SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  46
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ใบโบก ใบบัว
จำานวน ๑๘ ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ อ่าน คิด เขียน เรียนดี
เวลา ๓ ชั่วโมง
สอนวันที่...............เดือน...........................พ.ศ...................จาก
เวลา...............ถึงเวลา..............
ชื่อครูผู้ออกแบบกิจกรรม นายสำาลี รักสุทธี
มาตรฐาน ท๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้ และความ
คิดเพื่อนำาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำาเนินชีวิตและมี
นิสัยรักการอ่าน
ตัวชี้วัด
๑. อ่านออกเสียงคำา คำาคล้องจอง และข้อความสั้นๆ
๒. ตอบคำาถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียน
เรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราว ในรูปแบบต่างๆ
เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้า
อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด
๑.คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ
และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึกในโอกาสต่างๆ
อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
ตัวชี้วัด
๑.ฟังคำาแนะนำา คำาสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม
๒.ตอบคำาถามและเล่าเรื่องที่ฟังและดู ทั้งที่เป็นความรู้และความ
บันเทิง
๓.พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษา
ไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา
ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของ
ชาติ
ตัวชี้วัด
๑.บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย
๒.เขียนสะกดคำาและบอกความหมาย ของคำา
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์
วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็น
คุณค่าและนำามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
๑. บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อย
แก้วและร้อยกรองสำาหรับเด็ก
สาระการเรียนรู้หลัก ( Concepts) แผนฯที่ ๒ “อ่าน คิด
เขียน เรียนดี” เวลา ๓ ชั่วโมง
๑.อ่านออก
เสียง เรื่อง
ใบโบก ใบ
บัว
๒. -อ่านคล่อง
ร้องเพลง
-อ่านคำาที่มีสระ อี
๕. พูดแสดง
ความคิดเห็น
-เขียนตามคำา
บอก
๔. ฟังคำา
แนะนำาจากครู
-ฟังคำาสนทนา
กับเพื่อน
๖. ทาย
ปริศนา
คำาทาย
เกี่ยวกับ
ช้าง
๓. คัดลายมือ
เขียนแจกลูก
สะกดคำาที่มีสระ
อี
อ่าน คิด
เขียน
เรียนดี
เป้าหมายการเรียนรู้
๑. ความรู้ที่คงทน
๑.๑ อ่านพยัญชนะและสระที่กำาหนด
๑.๒ อ่านและเขียนพยัญชนะอักษรกลาง ข ห ง ม และ
สระ อี
๑.๓ อ่านและเขียนคำาที่ประสมสระ อี
๑.๔ อ่านและเขียนแจกลูกสะกดคำา คำาที่มีสระ อี
๒. ความรู้ทักษะเฉพาะวิชา
๒.๑ อ่านและเขียนพยัญชนะอักษรกลาง ข ห ง ม และ
สระ อี
๒.๒ อ่านและเขียนคำาที่ประสมสระ อี
๒.๓ อ่านและเขียนแจกลูกสะกดคำา คำาที่มีสระ อี
ทักษะคร่อมวิชา
๓.๑ เล่นปริศนาคำาทาย
๓.๒ ร้องเพลงสระ อี
๔. คุณลักษณะ
๔.๑ ใฝ่เรียนใฝ่รู้ ๔.๒ ความรับผิดชอบ
๔.๓ ขยัน ประหยัดซื่อสัตย์ มีวินัย สุภาพ สะอาด
สามัคคี มีนำ้าใจ และกตัญญู
๔.๔ มีนิสัยรักการอ่าน
ภาระงาน/วิธีการประเมินเป้าหมายการเรียน
รู้
วิธีการประเมิน
ทดสอบ ตอบคำาถาม สังเกต ชิ้นงาน
๑. ความรู้ที่คงทน
๑.๑ อ่านพยัญชนะ
และสระที่กำาหนด
๑.๒ อ่านและเขียน
พยัญชนะอักษรกลาง
ข ห ง ม และสระ อี
๑.๓ อ่านและเขียน
คำาที่ประสมสระ อี
๑.๔ อ่านและเขียน
แจกลูกสะกดคำา คำาที่
มีสระ อี
แบบทดสอบ
-อ่านและเขียน
พยัญชนะและ
สระ
-อ่านและเขียน
แจกลูกสะกด
คำา
คำาที่มีสระ อี
-อ่านและเขียน
คำาที่กำาหนด
-อ่านและเขียน
สอบถาม
-ถามความ
เข้าใจ
พยัญชนะ,สร
ะ
-ถามความ
เข้าใจ
พยัญชนะ,สร
ะ
-ถามความ
เข้าใจคำาที่
-การอ่าน
และการ
เขียน
-การอ่าน
และการ
เขียน
-การอ่าน
และการ
เขียน
-การอ่าน
และการ
-ผลการ
เขียน
-ผลการ
เขียน
-ผลการ
เขียน
-ผลการ
เขียน
เป้าหมายการ
เรียนรู้
วิธีการประเมิน
ทดสอบ ตอบ
คำาถาม
สังเกต ชิ้นงาน
๒. ทักษะเฉพาะ
วิชา
๑.๒ อ่านและ
เขียน
พยัญชนะอักษร
กลาง ข ห
ง ม และสระ อี
๒.๒ อ่านและ
เขียนคำาที่
ประสมสระ อี
๒.๓ อ่านและ
เขียนแจก
ลูกสะกดคำา คำาที่
มีสระ อี
๓.ทักษะคร่อม
วิชา
-อ่านและ
เขียน
อักษรกลาง
และ
สระ อี
-อ่านและ
เขียนแจก
ลูกสะกดคำา
-อ่านและ
เขียนแจก
ลูกสะกดคำา
-คำาทาย
-ร้องเพลง
-ถามความ
เข้าใจ
อักษร,สระ
อี
-ถามความ
เข้าใจ
เกี่ยวกับคำา
-ถามความ
เข้าใจ
การแจกลูก
-ถามความ
รู้สึก
-ถามความ
สนใจ
-การอ่าน
และ
การเขียน
-การอ่าน
และ
การเขียน
-การอ่าน
และ
การเขียน
-การทาย
-การร้อง
เพลง
-ผลการ
เขียน
-ผลการ
เขียน
-ผลการ
เขียน
-ผลทาย
-
เป้าหมายการ
เรียนรู้
วิธีการประเมิน
ทดสอบ ตอบคำาถาม สังเกต ชิ้นงาน
๔. คุณลักษณะ
๔.๑ ใฝ่เรียนใฝ่รู้
๔.๒ ความรับผิด
ชอบ
๔.๓ ขยัน
ประหยัดซื่อสัตย์
มี
วินัย สุภาพ สะอาด
สามัคคี มี
นำ้าใจ และกตัญญู
๔.๔ มีนิสัยรักการ
อ่าน
-ใช้แบบ
ประเมิน
คุณลักษณะ
-ใช้เกณฑ์ที่มี
Rubrics
และมี Rating
Scale
-ทดสอบการ
อ่านโดย
ใช้เกณฑ์ที่มี
Rubrics
-ถามความ
สนใจใฝ่รู้
-ถามข้อคิด
และสิ่งที่
ได้จากเรื่อง
-ถามความ
พอใจใน
การเรียน
-ความสนใจ
ใน
หนังสือที่อ่าน
-พฤติกรรม
การ
เรียน
-การร่วม
กลุ่มกับ
เพื่อน
-ความต่อ
เนื่องใน
การอ่าน
-
-
-จำานวน
หนังสือที่
อ่าน
ต่อวัน
สื่อสร้างสรรค์เสริมการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้
๑.หนังสือสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลาง ชั้นประถม
ศึกษาปีที่ ๑ ภาษาพาที
๒.บทเรียนที่ ๑ เรื่อง “ใบโบก ใบบัว”
๓.แบบฝึกทักษะการอ่านคำาที่มีสระ อี
๔.แบบฝึกทักษะการเขียนคำาที่มีสระ อี
๕.แบบฝึกทักษะการอ่านและเขียนแจกลูกสะกดคำา คำาที่มี
สระ อี
๖.แบบทดสอบการอ่านและเขียนอักษรกลาง และคำาที่มีสระ
อี
๗.ชุดคำาที่ใช้สำาหรับให้เขียนตามคำาบอก
๘.เครื่องเล่นแผ่นเพลง MP3
๙.เพลงสระ อี
กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโมง ที่ ๑ เวลา ๑
ชั่วโมง
วัด/ประเ
มิน
ขั้นตอน
การเรียน
รู้
กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
ประกอบ
๑. สังเกต
-การฟัง
-การดู
-การพูด
(แบบ
สังเกต)
๒. สังเกต
๓. สังเกต
-การอ่าน
๔. สังเกต
๕. สังเกต
๑.ฟัง
๒. ร้อง
เล่น
๓. อ่าน
๔. พูด
เล่า
๕. พูด
ทาย
๑. นักเรียนทักทายครู ครูทักทายนักเรียน
ซักถามถึงการเรียนรู้ที่ผ่านมา จากนั้นนำา
คำากับภาพให้นักเรียนดู ชี้ภาพให้ดูแล้ว
อ่านคำาใต้ภาพให้นักเรียนเข้าใจความ
หมายของภาพและคำา (ภาคผนวก)
แล้วถามนักเรียนว่าเป็นภาพอะไร ประสม
สระอะไร
๒. นักเรียนร้องเพลงช้างพร้อมปรบมือ
ประกอบจังหวะให้เกิดความสนุกก่อนเรียน
๓. นักเรียนอ่านเรื่อง “ใบโบก ใบบัว”
พร้อมกัน
๔. นักเรียนอาสาออกมาเล่าเรื่อง “ใบโบก
ใบบัว”
ให้เพื่อนฟัง นักเรียนฝึกตั้งถามและตอบ
-คำากับภาพ
-เพลงช้าง
-หนังสือ
เรียน
-เกมทาย
อักษร
และสระ
วัด/ประเ
มิน
ขั้นตอน
การเรียน
รู้
กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
ประกอบ
๖. สังเกต
๗. สังเกต
๘. สังเกต
๖. พูด
อ่าน
๗. อ่าน
๘. เขียน
๖. นักเรียนเล่นอ่านปริศนาคำาทาย ครูอ่าน
ปริศนาว่า
“อะไรเอ่ย สี่คนหาม สามคนแห่ สอง
คนพัด
คนหนึ่งปัดแส้”
นักเรียนตอบตามความเข้าใจของแต่ละ
คน
ครูเฉลยว่า “ส่วนต่าง ๆ ของช้าง”
๗. นักเรียนอ่านแจกลูก คำาที่มีสระ อี ตาม
ครู เช่น
ก - อี - กี, จ - อี - จี, ด - อี
-ดี, ต -อ -ตี, ป - อี -ปี
ครูหยิบบัตรคำาแต่ละคำาขึ้นมาให้นักเรียน
ดู นักเรียนอ่านแจกลูกดัง ๆ พร้อมกัน
๘. ครูเขียนตารางสะกดคำาบนกระดานให้
นักเรียนดูแล้วอ่านสะกดคำาให้นักเรียนฟัง
เช่น
-ปริศนา
-บัตรคำา
-ตาราง
สะกดคำา
-แบบฝึก
คำา พยัญช
นะ
สระ สะกด
ว่า
อ่านว่า
ตา ต า ตอ -
อา
ตา
วัด/ปร
ะเมิน
ขั้น
ตอน
การ
เรียนรู้
กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
ประกอ
บ
สังเกต อ่าน ๙. นักเรียนทำาแบบฝึกทักษะการ
อ่านแจกลูกและสะกดคำา คำาที่มี
สระ อี ตามแบบฝึกที่ครูแจกให้
แบบฝึก
ชั่วโมงที่ ๒
เวลา ๑ ชั่วโมง
วัด/ประ
เมิน
ขั้น
ตอน
การ
เรียนรู้
กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
ประกอ
บ
สังเกต
การฟัง
๑. ฟัง a. ครูอ่านเนื้อเพลงสระ “อี” ให้
นักเรียนฟัง
นักเรียนอ่านตามครู จากนั้นครู
ร้องเป็นเพลงให้
นักเรียนฟัง นักเรียนร้องตามครู
เพลงสระ
อี
วัด/ปร
ะเมิน
ขั้น
ตอน
การ
เรียนรู้
กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
ประกอ
บ
๒.สังเกต
การร้อง
เพลง
๓.
สังเกต
การพูด
๔.สังเกต
การ
เขียน
๒. ร้อง
เพ
ลง
๓. พูด
๔.
เขี
ยน
๒. ครูเปิดเพลงสระ “อี” ตามแผ่น
MP3 ให้นักเรียนฟัง
นักเรียนร้องพร้อมกับแผ่น
พร้อมกับทำาท่าทางประกอบ
จังหวะให้เกิดความสนุกแล้ว
สนทนาเกี่ยวกับเนื้อหาของ
เพลง
๓. นักเรียนทบวนอักษรกลางและ
สระ อา อี โดยครูถามนำา
และหยิบบัตรพยัญชนะและ
สระให้ดูแล้วถาม จากนั้นให้
ความรู้เพิ่มเติมจนเข้าใจตรง
กัน
๔. นักเรียนเขียนตามคำาบอก โดย
-
แผ่นMP
3
-บัตร
พยัญชน
ะฯ
-คำาที่นำา
มาบอก
ให้เขียน
ชั่วโมงที่ ๓ เวลา ๑ ชั่วโมง
วัด/ปร
ะเมิน
ขั้น
ตอน
การ
เรียนรู้
กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ
ประกอ
บ
๑.
สังเกต
-การ
อ่าน
๒. ตรวจ
การ
เขียน
๓.
a. อ่า
น
๒.
เขี
ยน
๓. อ่าน
๑. ครูสาธิตการเขียนสะกดคำาบน
กระดาน
ให้นักเรียนดู เช่น
ดี -ด -อี -ดี, ตี -ต - อี
-ตี........
นักเรียนอาสาออกมาเขียนสะกด
คำาลงบนกระดานให้เพื่อน ๆ ดู
ครูชี้แจงให้นักเรียนเข้าใจตรง
กัน
๒. นักเรียนทำาแบบฝึกการเขียน
สะกดคำา คำาที่มี
สระ อี ตามตัวอย่างที่ครูทำาให้ดู
-แบบฝึก
การ
อ่านแจก
ลูก
-แบบฝึก
การ
เขียน
-แบบฝึก
การจัดบรรยากาศห้องเรียนเชิงบวก
๑. จัดให้มีสื่อวีดิทัศน์ที่สามารถใช้ให้นักเรียนดูได้ทั่วถึง
๒. จัดแผ่นVCD.(วีซีดี) MP3. (เอ็มพี 3) ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้
๓. จัดสถานที่เรียนให้สะอาด เป็นระเบียบ เรียบร้อย และสวยงาม
๔. จัดบอร์ดแสดงผลงานของนักเรียน
กาขา หู
งา
ขา
ภาคผนวก
ตา
อา หา
เพลงสระ - อี (เพลงที่ ๑)
คำาร้อง สำาลี รักสุทธี ทำานอง เพลงช้าง
อี อี อี สระ อี นั้นอยู่ข้างบน
จำาไว้ จำาไว้ทุกคน อย่าสับสน อยู่ข้างบน
สระ อี
อ่านเขียนสะกดให้ดี เขียนทุกทีให้ถูกนะเออ
ตอ อี ตี ดอ อี ดี มอ อี มี ชอ อี ชี
ตามี ดี ปี มี ดี ผี หนี ชี สี ตี ดี(ซำ้า)
คำาเหล่านี้มีสระ อี หนูจำาได้ดีคุณครู
เพลงสระ - อี (เพลงที่ ๒)
คำาร้อง ทำานอง สำาลี รักสุทธี
อี อี้ อี อี้ อี อี๊ อี ตามี ตาสี ทำา
วาที แม่ชี เจอผี คำาเหล่านี้มีสระ
อี(ซำ้า)
หนู หนู จำาไว้ให้ดี สระ อี นั้นอยู่ข้าง
บน(ซำ้า)
คำาที่นำามาเขียนตามคำาบอก
ตา อา กา งา
ขา หา มา จา
ตี ปี มี ดี
ขี จี บี ขี
มี
ตา
งา
ดี
ขา
อา
มา
หา
ตา
ดี
มี
งา
ขา
กา
อา
ปา
แบบฝึกการอ่านแจกลูกสะกดคำา คำาที่มีสระ - อี
แบบฝึกอ่านที่ ๑
จุดประสงค์ อ่านแจกลูก จากคำาที่กำาหนดให้ได้ถูกต้อง
คำาชี้แจง อ่านแจกลูก คำาที่มีสระ - อี ตามตัวอย่าง
ม
ต
ด
ช
ป
ท
ผ
ฝ
อ
ถ
มี
ต
ีีด
ีีช
ีีป
ีีท
ีีผ
ีีฝ
ีีอี
ถ
ีี
แบบฝึกอ่านที่ ๒
จุดประสงค์ อ่านสะกดคำา จากคำาที่กำาหนดให้ได้ถูกต้อง
คำาชี้แจง อ่านสะกดคำา คำาที่มีสระ - อี ตามตัวอย่าง
คำา พยัญชนะ สระ สะกดว่า อ่าน
ว่า
มี ม - อี มอ -อี มี
ตี
มี
ดี
ปี
ชี
อี
สี
แบบฝึกอ่านที่ ๓
คำาชี้แจง ดูแผนภูมิแล้วอ่านแจกลูกสะกดคำา โดยเริ่มอ่านจาก
พยัญชนะ ไปสระ แล้วเป็นคำา
ท
-อี
ต
ป ช
ม
ด
ผ
ตัวอย่าง ตี อ่านว่า
ตอ อี ตี
เขียนว่า ตี
แบบฝึกการเขียนแจกลูกสะกดคำา คำาที่มีสระ - อี
แบบฝึกที่ ๑
คำาชี้แจง ให้เขียนแจกลูก สะกดคำา จากคำาที่กำาหนดให้
ตามตัวอย่างข้างล่าง
ดี ด - อี - ดี
มี..........................................................................
ตี..........................................................................
กี..........................................................................
ปี..........................................................................
จี..........................................................................
งี..........................................................................
บี..........................................................................
ท
อี
ต
ป ช
ม
ด
ผ
แบบฝึกที่ ๒
คำาชี้แจง ให้เขียนประสมพยัญชนะและสระเป็นคำา แล้วแจกลูก
สะกดคำา ให้ถูกต้อง
ตัวอย่าง
ถี ถ- อี - ถี
........................................................................................
........................................................................................
แบบฝึกอ่านคำา และประโยคมีสระ อี
อ่านคำาที่มีสระ - ีี
ทีวีดีดี รีรี ตีคี มีดี มีสี ชีวี มีผี กีวี ทีดี ดีปลี มีฝี
อารี ฝาชี มีนา อีกา นารี ทาสี กีฬา นาที พาที ลีลา ตาดี
นาดี มียา สูสี ดูดี ชะนี ตาสี ชีวา คาวี
อ่านประโยคที่มีสระ - ีี
ตาสี มี นา ดี วาที พา นารี ดู อีกา
เรื่องสั้นที่มีสระ - ีี
เรื่องที่ ๑ ตาดี มี สี
ตาดี มี สี ตาดี มี สี ดี ดี
ตาดี มี ทีวี ตาดี มี ทีวีสี ดี ดี
เรื่องที่ ๒ ชี มี ยาดี
ตาสี มา หา วาที
ตาสี พา วาที มา หา ชี
ชี มี ยา ดี ดี
ตาสี และ วาที มา หา ยาดี
จาก ชี
เรื่องที่ ๓ ตามี ทา สี อีกา
ตามี ทาสี ฝาชี
ตาดี ทาสี ทีวี
อีกา ตี สี ตามี
ตามี ทา สี อีกา
เรื่องที่ ๔ ตาสี มี ยา ดี
คำาชี้แจง อ่านเรื่องแล้ววาดภาพประกอบตาม
จินตนาการของนักเรียน
ตาสี มี ยา ดี
ชี หา ยา ตา สี ชี มา หา ยา ตา
สี
ตาสี ทา ยา ชี ชี มี ยา ดี ดี ที่
ทีวี
ผลงานของนักเรียนผลงาน
นักเรียน
แบบทดสอบหลังเรียน
ชื่อ...........................................................เลข
ที่......................................ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
วัน
ที่.........................เดือน.............................................พ.ศ.............
.........................................
คำาชี้แจง ๑. เลือกคำาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว แล้ว
กากบาท ( ) ลงในช่องกระดาษคำาตอบ ข้อสอบมีทั้งหมด ๕
ข้อ ๕ คะแนน เวลา ๑๐ ชั่วโมง
๑. ข้อใดอ่านแจกลูกสะกดคำาถูกต้อง ๒. “สอ -
อี .........” ควรเติมคำาใดลงช่องว่าง
ก. มี - มอ – อี – มี ก. สา
๓. ข้อใดอ่านออกเสียงสระ เหมือนคำาว่า มีนา ทั้งหมด
ก. นาดี
ข. มีงู
ค. ตีขา
๔. ข้อใดมีคำาที่ประสมด้วยสระ อี มากที่สุด
ก. ตาสี ไป นาดี
ข. ชี มี ยาดี
ค. ชี ไป หา ตามี
๕.ข้อใด เขียนสะกดคำาถูกต้อง
ก. ป + -อี = ปา
ข. สี + -อา = สู
ค. ผ + -อี = ผี
แนวการเขียนแผนจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ
GPAS
แผนการจัดการเรียนรู้ที่………
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบย่อยอาหาร ชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 6 เวลา 1 ชั่วโมง
…………………………………………………………………
……………………………
1.สาระสำาคัญ
อาหารที่เข้าสู่ร้างกายต้องผ่านกระบวนการย่อยอาหาร
เพื่อให้ได้สารอาหารที่มีขนาดเล็กจนสามารถลำาเลียงไปเลี้ยง
ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้ กากอาหารที่เหลือจากกระบวนการ
ย่อยจะถูกขับออกนอกร่างกาย
2. เป้าหมายการเรียนรู้(จุดประสงค์)
2.1 ด้านความรู้ความคิด
อธิบายการทำางานของอวัยวะในระบบย่อยอาหารแต่ละ
3 .ร่องรอยการเรียนรู้/ผลงานที่แสดงการเรียนรู้
3.1 ข้อสรุปเรื่องหน้าที่ของอวัยวะในระบบย่อย
อาหารแต่ละอวัยวะ
3.2 concept mapping แสดงกระบวนการย่อย
อาหาร
4. การวัดผลประเมินผล
4.1 ประเมินคุณภาพของการสรุปหน้าที่ของ
อวัยวะในระบบย่อยอาหาร
4.2 ประเมินคุณภาพของ concept mapping
แสดงกระบวนการย่อยอาหาร
5. สื่อ/อุปกรณ์/แหล่งเรียนรู้
5.1 แผนภาพแสดงระบบย่อยอาหารของคน
5.2 หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน
6. กิจกรรมการเรียนรู้
แบ่งกลุ่มนักเรียนกลุ่มละ 4-5 คน แล้วทำากิจกรรมต่อ
ไปนี้
6.1 นักเรียนศึกษาแผนภาพแสดงระบบย่อยอาหารของ
คน เพื่อตอบคำาถามที่ครูเขียนบนกระดานดำา ดังนี้
- ระบบย่อยอาหารของคนประกอบด้วยอวัยวะใดบ้าง
(G-การรวบรวมข้อมูล)
- เรียงลำาดับอวัยวะในระบบย่อยอาหารได้อย่างไร (P-
การจัดกระทำาข้อมูล)
6.2 นักเรียนศึกษาเรื่อง ระบบย่อยอาหารจากหนังสือ
เรียนวิทยาศาสตร์ชั้น ป.6 ของ สสวท. หน้า 2-5 เพื่อตอบ
คำาถามที่ครูเขียนบนกระดานดำา ดังนี้
- อวัยวะในระบบย่อยอาหารแต่ละอวัยวะทำาหน้าที่
อย่างไร (G-การรวบรวมข้อมูล)
6.3 แต่ละกลุ่มออกแบบตารางบันทึกสรุปหน้าที่ของ
อวัยวะในระบบย่อยอาหาร แล้วเสนอหน้าชั้นเพื่อให้สมาชิกใน
6.4 นักเรียนแต่ละคนบันทึกสรุปหน้าที่ของ
อวัยวะในระบบย่อยอาหารลงในตาราง (P-การจัด
กระทำาข้อมูล)
6.5 ครูใช้คำาถามเพื่อกระตุ้นการคิด ดังนี้
- นักเรียนคิดว่าเราควรศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับ
ระบบย่อยอาหารในเรื่องใดบ้าง (S- การสร้างค่านิยม
การคิด)
- ถ้าจะศึกษาเรื่องโรคของระบบย่อยอาหารควร
ออกแบบตารางบันทึกอย่างไร (A-การเลือกทางเลือก)
6.6 นักเรียนเขียน concept mapping แสดง
ระบบย่อยอาหาร (P-การจัดกระทำาข้อมูล)
6.7 นักเรียนแลกเปลี่ยนผลงาน concept
mapping กับเพื่อนต่างกลุ่มเพื่อช่วยกันตรวจสอบ
ความถูกต้องของผลงาน (P-การตรวจสอบ)
เกณฑ์การประเมิน
1. เกณฑ์การประเมินการสรุปหน้าที่ของอวัยวะในระบบ
ย่อยอาหาร
ประเด็น
ระดับคุณภาพ
สูง ปาน
กลาง
ตำ่า
ความ
ครบ
ถ้วน
ของ
เนื้อหา
ระบุ
อวัยวะ
ครบถ้วน
และระบุ
หน้าที่
ครบถ้วน
ระบุ
อวัยวะไม่
ครบถ้วน
หรือระบุ
หน้าที่ไม่
ครบถ้วน
ระบุ
อวัยวะไม่
ครบถ้วน
และระบุ
หน้าที่ไม่
ครบถ้วน
ประเด็น
ระดับคุณภาพ
สูง ปานกลาง ตำ่า
ความถูก
ต้องของ
เนื้อหา
เรียงลำาดับ
อวัยวะถูก
ต้องและระบุ
หน้าที่ถูกต้อง
เรียงลำาดับ
อวัยวะ ไม่ถูก
ต้องและระบุ
หน้าที่มาถูก
ต้อง
เรียงลำาดับ
อวัยวะ ไม่ถูก
ต้องและระบุ
หน้าที่ไม่ถูก
ต้อง
ประเด็น
ระดับคุณภาพ
สูง ปานกลาง ตำ่า
ความครบ
ถ้วน
ของเนื้อหา
เลือกใช้รูป
แบบถูกต้อง
ระบุอวัยวะ
ครบถ้วนและ
เรียงลำาดับ
ถูกต้อง
เลือกใช้รูป
แบบถูกต้อง
แต่เรียง
ลำาดับไม่ถูก
ต้องหรือระบุ
อวัยวะไม่
ครบถ้วน
เลือกใช้รูป
แบบไม่ถูก
ต้อง เรียง
ลำาดับไม่ถูก
ต้อง และระบุ
อวัยวะไม่
ครบถ้วน
ณฑ์การประเมิน concept mapping แสดงระบบย่อ
การเขียนเอกสารฉบับนี้ผู้บรรยายได้ศึกษา
ทฤษฏีจาก เอกสารประกอบ การประชุมเรื่อง
การพัฒนาการคิดโดยใช้กระบวนการ GPAS ของ
สำานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษาสำานักงานคณะ
กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
พิมพ์ครั้งที่ 3 : กันยายน 2551
…………………………………………………
(ตัวอย่างแผนประกอบนวัตกรรม)
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการแต่งบทร้อยกรอง
ประกอบหนังสือประกอบการเรียนเพื่อพัฒนาการแต่งบท
ร้อยกรอง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๒ (ชั้น
ประถมศึกษาปีที่ ๖)
บทที่ ๔ กลอนสี่ จำานวน ๕ ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ เรื่อง อ่านเรื่องและตอบ
คำาถาม เวลา ๑ ชั่วโมง
สอนวันที่............เดือน..........................พ.ศ...................
สาระสำาคัญ
กลอนสี่คือกลอนที่มีลักษณะเหมือนกลอนทั่วไป คือมีการ
สัมผัสคำา ทั้งสัมผัสในและนอก การฝึกอ่านและแต่งกลอนช่วย
ให้นักเรียนมีความรู้ในเรื่องการสัมผัสและทำาให้เกิดความรักและ
เห็นคุณค่าของภาษาไทย
จุดประสงค์การเรียนรู้
๑.ทำาแบบทดสอบก่อนเรียนผ่านเกณฑ์ที่ตั้งไว้ร้อยละ
๘๐(K)
๒.อ่านเรื่อง “สานตามครองกลอนสี่”ตั้งคำาถามและ
ตอบคำาถามจากเรื่องที่อ่านได้ (P)
๓. มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
สาระการเรียนรู้
๑. การทำาแบบทดสอยก่อนเรียน
๒. การอ่านเรื่อง “สานตามครองกลอนสี่” ตั้งคำาถามและ
ตอบคำาถามจากเรื่องที่อ่าน
กระบวนการจัดการเรียนรู้ (ใช้เทคนิค Jigsaw)
๑. นักเรียนกล่าวคำาทักทายครู ครูทักทายนักเรียน ครู
ยกกลอนสี่ “กลอนสี่” ให้นักเรียนดูและอ่านออกเสียงดัง ๆ
พร้อมกัน เช่น
“นักเรียนมอสาม ช่างงามนำ้าใจ
นักเรียนถาม-ตอบกันเอง จากนั้นทำาแบบทดสอบก่อนเรียน
เสร็จแล้วส่งครูตรวจ
๒. ครูแจ้งให้นักเรียนได้ทราบถึงสิ่งต่อไปนี้
๑) สิ่งที่จะเรียน คือหนังสือประกอบการเรียน เรื่อง
“สานตามครองกลอนสี่” เป็นความรู้เกี่ยวกับกลอนสี่และการแต่ง
กลอนสี่
๒) ขั้นตอนการเรียน วิธีการศึกษา การปฏิบัติตาม
เทคนิคของจิกซอร์
๓) รูปแบบการเรียนแบบจิกซอร์ (Jigsaw) ที่เรียนเคย
เรียนมาแล้ว เพื่อนักเรียนจะได้เรียนวิธีการนี้อย่างต่อเนื่องไป
จนจบ จะได้เกิดทักษะ ความชำานาญตามมา
๓. ครูแจ้งให้ทราบถึงการนำาหลักธรรมตามแนวคิด
เศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการเรียนครั้งนี้ โดยเฉพาะในเรื่อง
เกี่ยวกับความขยัน ตั้งใจ สนใจเรียน และความอดทนอดกลั้น
๔. สมาชิกแต่ละกลุ่ม (กลุ่มร่วมมือเดิม) นับเพื่อให้มี
๕. ครูแบ่งเนื้อหาจากเรื่อง “สานตามครองกลอนสี่” ที่จะ
ต้องศึกษาออกเป็น ๔ ตอน ดังนี้
ตอนที่ ๑ จากหน้า ๑–๖
ตอนที่ ๒ จากหน้า ๗–๑๒
ตอนที่ ๓ จากหน้า ๑๓–๑๘
ตอนที่ ๔ จากหน้า ๑๖–๒๕
๖. ครูชี้แจงการปฏิบัติกิจกรรมของสมาชิกกลุ่มบ้าน
โดยอ่าน/ศึกษาเนื้อหาด้วยการปฏิบัติ
ตามขั้นตอน ดังนี้
๑) นักเรียนในกลุ่มบ้านคนที่ ๑ อ่านตอนที่ ๑
๒) นักเรียนในกลุ่มบ้านคนที่ ๒ อ่านตอนที่ ๒
๓) นักเรียนในกลุ่มบ้านคนที่ ๓ อ่านตอนที่ ๓
๔) นักเรียนในกลุ่มบ้านคนที่ ๔ อ่านตอนที่ ๔
๗.สมาชิกทุกคนออกจากกลุ่มบ้าน (Home group) ไป
อยู่กลุ่มใหม่ เรียกว่ากลุ่มผู้เชี่ยวชาญ(Expert Group) ซึ่งจะ
ประกอบไปด้วยสมาชิกแต่ละคนของกลุ่ม บ้าน คือ
กลุ่มผู้เชี่ยวชาญกลุ่มที่ ๑ จะประกอบไปด้วยสมาชิก คน
ที่ ๑ ของแต่ละกลุ่ม
กลุ่มผู้เชี่ยวชาญกลุ่มที่ ๒ จะประกอบไปด้วยสมาชิก คน
ที่ ๒ ของแต่ละกลุ่ม
กลุ่มผู้เชี่ยวชาญกลุ่มที่ ๓ จะประกอบไปด้วยสมาชิก คน
ที่ ๓ ของแต่ละกลุ่ม
กลุ่มผู้เชี่ยวชาญกลุ่มที่ ๔ จะประกอบไปด้วยสมาชิก คน
ที่ ๔ ของแต่ละกลุ่ม
๘.สมาชิกกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ รับบัตรคำาสั่งการปฏิบัติ
กิจกรรม ปฏิบัติตามคำาชี้แจงในบัตรคำาสั่ง จากนั้นร่วมกัน
อภิปราย สรุปความ แสดงความคิดเห็นในหัวข้อที่ตนรับผิด
ชอบ
๙.สมาชิกในกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ แยกตัวกลับไปยังกลุ่มบ้าน
๑๐. ตัวแทนกลุ่มทุกคนจับฉลากเพื่อนำาเสนอผลงานหน้า
ชั้นเรียนให้ทราบว่า กลุ่มใดนำาเสนอก่อน เรียงตามลำาดับ ครู
และนักเรียนประเมินการนำาเสนอผลงาน ครูเสนอแนะและ
อธิบายเพิ่มเติม
๑๑. สมาชิกทุกคนทำาแบบฝึกหัดตอนที่ ๑ แบบฝึก
ทักษะที่ ๑-๖ เสร็จแล้วส่งครูตรวจ
๑๒. ครูแนะนำาให้นักเรียนทำาใบกิจกรรมที่ ๑ เป็นการ
บ้าน
๑๓. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปสิ่งที่เรียนมาทั้งหมด ให้
โอกาสนักเรียนซักถามกันเอง
ครูคอยเสริมเท่าที่จำาเป็น
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
๑. กลอนสี่
๒. บัตรคำาสั่งสำาหรับสมาชิกกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ
๓. แบบฝึกทักษะชุดที่ ๑ แบบฝึกทักษะที่ ๑-๖
๔. ใบกิจกรรมที่ ๑
กระบวนการวัดผลและประเมินผล
๑.วิธีการ
๑.๑ สังเกต
การทำากิจกรรมกลุ่ม
๑.๒ ตรวจ
๑.๒.๑ ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน
๑.๒.๒ ตรวจการทำาแบบฝึกทักษะชุดที่ ๑ แบบฝึก
ทักษะที่ ๑–๖
๑.๒.๓ ตรวจใบกิจกรรมที่ ๑
เกณฑ์การประเมิน
๑. แบบประเมินกิจกรรมกลุ่ม ผ่านเกณฑ์อย่างน้อยร้อย
ละ ๘๐
๒. การตรวจแบบทดสอบ ผ่านเกณฑ์อย่างน้อยร้อยละ
๘๐
เครื่องมือประเมินผล

Contenu connexe

Tendances

การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษKobwit Piriyawat
 
สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
การจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ Stadการจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ StadSandee Toearsa
 
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1Teacher Sophonnawit
 
กระบวนการที่ทำให้ครูมีประสิทธิภาพการสอน
กระบวนการที่ทำให้ครูมีประสิทธิภาพการสอนกระบวนการที่ทำให้ครูมีประสิทธิภาพการสอน
กระบวนการที่ทำให้ครูมีประสิทธิภาพการสอนratiporn-hk
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีParichart Ampon
 
แผนการเรียนรู้สุภาษิต
แผนการเรียนรู้สุภาษิตแผนการเรียนรู้สุภาษิต
แผนการเรียนรู้สุภาษิตyaowarat Lertpipatkul
 
Plane com p4_01
Plane com p4_01Plane com p4_01
Plane com p4_01senawong
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนkittitach06709
 

Tendances (13)

การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
 
สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
สรุปการปฏิบัติหน้าที่ครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
Check plan
Check planCheck plan
Check plan
 
การจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ Stadการจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ Stad
 
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
 
กระบวนการที่ทำให้ครูมีประสิทธิภาพการสอน
กระบวนการที่ทำให้ครูมีประสิทธิภาพการสอนกระบวนการที่ทำให้ครูมีประสิทธิภาพการสอน
กระบวนการที่ทำให้ครูมีประสิทธิภาพการสอน
 
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
 
สื่อการเรียนสอน
สื่อการเรียนสอนสื่อการเรียนสอน
สื่อการเรียนสอน
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
แผนการเรียนรู้สุภาษิต
แผนการเรียนรู้สุภาษิตแผนการเรียนรู้สุภาษิต
แผนการเรียนรู้สุภาษิต
 
Plane com p4_01
Plane com p4_01Plane com p4_01
Plane com p4_01
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอน
 
2 exam-plan
2 exam-plan2 exam-plan
2 exam-plan
 

Similaire à ตัวอย่างแผนการสอน

แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1krumildsarakam25
 
1281946738 ubon
1281946738 ubon1281946738 ubon
1281946738 ubonWaree Wera
 
ภาษาไทยBbl ป3ภาค1
ภาษาไทยBbl ป3ภาค1 ภาษาไทยBbl ป3ภาค1
ภาษาไทยBbl ป3ภาค1 Amm Orawanp
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมPignoi Chimpong
 
มาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนมาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนkhemmarat
 
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...0894239045
 
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันบทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันnoi1
 
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษ
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษวิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษ
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษAoyly Aoyly
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3สุภาพร สิทธิการ
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยNetchanOk Maneechai
 
5 กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง 5.3 วิเคราะห์เนื้อหา
5 กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง 5.3 วิเคราะห์เนื้อหา5 กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง 5.3 วิเคราะห์เนื้อหา
5 กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง 5.3 วิเคราะห์เนื้อหาJoice Naka
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยPiyatida Prayoonprom
 
Thai daily life activities-week1 ฟรี
Thai daily life activities-week1 ฟรีThai daily life activities-week1 ฟรี
Thai daily life activities-week1 ฟรีSopa Aruncharoenkit
 

Similaire à ตัวอย่างแผนการสอน (20)

แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1
 
บทที่ 3.ใหม่
บทที่ 3.ใหม่บทที่ 3.ใหม่
บทที่ 3.ใหม่
 
1281946738 ubon
1281946738 ubon1281946738 ubon
1281946738 ubon
 
ภาษาไทยBbl ป3ภาค1
ภาษาไทยBbl ป3ภาค1 ภาษาไทยBbl ป3ภาค1
ภาษาไทยBbl ป3ภาค1
 
Pan stad
Pan stadPan stad
Pan stad
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
 
มาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนมาตราแม่ กน
มาตราแม่ กน
 
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
 
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันบทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
 
ชุดกิจกรรมที่ 1
ชุดกิจกรรมที่  1ชุดกิจกรรมที่  1
ชุดกิจกรรมที่ 1
 
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
 
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
 
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษ
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษวิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษ
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษ
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
 
Ppp+มิ้น+..
Ppp+มิ้น+..Ppp+มิ้น+..
Ppp+มิ้น+..
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
5 กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง 5.3 วิเคราะห์เนื้อหา
5 กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง 5.3 วิเคราะห์เนื้อหา5 กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง 5.3 วิเคราะห์เนื้อหา
5 กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง 5.3 วิเคราะห์เนื้อหา
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
Thai daily life activities-week1 ฟรี
Thai daily life activities-week1 ฟรีThai daily life activities-week1 ฟรี
Thai daily life activities-week1 ฟรี
 

Plus de Parichart Ampon

รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีParichart Ampon
 
ตัวอย่างแผนการสอนอ.สำลี
ตัวอย่างแผนการสอนอ.สำลีตัวอย่างแผนการสอนอ.สำลี
ตัวอย่างแผนการสอนอ.สำลีParichart Ampon
 
ตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอนตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอนParichart Ampon
 
การเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน
การเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้านการเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน
การเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้านParichart Ampon
 
นำเสนอโรงเรียนบ้านกุดเสถียร
นำเสนอโรงเรียนบ้านกุดเสถียรนำเสนอโรงเรียนบ้านกุดเสถียร
นำเสนอโรงเรียนบ้านกุดเสถียรParichart Ampon
 

Plus de Parichart Ampon (6)

รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
ตัวอย่างแผนการสอนอ.สำลี
ตัวอย่างแผนการสอนอ.สำลีตัวอย่างแผนการสอนอ.สำลี
ตัวอย่างแผนการสอนอ.สำลี
 
ตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอนตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอน
 
The classroomflip
The classroomflipThe classroomflip
The classroomflip
 
การเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน
การเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้านการเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน
การเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน
 
นำเสนอโรงเรียนบ้านกุดเสถียร
นำเสนอโรงเรียนบ้านกุดเสถียรนำเสนอโรงเรียนบ้านกุดเสถียร
นำเสนอโรงเรียนบ้านกุดเสถียร
 

ตัวอย่างแผนการสอน

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ใบโบก ใบบัว จำานวน ๑๘ ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ อ่าน คิด เขียน เรียนดี เวลา ๓ ชั่วโมง สอนวันที่...............เดือน...........................พ.ศ...................จาก เวลา...............ถึงเวลา.............. ชื่อครูผู้ออกแบบกิจกรรม นายสำาลี รักสุทธี มาตรฐาน ท๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้ และความ คิดเพื่อนำาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำาเนินชีวิตและมี นิสัยรักการอ่าน ตัวชี้วัด ๑. อ่านออกเสียงคำา คำาคล้องจอง และข้อความสั้นๆ ๒. ตอบคำาถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
  • 2. มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียน เรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราว ในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้า อย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด ๑.คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ ตัวชี้วัด ๑.ฟังคำาแนะนำา คำาสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม ๒.ตอบคำาถามและเล่าเรื่องที่ฟังและดู ทั้งที่เป็นความรู้และความ บันเทิง ๓.พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
  • 3. มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษา ไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของ ชาติ ตัวชี้วัด ๑.บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย ๒.เขียนสะกดคำาและบอกความหมาย ของคำา มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์ วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็น คุณค่าและนำามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ๑. บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อย แก้วและร้อยกรองสำาหรับเด็ก
  • 4. สาระการเรียนรู้หลัก ( Concepts) แผนฯที่ ๒ “อ่าน คิด เขียน เรียนดี” เวลา ๓ ชั่วโมง ๑.อ่านออก เสียง เรื่อง ใบโบก ใบ บัว ๒. -อ่านคล่อง ร้องเพลง -อ่านคำาที่มีสระ อี ๕. พูดแสดง ความคิดเห็น -เขียนตามคำา บอก ๔. ฟังคำา แนะนำาจากครู -ฟังคำาสนทนา กับเพื่อน ๖. ทาย ปริศนา คำาทาย เกี่ยวกับ ช้าง ๓. คัดลายมือ เขียนแจกลูก สะกดคำาที่มีสระ อี อ่าน คิด เขียน เรียนดี
  • 5. เป้าหมายการเรียนรู้ ๑. ความรู้ที่คงทน ๑.๑ อ่านพยัญชนะและสระที่กำาหนด ๑.๒ อ่านและเขียนพยัญชนะอักษรกลาง ข ห ง ม และ สระ อี ๑.๓ อ่านและเขียนคำาที่ประสมสระ อี ๑.๔ อ่านและเขียนแจกลูกสะกดคำา คำาที่มีสระ อี ๒. ความรู้ทักษะเฉพาะวิชา ๒.๑ อ่านและเขียนพยัญชนะอักษรกลาง ข ห ง ม และ สระ อี ๒.๒ อ่านและเขียนคำาที่ประสมสระ อี ๒.๓ อ่านและเขียนแจกลูกสะกดคำา คำาที่มีสระ อี ทักษะคร่อมวิชา ๓.๑ เล่นปริศนาคำาทาย ๓.๒ ร้องเพลงสระ อี
  • 6. ๔. คุณลักษณะ ๔.๑ ใฝ่เรียนใฝ่รู้ ๔.๒ ความรับผิดชอบ ๔.๓ ขยัน ประหยัดซื่อสัตย์ มีวินัย สุภาพ สะอาด สามัคคี มีนำ้าใจ และกตัญญู ๔.๔ มีนิสัยรักการอ่าน ภาระงาน/วิธีการประเมินเป้าหมายการเรียน รู้ วิธีการประเมิน ทดสอบ ตอบคำาถาม สังเกต ชิ้นงาน ๑. ความรู้ที่คงทน ๑.๑ อ่านพยัญชนะ และสระที่กำาหนด ๑.๒ อ่านและเขียน พยัญชนะอักษรกลาง ข ห ง ม และสระ อี ๑.๓ อ่านและเขียน คำาที่ประสมสระ อี ๑.๔ อ่านและเขียน แจกลูกสะกดคำา คำาที่ มีสระ อี แบบทดสอบ -อ่านและเขียน พยัญชนะและ สระ -อ่านและเขียน แจกลูกสะกด คำา คำาที่มีสระ อี -อ่านและเขียน คำาที่กำาหนด -อ่านและเขียน สอบถาม -ถามความ เข้าใจ พยัญชนะ,สร ะ -ถามความ เข้าใจ พยัญชนะ,สร ะ -ถามความ เข้าใจคำาที่ -การอ่าน และการ เขียน -การอ่าน และการ เขียน -การอ่าน และการ เขียน -การอ่าน และการ -ผลการ เขียน -ผลการ เขียน -ผลการ เขียน -ผลการ เขียน
  • 7. เป้าหมายการ เรียนรู้ วิธีการประเมิน ทดสอบ ตอบ คำาถาม สังเกต ชิ้นงาน ๒. ทักษะเฉพาะ วิชา ๑.๒ อ่านและ เขียน พยัญชนะอักษร กลาง ข ห ง ม และสระ อี ๒.๒ อ่านและ เขียนคำาที่ ประสมสระ อี ๒.๓ อ่านและ เขียนแจก ลูกสะกดคำา คำาที่ มีสระ อี ๓.ทักษะคร่อม วิชา -อ่านและ เขียน อักษรกลาง และ สระ อี -อ่านและ เขียนแจก ลูกสะกดคำา -อ่านและ เขียนแจก ลูกสะกดคำา -คำาทาย -ร้องเพลง -ถามความ เข้าใจ อักษร,สระ อี -ถามความ เข้าใจ เกี่ยวกับคำา -ถามความ เข้าใจ การแจกลูก -ถามความ รู้สึก -ถามความ สนใจ -การอ่าน และ การเขียน -การอ่าน และ การเขียน -การอ่าน และ การเขียน -การทาย -การร้อง เพลง -ผลการ เขียน -ผลการ เขียน -ผลการ เขียน -ผลทาย -
  • 8. เป้าหมายการ เรียนรู้ วิธีการประเมิน ทดสอบ ตอบคำาถาม สังเกต ชิ้นงาน ๔. คุณลักษณะ ๔.๑ ใฝ่เรียนใฝ่รู้ ๔.๒ ความรับผิด ชอบ ๔.๓ ขยัน ประหยัดซื่อสัตย์ มี วินัย สุภาพ สะอาด สามัคคี มี นำ้าใจ และกตัญญู ๔.๔ มีนิสัยรักการ อ่าน -ใช้แบบ ประเมิน คุณลักษณะ -ใช้เกณฑ์ที่มี Rubrics และมี Rating Scale -ทดสอบการ อ่านโดย ใช้เกณฑ์ที่มี Rubrics -ถามความ สนใจใฝ่รู้ -ถามข้อคิด และสิ่งที่ ได้จากเรื่อง -ถามความ พอใจใน การเรียน -ความสนใจ ใน หนังสือที่อ่าน -พฤติกรรม การ เรียน -การร่วม กลุ่มกับ เพื่อน -ความต่อ เนื่องใน การอ่าน - - -จำานวน หนังสือที่ อ่าน ต่อวัน
  • 9. สื่อสร้างสรรค์เสริมการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้ ๑.หนังสือสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลาง ชั้นประถม ศึกษาปีที่ ๑ ภาษาพาที ๒.บทเรียนที่ ๑ เรื่อง “ใบโบก ใบบัว” ๓.แบบฝึกทักษะการอ่านคำาที่มีสระ อี ๔.แบบฝึกทักษะการเขียนคำาที่มีสระ อี ๕.แบบฝึกทักษะการอ่านและเขียนแจกลูกสะกดคำา คำาที่มี สระ อี ๖.แบบทดสอบการอ่านและเขียนอักษรกลาง และคำาที่มีสระ อี ๗.ชุดคำาที่ใช้สำาหรับให้เขียนตามคำาบอก ๘.เครื่องเล่นแผ่นเพลง MP3 ๙.เพลงสระ อี
  • 10. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมง ที่ ๑ เวลา ๑ ชั่วโมง วัด/ประเ มิน ขั้นตอน การเรียน รู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ ประกอบ ๑. สังเกต -การฟัง -การดู -การพูด (แบบ สังเกต) ๒. สังเกต ๓. สังเกต -การอ่าน ๔. สังเกต ๕. สังเกต ๑.ฟัง ๒. ร้อง เล่น ๓. อ่าน ๔. พูด เล่า ๕. พูด ทาย ๑. นักเรียนทักทายครู ครูทักทายนักเรียน ซักถามถึงการเรียนรู้ที่ผ่านมา จากนั้นนำา คำากับภาพให้นักเรียนดู ชี้ภาพให้ดูแล้ว อ่านคำาใต้ภาพให้นักเรียนเข้าใจความ หมายของภาพและคำา (ภาคผนวก) แล้วถามนักเรียนว่าเป็นภาพอะไร ประสม สระอะไร ๒. นักเรียนร้องเพลงช้างพร้อมปรบมือ ประกอบจังหวะให้เกิดความสนุกก่อนเรียน ๓. นักเรียนอ่านเรื่อง “ใบโบก ใบบัว” พร้อมกัน ๔. นักเรียนอาสาออกมาเล่าเรื่อง “ใบโบก ใบบัว” ให้เพื่อนฟัง นักเรียนฝึกตั้งถามและตอบ -คำากับภาพ -เพลงช้าง -หนังสือ เรียน -เกมทาย อักษร และสระ
  • 11. วัด/ประเ มิน ขั้นตอน การเรียน รู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ ประกอบ ๖. สังเกต ๗. สังเกต ๘. สังเกต ๖. พูด อ่าน ๗. อ่าน ๘. เขียน ๖. นักเรียนเล่นอ่านปริศนาคำาทาย ครูอ่าน ปริศนาว่า “อะไรเอ่ย สี่คนหาม สามคนแห่ สอง คนพัด คนหนึ่งปัดแส้” นักเรียนตอบตามความเข้าใจของแต่ละ คน ครูเฉลยว่า “ส่วนต่าง ๆ ของช้าง” ๗. นักเรียนอ่านแจกลูก คำาที่มีสระ อี ตาม ครู เช่น ก - อี - กี, จ - อี - จี, ด - อี -ดี, ต -อ -ตี, ป - อี -ปี ครูหยิบบัตรคำาแต่ละคำาขึ้นมาให้นักเรียน ดู นักเรียนอ่านแจกลูกดัง ๆ พร้อมกัน ๘. ครูเขียนตารางสะกดคำาบนกระดานให้ นักเรียนดูแล้วอ่านสะกดคำาให้นักเรียนฟัง เช่น -ปริศนา -บัตรคำา -ตาราง สะกดคำา -แบบฝึก คำา พยัญช นะ สระ สะกด ว่า อ่านว่า ตา ต า ตอ - อา ตา
  • 12. วัด/ปร ะเมิน ขั้น ตอน การ เรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ ประกอ บ สังเกต อ่าน ๙. นักเรียนทำาแบบฝึกทักษะการ อ่านแจกลูกและสะกดคำา คำาที่มี สระ อี ตามแบบฝึกที่ครูแจกให้ แบบฝึก ชั่วโมงที่ ๒ เวลา ๑ ชั่วโมง วัด/ประ เมิน ขั้น ตอน การ เรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ ประกอ บ สังเกต การฟัง ๑. ฟัง a. ครูอ่านเนื้อเพลงสระ “อี” ให้ นักเรียนฟัง นักเรียนอ่านตามครู จากนั้นครู ร้องเป็นเพลงให้ นักเรียนฟัง นักเรียนร้องตามครู เพลงสระ อี
  • 13. วัด/ปร ะเมิน ขั้น ตอน การ เรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ ประกอ บ ๒.สังเกต การร้อง เพลง ๓. สังเกต การพูด ๔.สังเกต การ เขียน ๒. ร้อง เพ ลง ๓. พูด ๔. เขี ยน ๒. ครูเปิดเพลงสระ “อี” ตามแผ่น MP3 ให้นักเรียนฟัง นักเรียนร้องพร้อมกับแผ่น พร้อมกับทำาท่าทางประกอบ จังหวะให้เกิดความสนุกแล้ว สนทนาเกี่ยวกับเนื้อหาของ เพลง ๓. นักเรียนทบวนอักษรกลางและ สระ อา อี โดยครูถามนำา และหยิบบัตรพยัญชนะและ สระให้ดูแล้วถาม จากนั้นให้ ความรู้เพิ่มเติมจนเข้าใจตรง กัน ๔. นักเรียนเขียนตามคำาบอก โดย - แผ่นMP 3 -บัตร พยัญชน ะฯ -คำาที่นำา มาบอก ให้เขียน
  • 14. ชั่วโมงที่ ๓ เวลา ๑ ชั่วโมง วัด/ปร ะเมิน ขั้น ตอน การ เรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ ประกอ บ ๑. สังเกต -การ อ่าน ๒. ตรวจ การ เขียน ๓. a. อ่า น ๒. เขี ยน ๓. อ่าน ๑. ครูสาธิตการเขียนสะกดคำาบน กระดาน ให้นักเรียนดู เช่น ดี -ด -อี -ดี, ตี -ต - อี -ตี........ นักเรียนอาสาออกมาเขียนสะกด คำาลงบนกระดานให้เพื่อน ๆ ดู ครูชี้แจงให้นักเรียนเข้าใจตรง กัน ๒. นักเรียนทำาแบบฝึกการเขียน สะกดคำา คำาที่มี สระ อี ตามตัวอย่างที่ครูทำาให้ดู -แบบฝึก การ อ่านแจก ลูก -แบบฝึก การ เขียน -แบบฝึก
  • 15. การจัดบรรยากาศห้องเรียนเชิงบวก ๑. จัดให้มีสื่อวีดิทัศน์ที่สามารถใช้ให้นักเรียนดูได้ทั่วถึง ๒. จัดแผ่นVCD.(วีซีดี) MP3. (เอ็มพี 3) ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้ ๓. จัดสถานที่เรียนให้สะอาด เป็นระเบียบ เรียบร้อย และสวยงาม ๔. จัดบอร์ดแสดงผลงานของนักเรียน
  • 17. เพลงสระ - อี (เพลงที่ ๑) คำาร้อง สำาลี รักสุทธี ทำานอง เพลงช้าง อี อี อี สระ อี นั้นอยู่ข้างบน จำาไว้ จำาไว้ทุกคน อย่าสับสน อยู่ข้างบน สระ อี อ่านเขียนสะกดให้ดี เขียนทุกทีให้ถูกนะเออ ตอ อี ตี ดอ อี ดี มอ อี มี ชอ อี ชี ตามี ดี ปี มี ดี ผี หนี ชี สี ตี ดี(ซำ้า) คำาเหล่านี้มีสระ อี หนูจำาได้ดีคุณครู
  • 18. เพลงสระ - อี (เพลงที่ ๒) คำาร้อง ทำานอง สำาลี รักสุทธี อี อี้ อี อี้ อี อี๊ อี ตามี ตาสี ทำา วาที แม่ชี เจอผี คำาเหล่านี้มีสระ อี(ซำ้า) หนู หนู จำาไว้ให้ดี สระ อี นั้นอยู่ข้าง บน(ซำ้า)
  • 19. คำาที่นำามาเขียนตามคำาบอก ตา อา กา งา ขา หา มา จา ตี ปี มี ดี ขี จี บี ขี มี ตา งา ดี ขา อา มา หา ตา ดี มี งา ขา กา อา ปา
  • 20. แบบฝึกการอ่านแจกลูกสะกดคำา คำาที่มีสระ - อี แบบฝึกอ่านที่ ๑ จุดประสงค์ อ่านแจกลูก จากคำาที่กำาหนดให้ได้ถูกต้อง คำาชี้แจง อ่านแจกลูก คำาที่มีสระ - อี ตามตัวอย่าง ม ต ด ช ป ท ผ ฝ อ ถ มี ต ีีด ีีช ีีป ีีท ีีผ ีีฝ ีีอี ถ ีี
  • 21. แบบฝึกอ่านที่ ๒ จุดประสงค์ อ่านสะกดคำา จากคำาที่กำาหนดให้ได้ถูกต้อง คำาชี้แจง อ่านสะกดคำา คำาที่มีสระ - อี ตามตัวอย่าง คำา พยัญชนะ สระ สะกดว่า อ่าน ว่า มี ม - อี มอ -อี มี ตี มี ดี ปี ชี อี สี
  • 22. แบบฝึกอ่านที่ ๓ คำาชี้แจง ดูแผนภูมิแล้วอ่านแจกลูกสะกดคำา โดยเริ่มอ่านจาก พยัญชนะ ไปสระ แล้วเป็นคำา ท -อี ต ป ช ม ด ผ ตัวอย่าง ตี อ่านว่า ตอ อี ตี เขียนว่า ตี
  • 23. แบบฝึกการเขียนแจกลูกสะกดคำา คำาที่มีสระ - อี แบบฝึกที่ ๑ คำาชี้แจง ให้เขียนแจกลูก สะกดคำา จากคำาที่กำาหนดให้ ตามตัวอย่างข้างล่าง ดี ด - อี - ดี มี.......................................................................... ตี.......................................................................... กี.......................................................................... ปี.......................................................................... จี.......................................................................... งี.......................................................................... บี..........................................................................
  • 24. ท อี ต ป ช ม ด ผ แบบฝึกที่ ๒ คำาชี้แจง ให้เขียนประสมพยัญชนะและสระเป็นคำา แล้วแจกลูก สะกดคำา ให้ถูกต้อง ตัวอย่าง ถี ถ- อี - ถี ........................................................................................ ........................................................................................
  • 25. แบบฝึกอ่านคำา และประโยคมีสระ อี อ่านคำาที่มีสระ - ีี ทีวีดีดี รีรี ตีคี มีดี มีสี ชีวี มีผี กีวี ทีดี ดีปลี มีฝี อารี ฝาชี มีนา อีกา นารี ทาสี กีฬา นาที พาที ลีลา ตาดี นาดี มียา สูสี ดูดี ชะนี ตาสี ชีวา คาวี อ่านประโยคที่มีสระ - ีี ตาสี มี นา ดี วาที พา นารี ดู อีกา
  • 26. เรื่องสั้นที่มีสระ - ีี เรื่องที่ ๑ ตาดี มี สี ตาดี มี สี ตาดี มี สี ดี ดี ตาดี มี ทีวี ตาดี มี ทีวีสี ดี ดี
  • 27. เรื่องที่ ๒ ชี มี ยาดี ตาสี มา หา วาที ตาสี พา วาที มา หา ชี ชี มี ยา ดี ดี ตาสี และ วาที มา หา ยาดี จาก ชี
  • 28. เรื่องที่ ๓ ตามี ทา สี อีกา ตามี ทาสี ฝาชี ตาดี ทาสี ทีวี อีกา ตี สี ตามี ตามี ทา สี อีกา
  • 29. เรื่องที่ ๔ ตาสี มี ยา ดี คำาชี้แจง อ่านเรื่องแล้ววาดภาพประกอบตาม จินตนาการของนักเรียน ตาสี มี ยา ดี ชี หา ยา ตา สี ชี มา หา ยา ตา สี ตาสี ทา ยา ชี ชี มี ยา ดี ดี ที่ ทีวี ผลงานของนักเรียนผลงาน นักเรียน
  • 30. แบบทดสอบหลังเรียน ชื่อ...........................................................เลข ที่......................................ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ วัน ที่.........................เดือน.............................................พ.ศ............. ......................................... คำาชี้แจง ๑. เลือกคำาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว แล้ว กากบาท ( ) ลงในช่องกระดาษคำาตอบ ข้อสอบมีทั้งหมด ๕ ข้อ ๕ คะแนน เวลา ๑๐ ชั่วโมง ๑. ข้อใดอ่านแจกลูกสะกดคำาถูกต้อง ๒. “สอ - อี .........” ควรเติมคำาใดลงช่องว่าง ก. มี - มอ – อี – มี ก. สา
  • 31. ๓. ข้อใดอ่านออกเสียงสระ เหมือนคำาว่า มีนา ทั้งหมด ก. นาดี ข. มีงู ค. ตีขา ๔. ข้อใดมีคำาที่ประสมด้วยสระ อี มากที่สุด ก. ตาสี ไป นาดี ข. ชี มี ยาดี ค. ชี ไป หา ตามี ๕.ข้อใด เขียนสะกดคำาถูกต้อง ก. ป + -อี = ปา ข. สี + -อา = สู ค. ผ + -อี = ผี
  • 32. แนวการเขียนแผนจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS แผนการจัดการเรียนรู้ที่……… สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบย่อยอาหาร ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 เวลา 1 ชั่วโมง ………………………………………………………………… …………………………… 1.สาระสำาคัญ อาหารที่เข้าสู่ร้างกายต้องผ่านกระบวนการย่อยอาหาร เพื่อให้ได้สารอาหารที่มีขนาดเล็กจนสามารถลำาเลียงไปเลี้ยง ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้ กากอาหารที่เหลือจากกระบวนการ ย่อยจะถูกขับออกนอกร่างกาย 2. เป้าหมายการเรียนรู้(จุดประสงค์) 2.1 ด้านความรู้ความคิด อธิบายการทำางานของอวัยวะในระบบย่อยอาหารแต่ละ
  • 33. 3 .ร่องรอยการเรียนรู้/ผลงานที่แสดงการเรียนรู้ 3.1 ข้อสรุปเรื่องหน้าที่ของอวัยวะในระบบย่อย อาหารแต่ละอวัยวะ 3.2 concept mapping แสดงกระบวนการย่อย อาหาร 4. การวัดผลประเมินผล 4.1 ประเมินคุณภาพของการสรุปหน้าที่ของ อวัยวะในระบบย่อยอาหาร 4.2 ประเมินคุณภาพของ concept mapping แสดงกระบวนการย่อยอาหาร 5. สื่อ/อุปกรณ์/แหล่งเรียนรู้ 5.1 แผนภาพแสดงระบบย่อยอาหารของคน 5.2 หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน
  • 34. 6. กิจกรรมการเรียนรู้ แบ่งกลุ่มนักเรียนกลุ่มละ 4-5 คน แล้วทำากิจกรรมต่อ ไปนี้ 6.1 นักเรียนศึกษาแผนภาพแสดงระบบย่อยอาหารของ คน เพื่อตอบคำาถามที่ครูเขียนบนกระดานดำา ดังนี้ - ระบบย่อยอาหารของคนประกอบด้วยอวัยวะใดบ้าง (G-การรวบรวมข้อมูล) - เรียงลำาดับอวัยวะในระบบย่อยอาหารได้อย่างไร (P- การจัดกระทำาข้อมูล) 6.2 นักเรียนศึกษาเรื่อง ระบบย่อยอาหารจากหนังสือ เรียนวิทยาศาสตร์ชั้น ป.6 ของ สสวท. หน้า 2-5 เพื่อตอบ คำาถามที่ครูเขียนบนกระดานดำา ดังนี้ - อวัยวะในระบบย่อยอาหารแต่ละอวัยวะทำาหน้าที่ อย่างไร (G-การรวบรวมข้อมูล) 6.3 แต่ละกลุ่มออกแบบตารางบันทึกสรุปหน้าที่ของ อวัยวะในระบบย่อยอาหาร แล้วเสนอหน้าชั้นเพื่อให้สมาชิกใน
  • 35. 6.4 นักเรียนแต่ละคนบันทึกสรุปหน้าที่ของ อวัยวะในระบบย่อยอาหารลงในตาราง (P-การจัด กระทำาข้อมูล) 6.5 ครูใช้คำาถามเพื่อกระตุ้นการคิด ดังนี้ - นักเรียนคิดว่าเราควรศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับ ระบบย่อยอาหารในเรื่องใดบ้าง (S- การสร้างค่านิยม การคิด) - ถ้าจะศึกษาเรื่องโรคของระบบย่อยอาหารควร ออกแบบตารางบันทึกอย่างไร (A-การเลือกทางเลือก) 6.6 นักเรียนเขียน concept mapping แสดง ระบบย่อยอาหาร (P-การจัดกระทำาข้อมูล) 6.7 นักเรียนแลกเปลี่ยนผลงาน concept mapping กับเพื่อนต่างกลุ่มเพื่อช่วยกันตรวจสอบ ความถูกต้องของผลงาน (P-การตรวจสอบ)
  • 37. ประเด็น ระดับคุณภาพ สูง ปานกลาง ตำ่า ความถูก ต้องของ เนื้อหา เรียงลำาดับ อวัยวะถูก ต้องและระบุ หน้าที่ถูกต้อง เรียงลำาดับ อวัยวะ ไม่ถูก ต้องและระบุ หน้าที่มาถูก ต้อง เรียงลำาดับ อวัยวะ ไม่ถูก ต้องและระบุ หน้าที่ไม่ถูก ต้อง
  • 38. ประเด็น ระดับคุณภาพ สูง ปานกลาง ตำ่า ความครบ ถ้วน ของเนื้อหา เลือกใช้รูป แบบถูกต้อง ระบุอวัยวะ ครบถ้วนและ เรียงลำาดับ ถูกต้อง เลือกใช้รูป แบบถูกต้อง แต่เรียง ลำาดับไม่ถูก ต้องหรือระบุ อวัยวะไม่ ครบถ้วน เลือกใช้รูป แบบไม่ถูก ต้อง เรียง ลำาดับไม่ถูก ต้อง และระบุ อวัยวะไม่ ครบถ้วน ณฑ์การประเมิน concept mapping แสดงระบบย่อ
  • 39. การเขียนเอกสารฉบับนี้ผู้บรรยายได้ศึกษา ทฤษฏีจาก เอกสารประกอบ การประชุมเรื่อง การพัฒนาการคิดโดยใช้กระบวนการ GPAS ของ สำานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษาสำานักงานคณะ กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ พิมพ์ครั้งที่ 3 : กันยายน 2551 …………………………………………………
  • 40. (ตัวอย่างแผนประกอบนวัตกรรม) แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการแต่งบทร้อยกรอง ประกอบหนังสือประกอบการเรียนเพื่อพัฒนาการแต่งบท ร้อยกรอง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๒ (ชั้น ประถมศึกษาปีที่ ๖) บทที่ ๔ กลอนสี่ จำานวน ๕ ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ เรื่อง อ่านเรื่องและตอบ คำาถาม เวลา ๑ ชั่วโมง สอนวันที่............เดือน..........................พ.ศ................... สาระสำาคัญ กลอนสี่คือกลอนที่มีลักษณะเหมือนกลอนทั่วไป คือมีการ สัมผัสคำา ทั้งสัมผัสในและนอก การฝึกอ่านและแต่งกลอนช่วย ให้นักเรียนมีความรู้ในเรื่องการสัมผัสและทำาให้เกิดความรักและ เห็นคุณค่าของภาษาไทย
  • 41. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑.ทำาแบบทดสอบก่อนเรียนผ่านเกณฑ์ที่ตั้งไว้ร้อยละ ๘๐(K) ๒.อ่านเรื่อง “สานตามครองกลอนสี่”ตั้งคำาถามและ ตอบคำาถามจากเรื่องที่อ่านได้ (P) ๓. มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) สาระการเรียนรู้ ๑. การทำาแบบทดสอยก่อนเรียน ๒. การอ่านเรื่อง “สานตามครองกลอนสี่” ตั้งคำาถามและ ตอบคำาถามจากเรื่องที่อ่าน กระบวนการจัดการเรียนรู้ (ใช้เทคนิค Jigsaw) ๑. นักเรียนกล่าวคำาทักทายครู ครูทักทายนักเรียน ครู ยกกลอนสี่ “กลอนสี่” ให้นักเรียนดูและอ่านออกเสียงดัง ๆ พร้อมกัน เช่น “นักเรียนมอสาม ช่างงามนำ้าใจ
  • 42. นักเรียนถาม-ตอบกันเอง จากนั้นทำาแบบทดสอบก่อนเรียน เสร็จแล้วส่งครูตรวจ ๒. ครูแจ้งให้นักเรียนได้ทราบถึงสิ่งต่อไปนี้ ๑) สิ่งที่จะเรียน คือหนังสือประกอบการเรียน เรื่อง “สานตามครองกลอนสี่” เป็นความรู้เกี่ยวกับกลอนสี่และการแต่ง กลอนสี่ ๒) ขั้นตอนการเรียน วิธีการศึกษา การปฏิบัติตาม เทคนิคของจิกซอร์ ๓) รูปแบบการเรียนแบบจิกซอร์ (Jigsaw) ที่เรียนเคย เรียนมาแล้ว เพื่อนักเรียนจะได้เรียนวิธีการนี้อย่างต่อเนื่องไป จนจบ จะได้เกิดทักษะ ความชำานาญตามมา ๓. ครูแจ้งให้ทราบถึงการนำาหลักธรรมตามแนวคิด เศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการเรียนครั้งนี้ โดยเฉพาะในเรื่อง เกี่ยวกับความขยัน ตั้งใจ สนใจเรียน และความอดทนอดกลั้น ๔. สมาชิกแต่ละกลุ่ม (กลุ่มร่วมมือเดิม) นับเพื่อให้มี
  • 43. ๕. ครูแบ่งเนื้อหาจากเรื่อง “สานตามครองกลอนสี่” ที่จะ ต้องศึกษาออกเป็น ๔ ตอน ดังนี้ ตอนที่ ๑ จากหน้า ๑–๖ ตอนที่ ๒ จากหน้า ๗–๑๒ ตอนที่ ๓ จากหน้า ๑๓–๑๘ ตอนที่ ๔ จากหน้า ๑๖–๒๕ ๖. ครูชี้แจงการปฏิบัติกิจกรรมของสมาชิกกลุ่มบ้าน โดยอ่าน/ศึกษาเนื้อหาด้วยการปฏิบัติ ตามขั้นตอน ดังนี้ ๑) นักเรียนในกลุ่มบ้านคนที่ ๑ อ่านตอนที่ ๑ ๒) นักเรียนในกลุ่มบ้านคนที่ ๒ อ่านตอนที่ ๒ ๓) นักเรียนในกลุ่มบ้านคนที่ ๓ อ่านตอนที่ ๓ ๔) นักเรียนในกลุ่มบ้านคนที่ ๔ อ่านตอนที่ ๔
  • 44. ๗.สมาชิกทุกคนออกจากกลุ่มบ้าน (Home group) ไป อยู่กลุ่มใหม่ เรียกว่ากลุ่มผู้เชี่ยวชาญ(Expert Group) ซึ่งจะ ประกอบไปด้วยสมาชิกแต่ละคนของกลุ่ม บ้าน คือ กลุ่มผู้เชี่ยวชาญกลุ่มที่ ๑ จะประกอบไปด้วยสมาชิก คน ที่ ๑ ของแต่ละกลุ่ม กลุ่มผู้เชี่ยวชาญกลุ่มที่ ๒ จะประกอบไปด้วยสมาชิก คน ที่ ๒ ของแต่ละกลุ่ม กลุ่มผู้เชี่ยวชาญกลุ่มที่ ๓ จะประกอบไปด้วยสมาชิก คน ที่ ๓ ของแต่ละกลุ่ม กลุ่มผู้เชี่ยวชาญกลุ่มที่ ๔ จะประกอบไปด้วยสมาชิก คน ที่ ๔ ของแต่ละกลุ่ม ๘.สมาชิกกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ รับบัตรคำาสั่งการปฏิบัติ กิจกรรม ปฏิบัติตามคำาชี้แจงในบัตรคำาสั่ง จากนั้นร่วมกัน อภิปราย สรุปความ แสดงความคิดเห็นในหัวข้อที่ตนรับผิด ชอบ ๙.สมาชิกในกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ แยกตัวกลับไปยังกลุ่มบ้าน
  • 45. ๑๐. ตัวแทนกลุ่มทุกคนจับฉลากเพื่อนำาเสนอผลงานหน้า ชั้นเรียนให้ทราบว่า กลุ่มใดนำาเสนอก่อน เรียงตามลำาดับ ครู และนักเรียนประเมินการนำาเสนอผลงาน ครูเสนอแนะและ อธิบายเพิ่มเติม ๑๑. สมาชิกทุกคนทำาแบบฝึกหัดตอนที่ ๑ แบบฝึก ทักษะที่ ๑-๖ เสร็จแล้วส่งครูตรวจ ๑๒. ครูแนะนำาให้นักเรียนทำาใบกิจกรรมที่ ๑ เป็นการ บ้าน ๑๓. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปสิ่งที่เรียนมาทั้งหมด ให้ โอกาสนักเรียนซักถามกันเอง ครูคอยเสริมเท่าที่จำาเป็น สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ ๑. กลอนสี่ ๒. บัตรคำาสั่งสำาหรับสมาชิกกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ ๓. แบบฝึกทักษะชุดที่ ๑ แบบฝึกทักษะที่ ๑-๖ ๔. ใบกิจกรรมที่ ๑
  • 46. กระบวนการวัดผลและประเมินผล ๑.วิธีการ ๑.๑ สังเกต การทำากิจกรรมกลุ่ม ๑.๒ ตรวจ ๑.๒.๑ ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน ๑.๒.๒ ตรวจการทำาแบบฝึกทักษะชุดที่ ๑ แบบฝึก ทักษะที่ ๑–๖ ๑.๒.๓ ตรวจใบกิจกรรมที่ ๑ เกณฑ์การประเมิน ๑. แบบประเมินกิจกรรมกลุ่ม ผ่านเกณฑ์อย่างน้อยร้อย ละ ๘๐ ๒. การตรวจแบบทดสอบ ผ่านเกณฑ์อย่างน้อยร้อยละ ๘๐ เครื่องมือประเมินผล