงานที่ 15ใบงานที่ 15
ใบงานที่ 15Pum Pep
 
ใบงานที่ 14
ใบงานที่ 14ใบงานที่ 14
ใบงานที่ 14Pum Pep
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11Pum Pep
 
ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10Pum Pep
 
ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9Pum Pep
 
ไทย
ไทยไทย
ไทยPum Pep
 
เฉลย
เฉลยเฉลย
เฉลยPum Pep
 
คณิต
คณิตคณิต
คณิตPum Pep
 
อังกฤษ
อังกฤษอังกฤษ
อังกฤษPum Pep
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์Pum Pep
 
หนังสือนี้เป็นที่รักของข้าพเจ้า
หนังสือนี้เป็นที่รักของข้าพเจ้าหนังสือนี้เป็นที่รักของข้าพเจ้า
หนังสือนี้เป็นที่รักของข้าพเจ้าPum Pep
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำPum Pep
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวPum Pep
 

Plus de Pum Pep (18)

ออกแบบ
ออกแบบออกแบบ
ออกแบบ
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
สุขะ
สุขะสุขะ
สุขะ
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 
ใบงานที่ 16
ใบงานที่ 16ใบงานที่ 16
ใบงานที่ 16
 
ใบงานที่ 15
ใบงานที่ 15ใบงานที่ 15
ใบงานที่ 15
 
ใบงานที่ 14
ใบงานที่ 14ใบงานที่ 14
ใบงานที่ 14
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 
ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10
 
ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
เฉลย
เฉลยเฉลย
เฉลย
 
คณิต
คณิตคณิต
คณิต
 
อังกฤษ
อังกฤษอังกฤษ
อังกฤษ
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
หนังสือนี้เป็นที่รักของข้าพเจ้า
หนังสือนี้เป็นที่รักของข้าพเจ้าหนังสือนี้เป็นที่รักของข้าพเจ้า
หนังสือนี้เป็นที่รักของข้าพเจ้า
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว
 

ออกแบบ

  • 1. แบบร่างโครงงานเทคโนโลยี เรื่อง เก้าอี้เก็บรองเท้า จัดทาโดย นาย วัฒนชัย นิลาพันธ์ เลขที่ 10 นาย สกรรจ์ ขัติจักร เลขที่ 18 นาย เอกอังกูร ป้อมเสมา เลขที่ 41 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ม.6/6 เสนอ ครู เขื่อนทอง มูลวรรณ รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการเรียนรายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ง33101 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
  • 2. บทคัดย่อ โครงงานเก้าอี้เก็บรองเท้าชิ้นนี้เป็นประดิษฐ์ชิ้นงานในกระบวนวิชาการงานอาชีพและ เทคโนโลยี(ออกแบบ)โดยเน้นให้ผู้เรียนมีการทางานเพื่อฝึกกระบวนการคิดสร้างสรรค์ กระบวนการทางานกลุ่ม งานฝีมือ โดยทางกลุ่มได้ออกแบบขึ้นโดยใช้ปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิต จริงเพื่อที่เราจะได้แก้ไขปัญหานี้หรือหาทางออกที่เกิดขึ้นโดยกระบวนการคิดของพวกเราเองซึ่ง ก็ได้ผลดีในระดับหนึ่งและสามารถใช่ได้จริงอีกด้วยทั้งนี้ เก้าอี้เก็บรองเท้าของเราสามารถในไป ต่อยอดและพัฒนาให้มีรูปแบบต่างตามความต้องการของผู้ใช้ได้อีกมากมายกลุ่มพวกผมหวังว่า โครงงานเก้าอี้เก็บรองเท้าจะสามารถให้และตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้ได้เป็นอย่างดี
  • 3. กิตติกรรมประกาศ โครงงานฉบับนี้ สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยความเมตตาช่วยเหลืออย่างดียิ่งของผู้ปกครอง ของกลุ่มของพวกเราทุกๆคนรวมถึงครูอาจารย์ที่ได้ให้คาแนะนาและบอกกล่าว กลุ่มของกระ พวกเราจึงขอขอบพระคุณทุก ๆ ท่านที่ได้อุดหนุนการทางาน และให้กาลังใจแก่ผู้เขียนเสมอ มา กระทั่งการศึกษาค้นคว้าโครงงานครั้งนี้สาเร็จลุล่วงด้วยดีและความดีอันเกิดจากการศึกษา ค้นคว้าครั้งนี้ ผู้เขียนขอมอบแด่บิดา มารดา ครู อาจารย์ และผู้มีพระคุณทุกท่านผู้เขียนมีความ ซาบซึงในความกรุณาอันดียิ่งจากทุกท่านที่ได้กล่าวนามมา และขอกราบขอบพระคุณมา ้ ณ โอกาสนี้ คณะผู้จัดทา
  • 4. สารบัญ หน้า บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ บทที1 บทนา ่ บทที2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ่ บทที่ 3 วิธีการดาเนินการ บทที่ 4 ผลการทดลอง บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ บรรณนุกรม ภาคผนวก -รูปการปฏิบัตงานต่างๆ ิ
  • 5. บทที่1 ชื่อโครงงานเทคโนโลยี “เก้าอี้เก็บรองเท้า” ชื่อผู้ทาโครงงานเทคโนโลยี นาย วัฒนชัย นิลาพันธ์ เลขที่ 10 นาย สกรรจ์ ขัติจักร เลขที่ 18 นาย เอกอังกูร ป้อมเสมา เลขที่ 41 ชื่อครูที่ปรึกษาโครงงาน ครู เขื่อทอง มูลวรรณ ที่มาและความสาคัญของโครงงาน เนื่องจากปัญหาหลักในการใช้ชีวิตอยู่ในหอพักคือพื้นที่ใช้สอยมีจากัดกลุ่มของพวกผม จึงได้ทาเก้าอี้เก็บรองเท้าเพื่อสามารถใช้สอยในพื้นที่แคบได้และเก็บรองเท้าได้อย่างเป็นระเบียบ ในพื้นที่ที่มีจากัดนั้นเก้าอี้เก็บรองเท้าถือว่ามีประโยชน์อย่างมากเลยทีเดียว จุดมุ่งหมาย เพื่อฝึกงานฝีมือ การทางานเป็นทีม บริหารกระบวนการคิดและแก้ไขปัญหา นิยามศัพท์เฉพาะ (Definition) เป็นเก้าอี้ที่สามารถเก็บรองเท้า ถุงเท้า และอุปกรณ์ดูแลรองเท้าได้
  • 7. บทที่2 การจัดทาโครงงานเอ้าอี้เก็บรองเท้า รายวิชาออกแบบเทคโนโลยี ผู้จัดทาได้ศึกษาและ รวบรวมข้อมูลจากเอกสารและอินเทอร์เน็ตที่เกี่ยวของประกอบด้วย 1 หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธสักราช 2551 กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช่วงชั้นที4(ม.4-6) ่ 2ความรู้เกี่ยวกับโครงงานเทคโนโลยี 3หลักการออกแบบผลิตภัณฑ์ประเภท เครื่องใช้ 4ความรู้เกี่ยวกับโปรแกรม sket up 5ความรู้เกี่ยวกับ งานไม้ 1. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช่วง ชั้นที่ 4(ม.4-6) ประกอบด้วย มาตรฐานการเรียน รู้ ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้ดังนี้(กรม วิชาการ,2551) 1.1 มาตรฐานการเรียนรู้ มีดังนี้ 1.1.2 เข้าใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสร้างสิ่งของเครื่องใช้ หรือวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยีอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ เลือกใช้เทคโนโลยีในทาง สร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม สิ่งแวดล้อม และมีส่วนร่วมในการจัดการเทคโนโลยีที่ยั่งยืน
  • 8. 1.2 ตัวชีวัดมีดังนี้ ้ ง 2.1.1 อธิบายและเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นๆ ง 2.1.2 วิเคราะห์ระบบเทคโนโลยี ง 2.1.3 การสร้างชิ้นงาน หรือถ่ายทอดความคิด ของวิธีการเป็นแบบจาลอง ความคิดและการรายงานผลโดยใช้ซอฟท์แวร์ช่วย ในการออกแบบหรือนาเสนอผลงาน ง 2.1.5 วิเคราะห์และเลือกใช้เทคโนโลยี ที่เหมาะสมกับชีวิตประจาวัน อย่าง สร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม และมีการจัดการเทคโนโลยีที่ยั่งยืนด้วยวิธีการของ เทคโนโลยีสะอาด 1.3 สาระการเรียนรู้ มีดังนี้ 1.3.1 เทคโนโลยีมีความสัมพันธ์กับศาสตร์อื่นๆโดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ 1.3.2 ระบบเทคโนโลยีประกอบด้วย ตัวป้อน (Input) กระบวนการ (Process) ผลลัพธ์ (Output) ทรัพยากรทางเทคโนโลยี (Resources) ปัจจัยที่เอื้อหรือขัดขวาง ต่อเทคโนโลยี (Consideration) 1.3.3 การวิเคราะห์ระบบเทคโนโลยีทาให้ทราบเกี่ยวกับปัจจัยในด้านต่างๆ ที่มีผลต่อการ แก้ปัญหาหรือสนอง ความต้องการ 1.3.4 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้หรือวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยี จะทาให้ผู้เรียน ทางานอย่างเป็นระบบ สามารถย้อนกลับมาแก้ไขได้ง่าย 1.3.5 การใช้ซอฟท์แวร์ชวยในการออกแบบหรือนาเสนอผลงาน มีประโยชน์ในการช่วย ่ ร่างภาพ ทาภาพ 2 มิติ และ 3 มิติ
  • 9. 1.3.6 การพัฒนาสิ่งของเครื่องใช้ ต้องคานึงถึง หลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้น 1.3.7 หลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้น เป็นการวิเคราะห์จุดมุ่งหมายของ การ ออกแบบประกอบด้วย ชิ้นงานนี้ใช้ทาอะไร ทาไมถึงต้องมีชิ้นงานนี้ ใครเป็นผู้ใช้ ใช้ที่ไหน เมื่อไรจึงใช้ วิธีการ ที่ทาให้ชิ้นงานนี้ทางานได้ตามวัตถุประสงค์ 1.3.8 ภาพฉาย เป็นภาพแสดงรายละเอียด ของชิ้นงาน ประกอบด้วยภาพด้านหน้า ด้านข้าง ด้านบน แสดงขนาดและหน่วยวัด เพื่อนาไปสร้างชิ้นงาน 1.3.9 ความคิดสร้างสรรค์มี 4 ลักษณะ ประกอบด้วย ความคิดริเริ่ม ความคล่องในการคิด ความยืดหยุ่นในการคิด และความคิดละเอียดลออ 1.3.10 ความคิดแปลกใหม่ที่ได้ ต้องไม่ละเมิดความคิดผู้อื่น 1.3.11 ความคิดแปลกใหม่เป็นการสร้างนวัตกรรมที่อาจนาไปสู่การจดลิขสิทธิ์ หรือสิทธิบัตร การวิเคราะห์ผลดี ผลเสีย การประเมิน และการตัดสินใจเพื่อเลือกใช้เทคโนโลยี ที่เหมาะสม 1.3..12 การเลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้อย่างสร้างสรรค์ โดยการเลือกสิ่งของ เครื่องใช้ที่เป็นมิตร กับชีวิต สังคม สิ่งแวดล้อม 1.3.13 เทคโนโลยีสะอาดเป็นการจัดการเทคโนโลยีที่ยั่งยืนแบบหนึ่ง
  • 10. 2. ความรู้เกี่ยวกับโครงงานเทคโนโลยี (Technology Project Work) โครงงานเทคโนโลยี จัดเป็นโครงงานที่เกี่ยวกับการนาความรู้ ทักษะ และทรัพยากรมาสร้าง หรือประดิษฐ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์หรือวิธีการเพื่อใช้แก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ ซึ่งอาจเป็นการสร้างหรือประดิษฐ์ของใหม่ ๆ ปรับปรุงหรือพัฒนาของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มี ประสิทธิภาพสูงขึ้น นอกจากนี้ยังรวมถึงการสร้างแบบจาลองเพื่ออธิบายวิธีการแก้ปัญหาหรือ สนองความต้องการหรือแนวความคิดต่าง ๆ โครงงานเทคโนโลยีจึงมีส่วนคล้ายกับโครงงาน ประเภทสิ่งประดิษฐ์ แต่โครงงานเทคโนโลยีมีความแตกต่างจากโครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ที่ ไม่มีการกาหนดตัวแปรที่จะศึกษา ในการดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีได้ใช้กระบวนการ เทคโนโลยีของ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งมี 7 ขั้นตอนดังนี้ 1. กาหนดปัญหาหรือความต้องการ (Identification the problem , need or preference) 2.รวบรวมข้อมูลเพื่อแสวงหาวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ (Information) 3. เลือกวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ (Selection of the best possible solution) 4. ออกแบบและปฏิบัติการ (Design and making) 5. ทดสอบ (Testing to see if it works) 6. การปรับปรุงแก้ไข (Modification and improvement) 7. ประเมินผล (Assessment)
  • 11. 1. กาหนดปัญหาหรือความต้องการ (Identification the problem , need or preference) เมื่อมนุษย์เกิดปัญหาหรือความต้องการ ขั้นแรกคือ การทาความเข้าใจปัญหานั้น ๆ อย่างละเอียด หรือกาหนดขอบเขตการแก้ปัญหา ระบุความต้องการให้ชัดเจนว่าต้องการอะไร โดยเขียนเป็น ข้อความสั้น ๆ ให้ได้ใจความชัดเจน 2. รวบรวมข้อมูลเพื่อแสวงหาวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ (Information) เมื่อกาหนดปัญหาหรือความต้องการแล้ว ขั้นตอนต่อไป คือ เก็บรวบรวมข้อมูลและความรู้ทุก ด้านที่ เกี่ยวข้องกับปัญหาหรือความต้องการเพื่อหาวิธีการที่เหมาะสมสาหรับแก้ปัญหา หรือ สนองความต้องการที่กาหนดไว้ ทาได้หลายวิธี เช่น ข้อมูลเหล่านี้จะนาไปสู่การได้วิธีการ แก้ปัญหา หรือสนองความต้องการในหลายแบบ ขั้นตอนนี้เป็น ขั้นตอนที่สาคัญมาก ซึ่งจะเป็น ช่องทางที่สามารถใส่เนื้อหาที่เราต้องการให้นักเรียนได้เรียนรู้ และถือว่าเป็นช่องทางของ การบูรณาการได้ดีที่สุด 3. เลือกวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ (Selection of the best possible solution)ในขั้นนี้ เป็นการตัดสินใจเลือกแนวคิดที่ดีที่สุดสาหรับแก้ปัญหา โดยนาข้อมูล และ ความรู้ที่รวบรวมได้ มาประกอบกันจนได้ข้อสรุปว่า จะเลือกวิธีการแก้ปัญหาหรือวิธีการสนอง ความต้องการเป็นแบบใด โดยวิธีการที่เลือกอาจยึดแนวที่ว่า เมื่อเลือกแล้วจะทาให้สิ่งนั้นดีขึ้น (Better) สะดวกสบายหรือรวดเร็วขึ้น(Faster speed) ประหยัดขึ้น (Cheaper) รวมทั้งวิธีการ เหล่านี้ จะต้องสอดคล้องกับทรัพยากร (Resource) ที่มีอยู่ 4. ออกแบบและปฏิบัติการ (Design and making) ขั้นตอนนี้ต้องการให้นักเรียนรู้จักคิด ออกแบบ ซึ่งไม่จาเป็นต้องเป็นสิ่งของเครื่องใช้เสมอไป อาจเป็น วิธีการก็ได้ และการออกแบบ ไม่จาเป็นต้องเขียนแบบเสมอไป อาจเป็นแค่ลาดับความคิด หรือจินตนาการให้เป็นขั้นตอนซึ่ง รวมปฏิบัติการลงไปด้วย นั่นคือเมื่อออกแบบแล้วต้องลงมือทา และลงมือปฏิบัติในสิ่งที่ ออกแบบไว้
  • 12. 5. ทดสอบ (Testing to see if it works) เป็นการนาสิ่งประดิษฐ์หรือวิธีการนั้นทดลองใช้เพื่อทดสอบว่าใช้งานหรือทางานได้ หรือไม่มีข้อบกพร่องอย่างไร ถ้ายังไม่ได้ก็ไปสู่ขั้นตอนต่อไป คือ ปรับปรุง แก้ไข 6. การปรับปรุงแก้ไข (Modification and improvement) หลังจากการทดสอบผลแล้ว พบว่า สิ่งประดิษฐ์ที่สร้างขึ้น หรือวิธีการที่คิดขึ้นไม่ทางานมีข้อบกพร่อง ก็ทาการปรับปรุง แก้ไข โดยอาจเลือกวิธีการใหม่ก็ได้คือย้อนไปขั้นตอนที่ 3 7. ประเมินผล (Assessment) หลังจากปรับปรุงแก้ไขจนใช้งานได้ดีตามวิธีการที่ ออกแบบแล้ว ก็นามาประเมินผลโดยรวม โดยพิจารณาดังนี้ บางกิจกรรมอาจไม่ครบทั้ง 7 ขั้นตอนก็ได้ บางกิจกรรมขั้นตอนอาจสลับกันไปบ้างก็ได้ แต่เมื่อนาไปใช้ แล้ว นักเรียนรู้จักที่จะทางานเป็นขั้นตอน เป็นระบบ ย้อนกลับมาดู หรือแก้ไข ได้ตามขั้นตอนที่ทาไปได้ 3. หลักการออกแบบผลิตภัณฑ์ ประเภทงานไม้(เครืองใช้) ่ 3.1 การสร้างเก้าอี้ 3.2 โครงสร้าง การตอกตะปู 4.ความรู้เกี่ยวกับโปรแกรม sket up auto cad 5. ความรู้เกี่ยวกับ การประดิษฐ์งานไม้ การตกแต่ง 6. ความรู้เกี่ยวกับ การเลือกใช้ไม้ 6.1 การใช้อุปรณ์ทางด้านงานช่างไม้
  • 13. บทที่ 3 การเลือกวิธีการ/กรอบแนวคิดในการดาเนินงาน ในการจัดทาโครงงานเก้าอี้เก็บรองเท้าผู้จัดทาได้มีกรอบแนวคิดหรือขั้นตอนในการ ดาเนินงานดังนี้ 3.1 กรอบแนวคิดในการทาโครงงาน (ได้ทาเป็น Flowchart ได้ดูตัวอย่าง และปรับใช้ โดยเฉพาะขั้นตอนการลงมือปฏิบัติ ได้จัดทาเพิ่มกระบวนการทางานโดยใช้ PDCA ) 3.2 การนาความรู้จากสาระต่าง ๆ มาบูรณาการในการทาโครงงานเก้าอี้เก็บรองเท้า (ได้นาเสนอเป็น Mapping เหมือนตัวอย่าง ในหนังสือการออกแบบและเทคโนโลยี)
  • 14. บทที่ 4 ผลการปฏิบัติงาน ในการดาเนินงานโครงงานเก้าอี้เก็บรองเท้าผู้จัดทาได้ดาเนินการตาม กระบวนการเทคโนโลยี 7 ขั้นตอน ของ สสวท.ดังนี้ ขั้นที่ 1 การกาหนดปัญหาและความต้องการ (Identification the problem , need or preference) ปัญหาคือการอาศัยในหอพักที่มีพื้นที่แคบและจากัดดังนั้นกลุ่มของพวกเราจึงได้คิดหา วิธีที่แก้ไขในการกาจัดปัญหาขึ้นเพื่อสามารถในไปประยุกต์ใช้ในหอพักที่มีพื้นที่จากัดได้และ ต้องการใช้พื้นที่อันจากัดของหอพักให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นและสะดวกต่อการดูแลรักษาและ จัดเก็บมากยิ่งขึ้น ขั้นตอนที่2.รวบรวมข้อมูลเพื่อแสวงหาวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ (Information) 1.จัดทาเก้าอี้เก็บรองเท้าขึ้นตามความต้องการของผู้พักอาศัยในหอ 2.จัดทาโต๊ะเคลื่อนที่สามารถเก็บรองเท้าวางหนังสือทางานต่างๆได้ 3.จัดทาตู้เสื้อผ้าที่สามารถเก็บรองเท้าเก็บของเครื่องใช้และเสื้อผ้าที่ต้องการและสามารถใช้เป็น โตะอ่านหนังสือขนาดเล็กได้โดยการเลื่อนออกมาจากด้านล่าง ขั้นตอน 3. เลือกวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ (Selection of the best possible solution) กลุ่มของผมได้เลือกที่จะทาเก้าอี้เก็บรองเท้าเพราะสามารถทาได้จริงและใช้ งบประมาณไม่มากและสามารนาไปประยุกต์ใช้ไดในที่แคบอย่างหอพักได้ดีกว่าสิ่งอื่นๆ
  • 15. ขั้นตอนที่ 4. ออกแบบและปฏิบัติการ (Design and making) โดยใช้กระบวนการ PDCA ของ Deming ดังนี้ขั้นตอนทั้ง 4 ขั้นตอนของวงจร PDCA ประกอบด้วย "การวางแผน" อย่าง รอบคอบ เพื่อ " การปฏิบัติ " อย่างค่อยเป็นค่อยไป แล้วจึง "ตรวจสอบ" ผลที่เกิดขึ้น วิธีการ ปฏิบัติใดมีประสิทธิผลที่สุด ก็จะจัดให้เป็นมาตรฐาน หากไม่สามารถบรรลุเป้าหมายได้ ก็ ต้องมองหาวิธีการปฏิบัติใหม่หรือใช้ความพยายามให้มากขึ้นกว่าเดิม ขั้นตอนการวางแผน (Plan) ในขั้น ตอนการวางแผนกลุ่มของพวกเรานั้นได้ทาการครอบคลุมถึงการกาหนดกรอบหัวข้อที่ ต้องการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ซึ่งรวมถึงการพัฒนาสิ่งใหม่ ๆ การแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการ ปฏิบัติงาน ฯลฯ พร้อมกับพิจารณาว่ามีความจาเป็นต้องใช้ข้อมูลใดบ้างเพื่อการปรับปรุง เปลี่ยน แปลงนั้น โดยระบุวิธีการเก็บข้อมูลให้ชัดเจน นอกจากนี้ จะต้องวิเคราะห์ข้อมูลที่ รวบรวมได้ แล้วกาหนดทางเลือกในการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงดังกล่าวการวางแผนยังช่วยให้ เราสามารถคาดการณ์สิ่งที่เกิดขึ้นในอนาคต และช่วยลดความสูญเสียต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้ ทั้งในด้านแรงงาน วัตถุดิบ ชั่วโมงการทางาน เงิน เวลา ฯลฯ โดยสรุปแล้ว การวางแผนช่วย ให้รับรู้สภาพปัจจุบัน พร้อมกับกาหนดสภาพที่ต้องการให้เกิดขึ้นในอนาคต ด้วยการผสาน ประสบการณ์ ความรู้ และทักษะอย่างลงตัว ซึ่งกลุ่มของพวกเรานั้นได้ทาการวางแผนโดยให้ สามาชิกทุกคนปรึกษากันว่าจะทาอย่างไรบ้างและตกลงเลือกวิธีที่ดีที่สุดในการปฏิบัติโดยได้ จัดทา plan แบบก้างปลา และ mapping ขึ้น ขั้นตอนการปฏิบัติ (DO) ในขั้นตอนปฏิบัตินั้นกลุ่มของผมได้จัดการลงมือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตามทางเลือกที่ได้ กาหนดไว้ในขั้นตอนการ วางแผน ในขั้นนี้ต้องตรวจสอบระหว่างการปฏิบัติด้วยว่าได้ดาเนิน ไปในทิศทางที่ตั้งใจ หรือไม่ พร้อมกับสื่อสารให้ผู้ที่เกี่ยวข้องรับทราบด้วย เราไม่ควรปล่อย ให้ถึงวินาทีสุดท้ายเพื่อดูความคืบหน้าที่เกิดขึ้น และตรวจสอบให้แน่ นอน เพื่อจะได้มั่นใจว่า การปฏิบัติของกลุ่มเรานั้นได้ทาการปรับปรุงเพื่อให้เกิดความผิดพลาดน้อยที่สุด
  • 16. ขันตอนการตรวจสอบ (Check) ้ ในขั้นตอนการตรวจสอบกลุ่มของพวกผมได้จัดทาการประเมินผลที่ได้รับจากการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง การตรวจสอบทาให้เราทราบว่าการปฏิบัติใน ขั้นที่สองสามารถบรรลุเป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์ที่ได้กาหนดไว้ ขั้นตอนการดาเนินงานให้เหมาะสม (Act) ในขั้นตอนนี้กลุ่มของพวกเราได้ ดาเนินงานให้เหมาะสมและพิจารณาผลที่ได้จากการตรวจสอบ ซึ่งมีอยู่ 2 กรณี คือ ผลที่เกิดขึ้นเป็นไปตามแผนที่วางไว้ หรือไม่เป็นไปตามแผนที่วางไว้ หาก เป็นกรณีแรก ก็ให้นาแนวทางหรือกระบวนการปฏิบัตินั้นมาจัดทาให้เป็นมาตรฐาน พร้อมทั้งหา วิธีการทีจะปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้นไปอีก ซึ่งอาจหมายถึงสามารถบรรลุเป้าหมายได้เร็วกว่าเดิม หรือ ่ เสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าเดิม หรือทาให้คุณภาพดียิ่งขึ้นก็ได้แต่ถ้าหากเป็นกรณีที่สอง ซึ่งก็คือผลที่ ได้ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ตามแผนที่วางไว้ เราควรนาข้อมูลที่รวบรวมไว้มาวิเคราะห์ และ พิจารณาว่าควรจะดาเนินการอย่างไรต่อไปนี้ 1.ได้มองหาทางเลือกใหม่ที่น่าจะเป็นไปได้ 2.ได้ใช้ความพยายามให้มากขึ้นกว่าเดิม 3.ได้ขอความช่วยเหลือจากผู้รู้
  • 17. คาศัพท์เฉพาะ Specific - เฉพาะเจาะจง มีความชัดเจน Measurable - สามารถวัดและประเมินผลได้ Acceptable - เป็นที่ยอมรับได้ของผู้ปฏิบัติ Realistic - ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความเป็นจริง Time Frame - มีกรอบเวลากาหนด Extending - ท้าทาย และเพิ่มศักยภาพของผู้ปฏิบัติ Rewarding - คุ้มค่ากับการปฏิบัติครับ ขั้นตอนที่ 6. การปรับปรุงแก้ไข (Modification and improvement) ในขั้นตอนนี้กลุ่มของผมได้ปรับปรุงแก้ไขโดยจัดทาแผนการปรับปรุงโดยการทาให้ละเอียดและ แข็งแรงทดทานมากขึ้นโดยการขอคาปรึกษาจากผู้ที่มีประสบการณ์และความรู้ใรด้านงานไม้ ขั้นตอนที่ 7. ประเมินผล (Assessment) ประเมินผลโดยการให้ผู้ปฏิบัติและเพื่อนๆลองทดสอบด้วยการนั่ง ดูการรับน้าหนักขณะที่เท้า ลอยจากพื้นเพื่อทดสอบความแข็งแรงทนทานต่อการรองรับน้าหนักและทดลองใส่รองเท้าดูว่า จะสามารถจัดเก็บรองเท้าขนาดไหนได้บ้าง
  • 18. บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ให้เขียนนาเสนอดังนี้ 1. สรุปผลการดาเนินงาน ในขั้นที่ 1 การกาหนดปัญหาและความต้องการ (Identification the problem , need or preference)ปัญหาคือการอาศัยในหอพักที่มีพื้นที่แคบและจากัดดังนั้นกลุ่มของ พวกเราจึงได้คิดหาวิธีที่แก้ไขในการกาจัดปัญหาขึ้นเพื่อสามารถในไปประยุกต์ใช้ใน หอพักที่มีพื้นที่ ขั้นตอนที่2.รวบรวมข้อมูลเพื่อแสวงหาวิธีการแก้ปัญหาหรือสนอง ความต้องการ (Information)จัดทาเก้าอี้เก็บรองเท้าขึ้นตามความต้องการของผู้พัก อาศัยในหอ ขั้นตอน 3. เลือกวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ (Selection of the best possible solution) กลุ่มของผมได้เลือกที่จะทาเก้าอี้เก็บรองเท้าเพราะ สามารถทาได้จริงขั้นตอนที่ 4. ออกแบบและปฏิบัติการ (Design and making) โดย ใช้กระบวนการ PDCA ของ Deming ขั้นตอนการวางแผน (Plan) ในขั้น ตอนการวางแผนกลุ่มของพวกเรานั้นได้ทาการครอบคลุมถึงการกาหนด กรอบหัวข้อที่ต้องการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ซึ่งรวมถึงการพัฒนาสิ่งใหม่ ขั้นตอน การปฏิบัติ (DO)ในขั้นตอนปฏิบัตินั้นกลุ่มของผมได้จัดการลงมือปรับปรุง เปลี่ยนแปลงตามทางเลือกที่ได้กาหนดไว้ในขั้นตอนการ วางแผน ขั้นตอนการตรวจสอบ (Check)ในขั้นตอนการตรวจสอบกลุ่มของพวกผมได้จัดทา การประเมินผลที่ได้รับจากการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง การตรวจสอบทาให้เราทราบ ว่าการปฏิบัติใน ขั้นที่สองสามารถบรรลุเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่ได้กาหนดไว้ ขั้นตอนการดาเนินงานให้เหมาะสม (Act)ในขั้นตอนนี้กลุ่มของพวกเราได้ ดาเนินงานให้เหมาะสมและพิจารณาผลที่ได้จากการตรวจสอบ ปรับปรุงให้ดี ยิ่งขึ้นไปอีก ซึ่งอาจหมายถึงสามารถบรรลุเป้าหมายได้เร็ว
  • 19. อภิปรายผล จากการที่ไก้ทาโครงงานนี้กลุ่มของพวกเราได้ผลเป็นที่น่าพอใจจากการทางาน กลุ่มนี้พวกเราเห็นว่าการที่ได้ประดิษฐ์เก้าอี้ใส่รองเม้าของพวกเรานั้นจะทาให้พวก เรานาไปใช้ในชีวิตจริงและก่อนประโยชน์ได้อย่างเต็มที่ทั้งในการที่เราได้วางแผนไว้ หรือนอกจากนั้นยังสามารถนาไปต่อยอดขึ้นไปได้อีกด้วยจากผลที่งานที่ได้ปฏิบัติ นั้นทาให้กลุ่มของพวกเราได้รับความรู้ความเข้าใจและสามารถนาไปปฏิบัติ ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้อีกด้วย ข้อเสนอแนะ 1.ได้เสนอแนะให้มีการปรึกษากันเพื่อหาข้อปรึกษาที่ดีในการทางานกลุ่ม 2.ได้เสนอแนะให้มีการทา mapping เพื่อช่วยในการวางแผนงานที่ดีขึ้น 3.ได้เสนอแนะให้มีการถามผู้รู้ผู้ที่มีความเข้าใจในงานด้านไม้ 4.ได้เสนอแนะให้มีการสอบถามรอคาไม้ที่จะนามาใช้เป็นอุปรณ์ในการประดิษฐ์
  • 20. บรรณานุกรม พื้นฐานงานช่างไม้(ออนไลน์). แหล่งที่มา: http://www.thaiwoodcentral.com/cgi-sys/suspendedpage.cgi วันที่ 18 มกราคม 2556 เก้าอี(ออนไลน์). แหล่งที่มา: http://www.thaiblogonline.com/loveamakmay.blog?PostID=23340 ้ วันที่ 18 มกราคม 2556 วิธีการทาเก้าอี้และโต๊ะ http://www.thaicarpenter.com/รวมวิดีโอ-เกี่ยวกับงานไม้/วิธีการทาโต๊ะและเก้าอี้ สืบค้นข้อมูลวันที่ 18 มกราคม 2556 10 ไอเดีย ที่เก็บรองเท้า ประยุกต์ใช้เอง จัดวางให้เป็นระเบียบ http://www.banidea.com/10-ideas-for- shoe-store/ สืบค้นข้อมูลวันที่ 18 มกราคม 2556