SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  4
Télécharger pour lire hors ligne
เป็นโครงงานใช้คอมพิวเตอร์ในการจาลองการทดลองของสาขาต่าง ๆ เป็นโครงงานที่ผู้ทา
ต้องศึกษารวบรวมความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริงและแนวความคิดต่าง ๆ อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่
ต้องการศึกษา แล้วเสนอเป็นแนวคิด แบบจาลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสมการ สูตร หรือ
คาอธิบายก็ได้ พร้อมทั้งนาเสนอวิธีการจาลองทฤษฎีด้วยคอมพิวเตอร์ การทาโครงงานประเภท
นี้มีจุดสาคัญอยู่ที่ผู้ทาต้องมีความรู้เรื่องนั้น ๆ เป็นอย่างดี ตัวอย่าง เช่น การทดลองเรื่องการไหล
ของเหลว การทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาอโรวาน่า ทฤษฎีการแบ่งแยกดีเอ็นเอ เป็นต้น
ชื่อโครงงาน การศึกษาการผลิตกระดาษหนัง(Parchment) จากพืชท้องถิ่น โดยAcetobacter
xylinum
ชื่อผู้ทาโครงงาน เด็กหญิงรัชมังคลา ผลค้า, เด็กหญิงภัทรสุดา ฉายาภักดี ,เด็กหญิงอภิลักษมี ศรี
ไพรวรรณ
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา นางพัชรินทร์ รุ่งรัศมี
สถาบันการศึกษา โรงเรียนสารคามพิทยาคม จังหวัดมหาสารคาม
ระดับชั้น อื่นๆ
หมวดวิชา คอมพิวเตอร์
วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน 1/1/2541
บทคัดย่อ การศึกษาการผลิตกระดาษหนัง (Parchment) จากพืชท้องถิ่น โดย Acetobacter
xylinum ในนาพืชท้องถิ่นทั้ง 11 ชนิด เพื่อเป็นการนาเอาพืชที่มีอยู่ในท้องถิ่นซึ่งหา
ง่าย และราคาแพงมาดัดแปลงให้เกิดมูลค่า ในการทดลองครั้งนี้ได้นาAcetobacter
xylinumที่มีอยู่ในห้องปฏิบัติการทาการเลี้ยงและแยกเชื้อให้บริสุทธิ์เพื่อที่จะเก็บไว้
1
เป็นหัวเชื้อในการทากระดาษหนัง(Parchment) ตลอดจนศึกษาระดับpH และ
ความหวานของพืชแต่ละชนิดก่อนที่จะนามาทาอาหารเลี้ยงเชื้อ โดยผลการศึกษา
แบ่งออกเป็น ดังนี้ ตอน1การศึกษาระดับ pH และความหวานของพืช
ท้องถิ่น 11 ชนิด พืชที่มีระดับ pH สูงสุด คือ ผักโขม รองลงมาคือ แห้วหมูและ
ต่าสุดคือ น้าลูกเม่า เท่ากับ 6.73 6.68 3.32 ตามลาดับ ส่วนความหวานพบว่าพืชที่มี
ความหวานสูงสุดคือ สับปะรด แตงโม ต่าสุดคือ แห้วหมู เท่ากับ11 Brix 8 Brix
0.4 Brixตามลาดับ จากนั้นทากรปรับระดับpH ของพืชให้อยู่ที่ 3.5 – 4.5 และความ
หวานให้อยู่ในระดับ11 Brix - 12 Brix
ก่อนที่จะนามาทาอาหารเลี้ยงเชื้อ ตอน2 การศึกษาการสร้างผลผลิต
ของ Acetobacter xylinum ในระยะเวลา 5 , 10 , 15 วัน ซึ่งจากการทดลองในพืช
ทั้ง 11 ชนิด ภายในเวลา5 วัน พบว่าพืชที่ให้ผลผลิตสูงสุด คือ กะพังโหม รองลงมา
คือ แตงโม มีความหนาเท่ากับ0.9 cm 0.7 cm และพืชที่ให้ผลผลิตต่าที่สุด คือ ผัก
โขมและแห้วหมู มีความหนาเท่ากัน คือ0.1 cm เมื่อเลี้ยงภายในเวลา 10 วัน พบว่า
พืชที่ให้ผลผลิตสูงสุดคือ กะพังโหม รองลงมาคือ แตงโม และพืชที่ให้ผลผลติ
ต่าสุดคือ ย่านาง เท่ากับ 1.1 cm 0.9 cm 0.2 cmตามลาดับ และเมื่อเลี้ยง
ภายใน 15 วัน พบว่าพืชที่ให้ผลผลิตสูงสุดคือ กะพังโหม รองลงมาคือ แตงโม และ
พืชที่ให้ผลผลิตต่าสุดคือ ย่านาง มีความหนาเท่ากับ1.5 cm 1.2 cmและ 0.2
cm ตามลาดับ
จากนั้นนาผลผลติที่ได้ไปทดสอบว่าเป็นคาร์โบไฮเดรตประเภทแป้งหรือเซลลูโลส
โดยวิธีการทดสอบด้วยสารละลายไอโอดีนและสารละลายเบเนดิกส์ โดยนาผลผล
ติที่ได้ไปปั่นด้วยเครื่องปั่นไฟฟ้า และแบ่งชุดทดลองออกเป็นสองชุด ให้ชุด
ทดลองที่1 นาไปหยดด้วยสารละลายไอโอดีนไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงแสดงว่า
ผลผลิตที่ได้นี้ไม่ใช่คาร์โบไฮเดรตประเภทแป้ง ส่วนในชุดทดลองที่2 นาผลผลิตที่
ปั่นด้วยเครื่องปั่นไฟฟ้าแล้ว ไปต้มกับกรดซัลฟัวริก แล้วนาสารละลายเบเนดิกส์มา
หยด จะเกิดตะกอนสีแดงอิฐ จึงสามารถสรุปได้ว่าเป็นคาร์โบไฮเดรตประเภท
เซลลูโลส
เลข
ทะเบียน
คง 2543 ต002
โรงเรียน โรงเรียนจิรประวัติวิทยาคม อาเภอเมือง นครสวรรค์2543
เกียรติบัตร ม.ต้น ชนะการประกวดรางวัลที่ 2 กาหนดหัวข้อ ภาคเหนือตอนล่าง
ชื่อเรื่อง A MAGIC SWITCH
2
จานวนหน้า 23 หน้า ภาพประกอบ
สาระสังเขป โครงงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสวิทซ์ไฟฟ้าที่สามารถเปิดปิดไฟได้โดยอัตโนมัติ เมื่อไม่มีคนอยู่
อุปกรณ์ที่ใช้ได้แก่ เครื่องวัดระดับเสียง วงจรสวิทซ์แสง วิธีดาเนินการทดลองคือ ทาการวัดระดับความดัง
ของเสียงในขณะที่มีคนอยู่ในห้องและไม่มีคนอยู่ บันทึก ไว้ต่อมาเปรียบเทียบแรงไฟและแสงสว่างระหว่าง
เวลากลางวันและกลางคืน ทาการบันทึก แล้วนาความแตกต่างของเสียงและแสงสว่างที่วัดได้ไปตั้งค่ากับ
เครื่องมือ เชื่อมต่อกับปลั๊กไฟฟ้าที่ทาการจ่ายกระแสไฟให้กับหลอดไฟ จากผลการทดลองพบว่า เครื่องมือ
ดังกล่าวสามารถทางานได้ดี คือเมื่อห้องว่างไม่มีนักเรียนอยู่ในห้อง เครื่องมือจะทาการดับไฟ และไม่มีเสียง
ดังเกินค่าที่ตั้งไว้ เครื่องมือก็จะทาการปิดไฟได้อย่างถูกต้อง โดยอาจมีความผิดพลาดบ้างเมื่อมีเสียงออด
ระหว่างคาบเรียน
หัวเรื่อง สวิทซ์
ไฟฟ้า
3
วัตถุประสงค์
1.เพื่อศึกษาการแทรกสอดของแสง และใช้ผลนี้คานวณหาค่ารัศมีความโค้งของเลนส์
2.การที่วัตถุโปร่งแสงซึ่งบางมากปรากฎมีสีเหลือบต่างๆ คล้ายสีรุ้ง และเปลี่ยนลวดลายไปแล้วแต่มุมที่
มองดังเช่นที่เป็นกับฟิล์มน้ามันบางๆบนพื้น ถนน ที่เปียก หรือกับปีกแมลงบางๆ หรือกับฟองสบู่เป็น
ตัวอย่างของปรากฎการณ์ที่มาจากต้นตอเดียวกันทั้งสิ้น ต้นตอนี้เราเรียกกันในชื่อ การแทรกสอด
(Interference) ของแสง
ในการทดลองนี้ เราจะศึกษาปรากฎการณ์ดังกล่าวเฉพาะอันหนึ่งซึ่ง Sir Isaac Newton เป็นผู้ค้นพบ
และรู้จักต่อมาในชื่อ วงแหวนของนิวตัน (Newton's Ring)
 http://www.acr.ac.th/acr/ACR_E-Learning/CAREER_COMPUTER/COMPUTER
/M4/ComputerProject/content1.html
 http://www.vcharkarn.com/project/view/600
 http://toffykz.blogspot.com/2012/08/6.html
 http://www.krumontree.com/cyberlab/newton_ring/newton_ring.html
4
5

Contenu connexe

Tendances

ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6Noon Pattira
 
ใบงานที่6
ใบงานที่6ใบงานที่6
ใบงานที่6Yokyok' Nnp
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีkimaira99
 
ใบงานที่6
ใบงานที่6ใบงานที่6
ใบงานที่6Intangible Mz
 
ใบงานที่6
ใบงานที่6ใบงานที่6
ใบงานที่6Yokyok' Nnp
 
การทดลองทฤษฎี
การทดลองทฤษฎีการทดลองทฤษฎี
การทดลองทฤษฎีdgnjamez
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภทPermtrakul Khammoon
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6Alee Instance
 
ใบงานที่ 13
ใบงานที่ 13ใบงานที่ 13
ใบงานที่ 13Lift Ohm'
 
ใบงานท 6 การทดลองทฤษฎ_
ใบงานท   6 การทดลองทฤษฎ_ใบงานท   6 การทดลองทฤษฎ_
ใบงานท 6 การทดลองทฤษฎ_Man-ngub Thanasak Inchai
 
ใบงานที่6
ใบงานที่6ใบงานที่6
ใบงานที่6Noot Ting Tong
 

Tendances (16)

ใบงาน6
ใบงาน6ใบงาน6
ใบงาน6
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6
 
ใบงาน6
ใบงาน6ใบงาน6
ใบงาน6
 
ใบงานที่6
ใบงานที่6ใบงานที่6
ใบงานที่6
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6
 
ใบงานที่ 6 โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 โครงงานประเภทใบงานที่ 6 โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 โครงงานประเภท
 
K6
K6K6
K6
 
ใบงานที่6
ใบงานที่6ใบงานที่6
ใบงานที่6
 
ใบงานที่6
ใบงานที่6ใบงานที่6
ใบงานที่6
 
การทดลองทฤษฎี
การทดลองทฤษฎีการทดลองทฤษฎี
การทดลองทฤษฎี
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6
 
ใบงานที่ 13
ใบงานที่ 13ใบงานที่ 13
ใบงานที่ 13
 
ใบงานท 6 การทดลองทฤษฎ_
ใบงานท   6 การทดลองทฤษฎ_ใบงานท   6 การทดลองทฤษฎ_
ใบงานท 6 การทดลองทฤษฎ_
 
ใบงานที่6
ใบงานที่6ใบงานที่6
ใบงานที่6
 

Similaire à ใบงานที่6

Similaire à ใบงานที่6 (20)

ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
 
ใบงาน6
ใบงาน6ใบงาน6
ใบงาน6
 
ใบงาน6
ใบงาน6ใบงาน6
ใบงาน6
 
ใบงานท 6 การทดลองทฤษฎ_
ใบงานท   6 การทดลองทฤษฎ_ใบงานท   6 การทดลองทฤษฎ_
ใบงานท 6 การทดลองทฤษฎ_
 
K6
K6K6
K6
 
K6 (1)
K6 (1)K6 (1)
K6 (1)
 
K6222
K6222K6222
K6222
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6
 
K6 2
K6 2K6 2
K6 2
 
K6
K6K6
K6
 
K6 2
K6 2K6 2
K6 2
 
K6
K6K6
K6
 
K6
K6K6
K6
 
K6 2
K6 2K6 2
K6 2
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6
 
ใบงานที่6
ใบงานที่6ใบงานที่6
ใบงานที่6
 
ใบงานที่6
ใบงานที่6ใบงานที่6
ใบงานที่6
 
ใบงานที่6..
ใบงานที่6..ใบงานที่6..
ใบงานที่6..
 
ใบงานที่6
ใบงานที่6ใบงานที่6
ใบงานที่6
 

Plus de Papam_Virinrda

ใบงานที่8
ใบงานที่8ใบงานที่8
ใบงานที่8Papam_Virinrda
 
ใบงานที่7
ใบงานที่7ใบงานที่7
ใบงานที่7Papam_Virinrda
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5Papam_Virinrda
 
ใบงานที่4
ใบงานที่4ใบงานที่4
ใบงานที่4Papam_Virinrda
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3Papam_Virinrda
 
Blog 140627022109-phpapp01
Blog 140627022109-phpapp01Blog 140627022109-phpapp01
Blog 140627022109-phpapp01Papam_Virinrda
 
Correction onet m6_thai_53
Correction onet m6_thai_53Correction onet m6_thai_53
Correction onet m6_thai_53Papam_Virinrda
 
Correction onet m6_social_53
Correction onet m6_social_53Correction onet m6_social_53
Correction onet m6_social_53Papam_Virinrda
 
Key onet eng math m6 54
Key onet eng math m6 54Key onet eng math m6 54
Key onet eng math m6 54Papam_Virinrda
 
Pat 2 54 (ครั้งที่ 1)
Pat 2 54 (ครั้งที่ 1)Pat 2 54 (ครั้งที่ 1)
Pat 2 54 (ครั้งที่ 1)Papam_Virinrda
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)
ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)
ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)Papam_Virinrda
 

Plus de Papam_Virinrda (17)

Emotion604
Emotion604Emotion604
Emotion604
 
ใบงานที่8
ใบงานที่8ใบงานที่8
ใบงานที่8
 
ใบงานที่7
ใบงานที่7ใบงานที่7
ใบงานที่7
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5
 
ใบงานที่4
ใบงานที่4ใบงานที่4
ใบงานที่4
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
 
Blog 140627022109-phpapp01
Blog 140627022109-phpapp01Blog 140627022109-phpapp01
Blog 140627022109-phpapp01
 
Correction onet m6_thai_53
Correction onet m6_thai_53Correction onet m6_thai_53
Correction onet m6_thai_53
 
M6thai54
M6thai54M6thai54
M6thai54
 
Correction onet m6_social_53
Correction onet m6_social_53Correction onet m6_social_53
Correction onet m6_social_53
 
M6social54
M6social54M6social54
M6social54
 
Key onet eng math m6 54
Key onet eng math m6 54Key onet eng math m6 54
Key onet eng math m6 54
 
O-NET M.6 54
O-NET M.6 54O-NET M.6 54
O-NET M.6 54
 
Keygatpat541
Keygatpat541Keygatpat541
Keygatpat541
 
Pat 2 54 (ครั้งที่ 1)
Pat 2 54 (ครั้งที่ 1)Pat 2 54 (ครั้งที่ 1)
Pat 2 54 (ครั้งที่ 1)
 
Pat157
Pat157Pat157
Pat157
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)
ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)
ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)
 

ใบงานที่6

  • 1. เป็นโครงงานใช้คอมพิวเตอร์ในการจาลองการทดลองของสาขาต่าง ๆ เป็นโครงงานที่ผู้ทา ต้องศึกษารวบรวมความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริงและแนวความคิดต่าง ๆ อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่ ต้องการศึกษา แล้วเสนอเป็นแนวคิด แบบจาลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสมการ สูตร หรือ คาอธิบายก็ได้ พร้อมทั้งนาเสนอวิธีการจาลองทฤษฎีด้วยคอมพิวเตอร์ การทาโครงงานประเภท นี้มีจุดสาคัญอยู่ที่ผู้ทาต้องมีความรู้เรื่องนั้น ๆ เป็นอย่างดี ตัวอย่าง เช่น การทดลองเรื่องการไหล ของเหลว การทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาอโรวาน่า ทฤษฎีการแบ่งแยกดีเอ็นเอ เป็นต้น ชื่อโครงงาน การศึกษาการผลิตกระดาษหนัง(Parchment) จากพืชท้องถิ่น โดยAcetobacter xylinum ชื่อผู้ทาโครงงาน เด็กหญิงรัชมังคลา ผลค้า, เด็กหญิงภัทรสุดา ฉายาภักดี ,เด็กหญิงอภิลักษมี ศรี ไพรวรรณ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา นางพัชรินทร์ รุ่งรัศมี สถาบันการศึกษา โรงเรียนสารคามพิทยาคม จังหวัดมหาสารคาม ระดับชั้น อื่นๆ หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน 1/1/2541 บทคัดย่อ การศึกษาการผลิตกระดาษหนัง (Parchment) จากพืชท้องถิ่น โดย Acetobacter xylinum ในนาพืชท้องถิ่นทั้ง 11 ชนิด เพื่อเป็นการนาเอาพืชที่มีอยู่ในท้องถิ่นซึ่งหา ง่าย และราคาแพงมาดัดแปลงให้เกิดมูลค่า ในการทดลองครั้งนี้ได้นาAcetobacter xylinumที่มีอยู่ในห้องปฏิบัติการทาการเลี้ยงและแยกเชื้อให้บริสุทธิ์เพื่อที่จะเก็บไว้ 1
  • 2. เป็นหัวเชื้อในการทากระดาษหนัง(Parchment) ตลอดจนศึกษาระดับpH และ ความหวานของพืชแต่ละชนิดก่อนที่จะนามาทาอาหารเลี้ยงเชื้อ โดยผลการศึกษา แบ่งออกเป็น ดังนี้ ตอน1การศึกษาระดับ pH และความหวานของพืช ท้องถิ่น 11 ชนิด พืชที่มีระดับ pH สูงสุด คือ ผักโขม รองลงมาคือ แห้วหมูและ ต่าสุดคือ น้าลูกเม่า เท่ากับ 6.73 6.68 3.32 ตามลาดับ ส่วนความหวานพบว่าพืชที่มี ความหวานสูงสุดคือ สับปะรด แตงโม ต่าสุดคือ แห้วหมู เท่ากับ11 Brix 8 Brix 0.4 Brixตามลาดับ จากนั้นทากรปรับระดับpH ของพืชให้อยู่ที่ 3.5 – 4.5 และความ หวานให้อยู่ในระดับ11 Brix - 12 Brix ก่อนที่จะนามาทาอาหารเลี้ยงเชื้อ ตอน2 การศึกษาการสร้างผลผลิต ของ Acetobacter xylinum ในระยะเวลา 5 , 10 , 15 วัน ซึ่งจากการทดลองในพืช ทั้ง 11 ชนิด ภายในเวลา5 วัน พบว่าพืชที่ให้ผลผลิตสูงสุด คือ กะพังโหม รองลงมา คือ แตงโม มีความหนาเท่ากับ0.9 cm 0.7 cm และพืชที่ให้ผลผลิตต่าที่สุด คือ ผัก โขมและแห้วหมู มีความหนาเท่ากัน คือ0.1 cm เมื่อเลี้ยงภายในเวลา 10 วัน พบว่า พืชที่ให้ผลผลิตสูงสุดคือ กะพังโหม รองลงมาคือ แตงโม และพืชที่ให้ผลผลติ ต่าสุดคือ ย่านาง เท่ากับ 1.1 cm 0.9 cm 0.2 cmตามลาดับ และเมื่อเลี้ยง ภายใน 15 วัน พบว่าพืชที่ให้ผลผลิตสูงสุดคือ กะพังโหม รองลงมาคือ แตงโม และ พืชที่ให้ผลผลิตต่าสุดคือ ย่านาง มีความหนาเท่ากับ1.5 cm 1.2 cmและ 0.2 cm ตามลาดับ จากนั้นนาผลผลติที่ได้ไปทดสอบว่าเป็นคาร์โบไฮเดรตประเภทแป้งหรือเซลลูโลส โดยวิธีการทดสอบด้วยสารละลายไอโอดีนและสารละลายเบเนดิกส์ โดยนาผลผล ติที่ได้ไปปั่นด้วยเครื่องปั่นไฟฟ้า และแบ่งชุดทดลองออกเป็นสองชุด ให้ชุด ทดลองที่1 นาไปหยดด้วยสารละลายไอโอดีนไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงแสดงว่า ผลผลิตที่ได้นี้ไม่ใช่คาร์โบไฮเดรตประเภทแป้ง ส่วนในชุดทดลองที่2 นาผลผลิตที่ ปั่นด้วยเครื่องปั่นไฟฟ้าแล้ว ไปต้มกับกรดซัลฟัวริก แล้วนาสารละลายเบเนดิกส์มา หยด จะเกิดตะกอนสีแดงอิฐ จึงสามารถสรุปได้ว่าเป็นคาร์โบไฮเดรตประเภท เซลลูโลส เลข ทะเบียน คง 2543 ต002 โรงเรียน โรงเรียนจิรประวัติวิทยาคม อาเภอเมือง นครสวรรค์2543 เกียรติบัตร ม.ต้น ชนะการประกวดรางวัลที่ 2 กาหนดหัวข้อ ภาคเหนือตอนล่าง ชื่อเรื่อง A MAGIC SWITCH 2
  • 3. จานวนหน้า 23 หน้า ภาพประกอบ สาระสังเขป โครงงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสวิทซ์ไฟฟ้าที่สามารถเปิดปิดไฟได้โดยอัตโนมัติ เมื่อไม่มีคนอยู่ อุปกรณ์ที่ใช้ได้แก่ เครื่องวัดระดับเสียง วงจรสวิทซ์แสง วิธีดาเนินการทดลองคือ ทาการวัดระดับความดัง ของเสียงในขณะที่มีคนอยู่ในห้องและไม่มีคนอยู่ บันทึก ไว้ต่อมาเปรียบเทียบแรงไฟและแสงสว่างระหว่าง เวลากลางวันและกลางคืน ทาการบันทึก แล้วนาความแตกต่างของเสียงและแสงสว่างที่วัดได้ไปตั้งค่ากับ เครื่องมือ เชื่อมต่อกับปลั๊กไฟฟ้าที่ทาการจ่ายกระแสไฟให้กับหลอดไฟ จากผลการทดลองพบว่า เครื่องมือ ดังกล่าวสามารถทางานได้ดี คือเมื่อห้องว่างไม่มีนักเรียนอยู่ในห้อง เครื่องมือจะทาการดับไฟ และไม่มีเสียง ดังเกินค่าที่ตั้งไว้ เครื่องมือก็จะทาการปิดไฟได้อย่างถูกต้อง โดยอาจมีความผิดพลาดบ้างเมื่อมีเสียงออด ระหว่างคาบเรียน หัวเรื่อง สวิทซ์ ไฟฟ้า 3 วัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาการแทรกสอดของแสง และใช้ผลนี้คานวณหาค่ารัศมีความโค้งของเลนส์ 2.การที่วัตถุโปร่งแสงซึ่งบางมากปรากฎมีสีเหลือบต่างๆ คล้ายสีรุ้ง และเปลี่ยนลวดลายไปแล้วแต่มุมที่ มองดังเช่นที่เป็นกับฟิล์มน้ามันบางๆบนพื้น ถนน ที่เปียก หรือกับปีกแมลงบางๆ หรือกับฟองสบู่เป็น ตัวอย่างของปรากฎการณ์ที่มาจากต้นตอเดียวกันทั้งสิ้น ต้นตอนี้เราเรียกกันในชื่อ การแทรกสอด (Interference) ของแสง ในการทดลองนี้ เราจะศึกษาปรากฎการณ์ดังกล่าวเฉพาะอันหนึ่งซึ่ง Sir Isaac Newton เป็นผู้ค้นพบ และรู้จักต่อมาในชื่อ วงแหวนของนิวตัน (Newton's Ring)
  • 4.  http://www.acr.ac.th/acr/ACR_E-Learning/CAREER_COMPUTER/COMPUTER /M4/ComputerProject/content1.html  http://www.vcharkarn.com/project/view/600  http://toffykz.blogspot.com/2012/08/6.html  http://www.krumontree.com/cyberlab/newton_ring/newton_ring.html 4 5